29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 09:46:00Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2558 10:21:12 น. |
ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อทำการจัดเก็บข้อมูล และการรายงานผล
- เพื่อจัดทำรายการบัญชีการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการ
กิจกรรมตามแผน
- กำหนดงบประมาณ,จ่าย,จัดเก็บข้อมูล,สรุปข้อมูลการใช้จ่ายงบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม
- วางแผนการดำเนินงสาง,จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด,ภ่ายภาพ,รายงานผลประปฎิบัติงานลงใน www.http://consumersouth.org
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- กำหนดงบประมาณ ประมาณการในแต่ละกิจกรรม พร้อมกำหนดการใช้จ่าย
- จัดเก็บรวบรวมบิลรายจ่าย
- จัดทำข้อมูลสรุปการใช้จ่ายในแต่ละกิจกรรม.
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดกิจกรรม และภาพถ่ายใน แต่ละกิจกรรม
- ลงบันทึกในระบบรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในทุกกิจกรรมลงบน www.http://consumersouth.org
ผลตามแผน
- สารถมารถวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณได้เพียงพอ และตรงกับความต้องการใช้จ่ายจริง
- จัดเก็บบิลรายการใช้จ่าย พร้อมสรุปการใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
- จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด ถ่ายภาพ ในทุกกิจกรรมที่จัด
- รายงานผลการจัดกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ได้วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณได้เพียงพอ และตรงกับความต้องการใช้จ่ายจริง
- ได้จัดเก็บบิลรายการใช้จ่าย พร้อมสรุปการใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
- ได้จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด ถ่ายภาพ ในทุกกิจกรรมที่จัด และรายงานผลการจัดกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรมลงใน www.http://consumersouth.org
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
32,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
32,000.00 |
|
28 กันยายน 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:14:00Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:23:53 น. |
ชื่อกิจกรรม : ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 25/5/58 ตั้งแต่เวลา 10.30 - 18.00 น. (เพิ่มวันรับฝากพิเศษ)
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 28/10/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 230 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 1023 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,300.00 |
|
25 กันยายน 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:51:52Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:19:56 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผน
- จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 1 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,300.00 |
|
25 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 18:00:03Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:17:59 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
18 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:59:38Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:17:15 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
11 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:58:35Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:16:24 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
4 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:58:03Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:07:16 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
11 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 28 สิงหาคม 2558 11:10:03Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:05:17 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมิณหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านค้าในงานเกษตรภาคใต้ และตรวจสารพิษตกค้างในเลือด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับประทานอาหารที่ถูหลักสุขาภิบาลอาหาร
- เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการตระหนัก และให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาล
- เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกร และผู้เข้าชมงานเกษตรภาคใต้
กิจกรรมตามแผน
- ดำเนินการประเมิณการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารในงานเกษตรทุกร้านค้า โดยสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่
- ประกาศผลการประเมิณร้านจำหน่ายที่ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับ พร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร
- ตรวจเลือดหาสารตกค้างในกระแสเลือดเกษตรกร ผู้ผู้สนใจจำนวน 100 ท่าน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ๋ ดำเนินการประเมิณการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารในงานเกษตรทุกร้านค้า
- คณะทรัพยากรธรรมชาติ ประกาศผลการประเมิณร้านจำหน่ายที่ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับ พร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร
- เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ ตรวจเลือดหาสารตกค้างในกระแสเลือดเกษตรกร ผู้ผู้สนใจจำนวน 100 ท่าน
ผลตามแผน
- ร้านจำหน่ายสินค้าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามหลักสุขภิบาลอาหาร
- เกษตรกรและผู้สนใจเข้าร่วมตรวจเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- มีเกษตรกรและผู้สนใจเข้าร่วมตรวจหาสารตกค้างในกระแสเลือดจำนวน 85 ราย แบ่งเป็นเกษตรกร 39 ราย และผู้สนใจจำนวน 46 ราย
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
9 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:50:43Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 15:06:11 น. |
ชื่อกิจกรรม : โครงการธุรกิจเกษตรชุมชน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชผักปลอดสารพิษ สารเคมี ยาฆ่าแมลง และใช้วิธีชีวภาพ ชีมวลในการดูแลพืชผัก
- เพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้โดยตรง และสามารถเพิ่มมูลค่าผลิตผลของกลุ่มเกษตรกรได้
- เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงกลุ่มเหษตรกรปลูกฝผั
กิจกรรมตามแผน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
- เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
- โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
- โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
- โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
- โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น
ผลตามแผน
- เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
- เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
- โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
- โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
- โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
- โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
- เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
- โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
- โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
- โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
- โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
5,500.00 |
6,194.00 |
25,600.00 |
51,528.45 |
0.00 |
0.00 |
88,822.45 |
|
5 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:39:06Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2558 11:02:07 น. |
ชื่อกิจกรรม : ครัวตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อเป็นร้านอาหารโภชนาการดี ใช้ผักปลอดสารพิษที่ปลูกโดยเกษตรกรในเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน รสชาติอาหารไม่เค็ดจัด ไม่หวานจัด ปรุงอาหารโดยไม่ใช้ผงชูรส
กิจกรรมตามแผน
- คณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับเกษตรกรในธุรกิจเกษตรชุมชน และผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. จัดตั้งครัวตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อเป็นแหล่งอาหารโภชนาการดีแก่ผู้บริโภค โดยมีการดำเนินการในระยะต่างๆกันดังนี้
1.การประชุมเพื่อระดมสมองกำหนดรูปแบบร้านอาหาร
2.ดำเนินการออกแบบสถานที่เพื่อจำหน่ายอาหาร
3.ดำเนินปรับปรุงสถานที่ และก่อสร้างเพิ่มเติมร่วมกับเกษตรกร
4.ประชุมกำหนดเมนูอาหาร คัดเลือกเมนูอาหารและผู้จำหน่ายอาหารโภชนาการดี
5.ตกแต่งสถานที่ให้ดูสวยงาม
6.เปิดดำเนินการ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
18 พษภาคม 2558 ประชุมกำหนดแนวทางการทำร้านอาหารโภชนาการดี
6 มิถุนาคม - 25 กรกฎาคม 2558 ออกแบบและร่วมกันปรับปรุงสถานที่ ก่อสร้างอาคารเพิ่มเติม
26 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2558 ร่วมกันตกแต่งสถานที่
25 กรกฎาคม 2558 กำหนดเมนูอาหาร แหล่งที่มาของสินค้าแต่ละชนิด พร้อมเตรียมอุปกรณ์เครื่องครัว จาน ชาม แก้ว สำหรับใช้ภายในร้าน
5 สิงหาคม 2558 เปิดดำเนินการร้านอาหารเป็นครั้งแรก
ผลตามแผน
- ครัวตลาดเกษตร ม.อ. ได้เปิดดำเนินการครั้งแรกในวันที่ 5 สิงหาคม 2558 โดยจำหน่ายอาหารโภชนาการดี รสชาติไม่เคฌมจัด ไม่หวานจัด กรรมวิธีการปรุงอาหารปราศจากผงชูรส ใช้ผักปลอดสารพิษจากแปลงธุรกิจเกษตรชุมชนเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ครัวตลาดเกษตร ม.อ.มีอาหารจาจาก 2 แหล่งด้วยกัน คือ 1.ปรุงโดยผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเป็นอาหารโภชนาการดี 2.ปรุงโดยพ่อครัวในร้านครัวตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริงครัวตลาดเกษตร ม.อ. ได้เปิดดำเนินการครั้งแรกตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม ถึง วันที่ 18 สิงหาคม 2558 ซึ่งเป็นช่วงเวลาการจัดงานเกษตรภาคใต้ ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้มีผู้เข้ามาใช่บริการเป็นจำนวนมาก ครัวตลาดเกษตร ม.อ.ถือเป็นร้านอาหารร้านแรกในจังหวัดสงขลาที่จำหน่ายอาหารโภชนาการดี รสชาติไม่เคฌมจัด ไม่หวานจัด กรรมวิธีการปรุงอาหารปราศจากผงชูรส ใช้ผักปลอดสารพิษ ซึ้งจะเป็นต้นแบบที่จะนำมาปรับปรุงพัฒนาต่อยอดเเพื่อเป็นรานอาหารทางเลือกสำหรับผู้บริโภคในจังหวัดสงขลาในโอกาสถัดไป
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
13,400.00 |
0.00 |
20,730.00 |
10,153.14 |
0.00 |
0.00 |
44,283.14 |
|
31 กรกฎาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:45:46Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:51:33 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผน
- จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 15 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 15 ร้านร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยในครั้งนี้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าได้เครื่อนย้ายโต๊ะและอุปกรณ์ทั้งหมดกลับบ้าน เพื่อคืนพื้นที่ตลาดเกษตร ม.อ.ให้กับคณะทรัพยากรธรรมชาติจัดงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 23
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,300.00 |
|
31 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:57:20Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:13:54 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
27 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:40:39Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:13:38 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมิถุนายน รับซื้อในวันที่ 27/ุ7/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น.
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 27/7/58 ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 232 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 1,100 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,300.00 |
|
24 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:56:29Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:13:05 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
17 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:55:59Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:12:15 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
15 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:37:44Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:33:14 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการหวานซ่อนพิษ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริโภคตระหนักถึงปริมาณนำตาลที่รับประมานในแต่ละวัน และเล็งเห็นถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินความต้องการต่อวัน
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ใดยการนำเสนอให้ผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ได้เห็นว่า ในเครื่องดื่มแต่ละชนิดที่รับประทานอยู่ในชีวิตประจำวัน มีปริมาณน้ำตาลผสมอยู่กี่ช้อนชา
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ณ โดมกิจกรรมหน้าตลาดเกษตร ม.อ. โดยการน้ำเครื่องดื่มมากกว่า 15 ชนิดมาน้ำเสนอให้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่
- นำเสนอโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- นำเสนอข้อมูลผลกระทบของการรับประทานผงชูรส
ผลตามแผน
- ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
517.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,817.00 |
|
13 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:22:23Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2558 10:32:35 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการหวานซ่อนพิษ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริโภคตระหนักถึงปริมาณนำตาลที่รับประมานในแต่ละวัน และเล็งเห็นถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินความต้องการต่อวัน
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ใดยการนำเสนอให้ผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ได้เห็นว่า ในเครื่องดื่มแต่ละชนิดที่รับประทานอยู่ในชีวิตประจำวัน มีปริมาณน้ำตาลผสมอยู่กี่ช้อนชา
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ณ โดมกิจกรรมหน้าตลาดเกษตร ม.อ. โดยการน้ำเครื่องดื่มมากกว่า 15 ชนิดมาน้ำเสนอให้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่
- นำเสนอโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- นำเสนอข้อมูลผลกระทบของการรับประทานผงชูรส
ผลตามแผน
- ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
- ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
1,110.00 |
183.00 |
733.00 |
0.00 |
0.00 |
4,326.00 |
|
10 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:55:26Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:11:29 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
3 กรกฎาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 8 กรกฎาคม 2558 00:13:59Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:49:55 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผน
- จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 2 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
1,663.00 |
0.00 |
0.00 |
3,963.00 |
|
3 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:54:52Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:10:40 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
29 มิถุนายน 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 8 กรกฎาคม 2558 00:05:19Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 25 กันยายน 2558 21:51:54 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมิถุนายน รับซื้อในวันที่ 27/ุ6/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น.
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 27/6/58 ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 219 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 1,149 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,600.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
2,600.00 |
|
26 มิถุนายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:54:25Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:09:52 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
20 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 7 กรกฎาคม 2558 23:44:25Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 14:43:46 น. |
ชื่อกิจกรรม : อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
อบรมให้ความรู้เรื่องการกำจัดแมลงด้วยศัตรูธรรมชาติ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำแปลงเพื่อปลูกผัก ของหน้าดินแต่ละประเภท
- ให้ควมรู้เกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช และแมลงศัตรูธรรมชาติ (ตัวห้ำ,ตัวเบียน)
กิจกรรมตามแผน
- คณะทรัพยากรธรรมชาติบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมแปลง และวิธีการกำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วยแมลง โดยดร.ทัศนี ขาวเนียม และ ดร.เทวี มณีรัตน์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- วันที่ 20 มิถุนายน เวลา 10.00 - 12.00
ดร.ทัศนี ขาวเนียม และ ดร.เทวี มณีรัตน์ บรรยายวิธีการเตรียมดินในการเพาะปลูก และให้ความรู้เกี่ยวกับแมลงต่างๆในแปลงเพาะปลูกที่สามารถพบในพื้นที่ภาคใต้
ผลตามแผน
- เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับวิธีการป้องกันศัตรูพืช โดยแมลงตามธรรมชาติ การปล่อยแมลงเพื่อกำจัดศัตรูพืช การทำงานของแมลงตัวหำ ตัวเบียน ชนืดต่างๆ
ผลที่เกิดขึ้นจริงวิทยากรทั้งสองท่านให้ความรู้ในด้านต่างๆ ดังนี้
ดร.ทัศนี @ วีธีการเตรียมดิน - เป็นรูป3เหลี่ยม - M -ใส่ปุ๋ยคอก - ปรับหน้าดินให้เสมอ - ทำขอบ / ดินที่เป็นทรายแก้ด้วยการเพิ่มปุ๋ยคอก / ดินที่ไม่เสมอมีน้ำขังจะทำให้พืชเจริญเติบโตช้า แคระแกร็น / ผักหัวระยะการปลูกต่อต้น #⃣ 20x20 ซม. / น้ำหมักสะเดา(แบบผง) ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลงศัตรูพืช - 1 kg ผสมน้ำ 20 ลิตร แช้ไว้ 8 - 24 ชั่วโมง นำไปฉีดพ่น(ผสมน้ำยาล้างจานก่อน)ทั้งบนใบและใต้ใบ ทุก 5-7 วัน
ดร.เทวี @ ให้รู้จัก(รูป)แมลงศัตรูพืชจำนวน 20 กว่าชนิด / แมลงตัวห้ำ ตัวเบียน วิธีการกัดกิน(vdo)ของตัวห้ำ วิธีการทำงานของตัวเบียนชนิดต่างๆ
++ วิธีการสังเกตุแมลงตัวดีเบื้องต้น >> แมลงปอทุกชนิดเป็นตัวดี >> แมลงตำข้าว(ชูชก)เป็นตัวดี >> ตั๊กแตนหนวดยาวเป็นตัวดี หนวดสั้นตัวร้าย >> ด้วงเต่าหนวดสั้นเป็นตัวดี หนวดยาวไม่ดี >> ตัวมวลปากยาวเป็นตัวดี ปากสั้นไม่ดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
19 มิถุนายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:53:57Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 10:57:17 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
17 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 15:59:28Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:30:33 น. |
ชื่อกิจกรรม : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความเป็นมาของตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับตัวแทนเทศบาลต่างๆในจังหวัดสงขลา
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ.(ตลาดอาหารปลอดภัย) ร่วมกับตัวแทนเทศบาลต่างๆในพื้นที่จังหวัดสงขลา
กิจกรรมตามแผน
- จัดกิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ตั้งแต่ครั้งแรกที่เริ่มดำเนินการ - ปัจจุบัน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดกิจกรรม ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีตัวแทนจากเทศบาลต่างๆเข้าร่วมจำนวน 13 เทศบาล มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า 25 ราย
ผลตามแผน
- ผู้เข้าร่วมได้ทราบวิธีการ แนวคิด ความเป็นมาของตลาดเกษตร ม.อ. ตั้งแต่เริ่มก่อนตั้ง ถึงปัจจุบัน ร่วมเป็นเวลา 14 ปี
- เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้ประสบความสำเสร็จ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผศ.ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นผู้บรรยายและแลกเปลี่ยนการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ตั้งแต่การเริ่มก่อตั้ง ถึงปัจจุบัน ชี้ให้เห็นถึงปัญญาหาและอุปสรรค์ ร่วมถึงความสำเร็จของตลาดเกษตร ม.อ.
- เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างตัวแทนของเทศบาลต่างๆ กับตัวแทนตลาดเกษตร ม.อ. และตัวแทนสจรส.มอ.
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
16 มิถุนายน 2558 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 7 กรกฎาคม 2558 23:29:14Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 16:05:52 น. |
ชื่อกิจกรรม : เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
เพาะเชื้อไตรโคเดอม่า เพื่อใช้ในแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- ให้ความรู้การใช้เชื่อราไตรโคเดอร์ม่าในการทำการเกษตรแบบปลอดสารพิษ และสอนวิธีการขยายเชื่อไตรโคเดอม่า เพื่อนำมาใช้กำจัดเชื้อราในแปลงพืช
กิจกรรมตามแผน
- อบรมวิธีการเพาะเชื้อไตรโคเดอม่า โดยอาจารย์และบุคคลากร ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคใต้
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เจ้าหน้าที่จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ประโยชน์ของเชื่อราไตรโตเดอร์ม่า และสอนวิธีการเพาะเชื้อไตรโคเดอม่า ณ ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคใต้ โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 24 ราย
ผลตามแผน
- เกษตรกรในเครื่อข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน รู้จักชื้อไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราที่จะไปแย่งอาหารหรือกินเชื้อราตัวอื่นๆ และได้เรียนรู้วิธีการขยายเชื้อไตรโคเดอม่า วีธีการนำไปใช้ควบคุมศัตรูพืชในแปลงผัก
ผลที่เกิดขึ้นจริง
เกษตรกรได้ทราบ เชื้อไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราที่จะไปแย่งอาหารหรือกินเชื้อราตัวอื่นๆ สามารถใช้ได้ทั้งผักและไม้ยืนต้น
วิธีการทำ
(1.) ล้างมือด้วยแอลกอฮอล
(2.) นำข้าวสุก1/2 KG ใส่ถุง
(3.) นำหัวเชื้อไตรโคฯ 1 ช้อนโต๊ะ ใส้ลงไป มัดปากถุงและเขย่าให้เข้ากัน
(4.) ทิ้งไว้ 4-5 ชั่วโมง ใช้เข็มเจาะถุง 4-10 ครั้ง (5.) ตั้งไว้ที่อุณภูมิปกติ 5-7 เอามาใช้งานได้
(6.) เชื้อไตรโคเดอร์มา ที่เพาะได้ 1 ถุง สามารถผสมน้ำได้ 10 ลิตร แล้วนำไปรดลงแปลง (ถ้ารดเชื้อก่อนปลูกผักจะได้ผลดีมาก)
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
13 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 7 กรกฎาคม 2558 21:51:24Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 09:27:31 น. |
ชื่อกิจกรรม : ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมติดตามความคืบหน้า-ลงแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อดำเนินกิจกรรมการทำแปลง และติดตามความคืบหน้าการดำเนินกิจกรรมของแต่ละแปลง
- เพื่อรับทราบปัญหาและร่วมกันระดมความคิดแก้ปัญหา
กิจกรรมตามแผน
- เกษตรกรและผู้มีส่วนเกี่ยงข้องร่วมกันประชุมเมื่อได้ดำเนินกิจกรรมมาได้ระยะหนึ่ง
- คณะอาจารย์จากคณะทรัพยากรธรรมชาติ ร่วมพูดคุยให้คำปรึกษาธรรมชาติ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เริ่มดำเนินการประชุมในช่วง 11.00 น.
โดยเกษตรกรและผู้มีส่วนเกี่ยงข้องร่วมกันประชุมเมื่อได้ดำเนินกิจกรรมมาได้ระยะหนึ่ง
และ คณะอาจารย์จากคณะทรัพยากรธรรมชาติ ร่วมพูดคุยให้คำปรึกษา และให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลศัตรูพืชโดยวิธีตามธรรมชาติ
ผลตามแผน
- เกษตรกรทุกกลุ่มร่วมกันสรุปความคืบหน้า และรายงานปัญหาที่พบจากการดำเนินกิจกรรม
- ร่วมกันกำหนดต้นกล้าพันธุ์พืชที่แต่ละเครือข่ายจะนำมาจำหน่ายในงานเกษตรภาคใต้ 9-18 สิงหาคม 2558
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ความคืบหน้าแต่ละแปลง เริ่มมีเชื่อราระบาดในแปลงผัก อาจเกิดการฟางที่นำมา พืชเมื่อโตได้ระยะหนึ่งมีแมลงมากัดกิน มีการปรับแผนการปลูก-การเตรียมดินใหม่
- ประชุมหารือกันที่จะให้เกษตรกรแต่ละท่านเพาะกล้าต้นไม้ไว้จำหน่ายในช่วงงานเกษตภาคใต้ พร้อมกำหนดรายชื่อต้นไม้แต่ละสายพันธุ์ที่จะนำมาจำหน่ายของเกษตรกรแต่ละเครือข่าย
- ดร.เทวี มณีรัตน์ และดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย ร่วมกันให้ความรู้เบื่องต้นเกียวกับควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
12 มิถุนายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:53:30Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:08:09 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
5 มิถุนายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:52:59Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:07:05 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
29 พฤษภาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 7 กรกฎาคม 2558 23:42:49Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:47:43 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผน
- จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 2 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,300.00 |
0.00 |
0.00 |
299.60 |
0.00 |
0.00 |
2,599.60 |
|
29 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:52:04Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:43:02 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
27 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 28 พฤษภาคม 2558 08:12:02Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 15:49:38 น. |
ชื่อกิจกรรม : ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- ประชุมติดตามความคืบหน้า การทำแปลงผักปลอดสารพิษ โดยกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
กิจกรรมตามแผน
- คุณวรภัทร ไผ่แก้ว และเกษตรกร ประชุมติดตามการทำงานแปลงธุรกิจเกษตรชุมชน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เกษตรกรในกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน ประชุมร่วมกัน ณ ห้องคลีนิคเกษตรและเทคโนโลยี ตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครือข่ายเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 17 ราย และเจ้ากน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติจำนวน 5 ราย
ผลตามแผน
- ประชุมติดตามคืบหน้าการจัดเตรียมดินแปลงปลูกพืชแต่ละชนิด ตกลงวิธีการปลูก ชนิดของเมล็ดพันธุ์ ระยาเวลาการปลูก ระยะเวลาการีให้ผลผลิตรและการเก็บเกี่ยว ร่วมกันกำหนดตารางเวลาการรดน้ำ และผู้รด
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
5,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
5,500.00 |
|
25 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 28 พฤษภาคม 2558 07:59:33Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:23:26 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 25/5/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น. (เพิ่มวันรับฝากพิเศษ)
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 11/5/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 190 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 691 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
3,100.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
3,100.00 |
|
22 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:51:34Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:41:03 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง-
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
18 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 24 พฤษภาคม 2558 15:52:39Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 14:55:36 น. |
ชื่อกิจกรรม : ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
ประชุมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรกำหนดแนวทางการทำแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ร่วมกับคณะทรัพยากรธรรมชาติ
กิจกรรมตามแผน
- ประชุมเพื่อกหนดแนวทาง สถานที่ รูปแบบแปลง และวิธีการทำงานร่วมกันของสมาชิกในกลุ่ม
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- ท่านคณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ และเครื่อข่ายธุรกิจเกษตรชุมชนจำนวน 18 รายข้าร่วมประชุม ณ เรื่อนสมุนไพร คณะทรัพยากรธรรมชาติ ตั้งแต่เวลา 15.00 - 16.30 น.
ผลตามแผน
- ทีประชุมได้กำหนดการปลูกพืชออกเป็นแปลงต่างๆดังนี้
แปลงที่ 1 แปลงสลัด(พี่ทรงยศ พี่เทพบุญญา พี่ปวริศา )จะจัดผักสลับสีกันตามวงกลม และตรงกลางแปลงจะทำตะแกรงมาประกบกันเป็น 3 เหลี่ยมตั้งตรงแล้วนำผักสลัดไปปักตามช่อง แบ่งสีให้สวยงาม
แปลงที่ 2 เมื่อได้ประชุมกันจึงมีมติว่าสวนหนึ่งจะเป็นของเกษตรกร ม.อ. อีกส่วนนึงจะเป็นของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ดดยแปลงนี้จะปลูกเป็นผักสวนครัว แถวที่ 1-4 เป็นผักโขมแต่ละชนิด สลับสี (พี่ศุภวัต+ก๊ะย๊ะ) นอกจากนั้นเป็นของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ปลูกโหระพา กะเพรา ฯลฯ
แปลงที่ 3 แบ่งเป็นแปลงย่อย แถว 1+2 ปลุกผักกาดหอม (พี่สุดาวดี) แถวที่ 3 ปลูกหัวไชเท้า (พี่ควง)แถวที่ 4 ปลูกผักฮ่องเต้ (พี่คัมภีร์) แถวที่5 ปลูกผักคำน้า ผักกวางตุ้ง มะเขือ (พี่คำนึง) และบริเวณด้านหลังปลูกน้ำเต้าเขาควาย(ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ )
แปลงที่ 4 แบ่งเป็นแปลงย่อย 12 แปลง แปลงที่ 1 ดอกขจร แปลงที่ 2 ผักกูด แปลงที่3 ดอกไม้จีน (บังอรุณ) แปลงที่ 4 บวบหอม (พี่นรินทร์) แปลงที่ 5+6 อัญชัน ม่วง-ขาว (พี่ทวีโชค) แปลงที่ 7ถั่วฝักยาว (พี่นรินทร์) แปลงที่ 8 ถั่วพลู (พี่ทวีโชค) แปลงที่ 9+11 ฟักทองญี่ปุ่น แปลงที่ 10+12 แตงกวา แตงร้าน (ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ )
- ผักชนิดใดที่มีอายุสั้นก้จะเริ่มทดลองปลุกก่อนไม่ต้องปลูกให้หมดทั้งแปลง เนื่องจากต้องไภ่กลบใหม่ ถ้าปลุกทับลงไปกลัวดินจะแข็งและ อาหารอาจไม่เพียงพอ แต่ถ้าผักชนิดไหนใช้เวลาปลูกมากก็ค่อยทยอยปลูกเพื่อให่ได้ผลผลิตช่วงงานเกษตรภาคใต้พอดี แต่ต้องขอแรงจากเกษตรกรทุกคนที่มาร่วม เรื่องการทำระบบน้ำ สปริงเกอร์ ทางศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ค่อนข้างมีความชำนาญด้านนี้สามารถเป็นที่ปรึกษาได้ และน้ำที่นำมาใช้คือน้ำที่สูบจากอ่างเก็บน้ำ ไปไว้บนเขาแล้วปล่อยลงมาที่คณะเพื่อใช้สอย จึงให้ค่อนข้างมีความแรงดันน้ำสูงไม่เป็นปัญหาต่อการใช้สปริงเกอร์รดน้ำ ในเบื้องต้นอุปกรณ์ที่ต้องการที่ต้องใช้ในการปลูก กองฟาง คลุมแปลงปลูก ไม้ไผ่ทำค้างต้นกล้า ในส่วนของกองฟางติดต่อคุณนุสร เกษตรกรจากควนรูยินดีสนับสนุนให้กองฟาง จำนวน 5 ก้อน และไม้ไผ่ ผ.อ.ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิจะทำการซื้อมาให้เนื่องจากอยู่ใกล้กับบริเวณที่อาศัย จำนวน 10 มัด ภายในแปลงนอกจากมีความสวยงามของผักแล้วยังมีเรื่องราวของเกษตรกรแต่ละท่าน ว่าชื่ออะไร เบอรืติดต่ออะไร ปลูกอะไร ปลูกที่ไหน รายได้ต่อเดือน ต่อปีเท่าไหร่ เพราะจุดประสงค์หลักในการจัดตั้งุรกิจเกษตรชุมชนคือการกระจายรายได้สุ่ชุมชนที่ยั่งยืนและมั่นคงคือ ในช่วงงานเกษตรจะมีการเชิญชวนร้านค้า โรมแรมต่างๆ โรงพยาบาล ที่สนใจร่วมเป็นเครือข่ายในการแลกเปลี่ยน รับซื้อผักปลอดสารพิษจากกลุ่มเกษตรกร โดยไม่ได้ผ่านคนใดคนนึง แต่จะให้เป็นคนทั้งชุมชนช่วยกัน ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นจริงเมื่อวันจันทร์ ที่ 18 พฤษภาคม 2558 เวลา 15.00 น. ท่านคณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ผ.อ.ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ และเกษตรกรเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน ร่วมกันประชุม ณ เรือนสมุนไพรคณะทรัพยากรธรรมชาติ
มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และเป็นการสาธิตให้ผู้เข้าร่วมงานเกษตรภาคใต้ได้ทราบ โดยกำหนดรูปแบบออกเป็นแปลงต่างๆดังนี้
แปลงที่ 1 แปลงสลัด(พี่ทรงยศ พี่เทพบุญญา พี่ปวริศา )จะจัดผักสลับสีกันตามวงกลม และตรงกลางแปลงจะทำตะแกรงมาประกบกันเป็น 3 เหลี่ยมตั้งตรงแล้วนำผักสลัดไปปักตามช่อง แบ่งสีให้สวยงาม
แปลงที่ 2 เมื่อได้ประชุมกันจึงมีมติว่าสวนหนึ่งจะเป็นของเกษตรกร ม.อ. อีกส่วนนึงจะเป็นของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ดดยแปลงนี้จะปลูกเป็นผักสวนครัว แถวที่ 1-4 เป็นผักโขมแต่ละชนิด สลับสี (พี่ศุภวัต+ก๊ะย๊ะ) นอกจากนั้นเป็นของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ปลูกโหระพา กะเพรา ฯลฯ
แปลงที่ 3 แบ่งเป็นแปลงย่อย แถว 1+2 ปลุกผักกาดหอม (พี่สุดาวดี) แถวที่ 3 ปลูกหัวไชเท้า (พี่ควง)แถวที่ 4 ปลูกผักฮ่องเต้ (พี่คัมภีร์) แถวที่5 ปลูกผักคำน้า ผักกวางตุ้ง มะเขือ (พี่คำนึง) และบริเวณด้านหลังปลูกน้ำเต้าเขาควาย(ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ )
แปลงที่ 4 แบ่งเป็นแปลงย่อย 12 แปลง แปลงที่ 1 ดอกขจร แปลงที่ 2 ผักกูด แปลงที่3 ดอกไม้จีน (บังอรุณ) แปลงที่ 4 บวบหอม (พี่นรินทร์) แปลงที่ 5+6 อัญชัน ม่วง-ขาว (พี่ทวีโชค) แปลงที่ 7ถั่วฝักยาว (พี่นรินทร์) แปลงที่ 8 ถั่วพลู (พี่ทวีโชค) แปลงที่ 9+11 ฟักทองญี่ปุ่น แปลงที่ 10+12 แตงกวา แตงร้าน (ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ )
- ผักชนิดใดที่มีอายุสั้นก้จะเริ่มทดลองปลุกก่อนไม่ต้องปลูกให้หมดทั้งแปลง เนื่องจากต้องไภ่กลบใหม่ ถ้าปลุกทับลงไปกลัวดินจะแข็งและ อาหารอาจไม่เพียงพอ แต่ถ้าผักชนิดไหนใช้เวลาปลูกมากก็ค่อยทยอยปลูกเพื่อให่ได้ผลผลิตช่วงงานเกษตรภาคใต้พอดี แต่ต้องขอแรงจากเกษตรกรทุกคนที่มาร่วม เรื่องการทำระบบน้ำ สปริงเกอร์ ทางศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ ค่อนข้างมีความชำนาญด้านนี้สามารถเป็นที่ปรึกษาได้ และน้ำที่นำมาใช้คือน้ำที่สูบจากอ่างเก็บน้ำ ไปไว้บนเขาแล้วปล่อยลงมาที่คณะเพื่อใช้สอย จึงให้ค่อนข้างมีความแรงดันน้ำสูงไม่เป็นปัญหาต่อการใช้สปริงเกอร์รดน้ำ ในเบื้องต้นอุปกรณ์ที่ต้องการที่ต้องใช้ในการปลูก กองฟาง คลุมแปลงปลูก ไม้ไผ่ทำค้างต้นกล้า ในส่วนของกองฟางติดต่อคุณนุสร เกษตรกรจากควนรูยินดีสนับสนุนให้กองฟาง จำนวน 5 ก้อน และไม้ไผ่ ผ.อ.ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิจะทำการซื้อมาให้เนื่องจากอยู่ใกล้กับบริเวณที่อาศัย จำนวน 10 มัด ภายในแปลงนอกจากมีความสวยงามของผักแล้วยังมีเรื่องราวของเกษตรกรแต่ละท่าน ว่าชื่ออะไร เบอรืติดต่ออะไร ปลูกอะไร ปลูกที่ไหน รายได้ต่อเดือน ต่อปีเท่าไหร่ เพราะจุดประสงค์หลักในการจัดตั้งุรกิจเกษตรชุมชนคือการกระจายรายได้สุ่ชุมชนที่ยั่งยืนและมั่นคงคือ ในช่วงงานเกษตรจะมีการเชิญชวนร้านค้า โรมแรมต่างๆ โรงพยาบาล ที่สนใจร่วมเป็นเครือข่ายในการแลกเปลี่ยน รับซื้อผักปลอดสารพิษจากกลุ่มเกษตรกร โดยไม่ได้ผ่านคนใดคนนึง แต่จะให้เป็นคนทั้งชุมชนช่วยกัน ชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
5,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
5,500.00 |
|
15 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:51:04Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:40:02 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง-
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
11 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 24 พฤษภาคม 2558 16:01:40Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:11:33 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 11/5/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น. (เพิ่มวันรับฝากพิเศษ)
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 11/5/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 190 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 290 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,600.00 |
0.00 |
0.00 |
150.00 |
0.00 |
0.00 |
2,750.00 |
|
8 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:50:36Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:38:39 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง-
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
6 พฤษภาคม 2558 เวลา 15:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:10:51Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:14:43 น. |
ชื่อกิจกรรม : ลดพุงลดโรค
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ให้ดูแลสุขภาพตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแก่วงแขนเพื่อลดพุงอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง
กิจกรรมตามแผนกิจกรรมลดพุงลดโรคประจำเดือน พฤษภาคม
- จัดนิทรรศการและให้ความรู้เกี่ยวกับการลดพุงลดโรคอย่างถูกวิธี
- จัดให้มีการวัดค่าดัชนีมวลกายของผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
- ให้ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.วัดค่าดัชนีมวลกาย
- กำหนดให้มีการแกว่งแขนวันละสามเวลา ในทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดกิจกรรมลดพุงลดโรคที่บริเวณลานเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ.ดังนี้
- นิทรรศการแกว่งแขนอย่างถูกวิธี 8 ขั้นตอน
- บริการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
- ควนค่าดัชนีมวลการว่าแต่ละท่านมีรอบเอวเกินหรือปล่าว และร่ายการของผู้ใช้บริการอยู่ในสถานะใด (ผอม สมส่วน กำลังจะอ้วน อ้วน)
- แจกแผ่นพับคู้มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่ดัชนีมวลการไม่เหมาะสม
ผลตามแผน
- มีผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ.ให้ความสนใจเข้ามาชมนิทรรศการ และเข้าร่วมวัดค่าดัชนีมวลกาย
- ผู้ประกอบการตลาดเกษตร ม.อ.ทุกร้านค้าวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง เป็นเวลา 4 เดือนติดต่อกัน
- ผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการสามารถแก่วงแขนเพื่อลดพุงได้อย่างถูกวิธีและร่วมแกว่งแขนด้วยกัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการจำนวนมากให้ความสนใจ ชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้จำหน่ายในตลาดนัดเกษตรกร ทุกรายชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเองประจำเดือน
- กำนดให้มีกิจกรรมแก่วงแขนทุวันที่มีตลาดนัด วันละ3เวลาคือ ครั้งที่ 1. เวลาประมาณ 15.00 น. ครั้งที่ 2 เวลา 18.00 น. และครั้งที่ 3 เวลา 19.00 น. ผลปรากฎว่าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
1 พฤษภาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:04:03Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:19:54 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผน
- จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 1 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
1 พฤษภาคม 2558 เวลา 15:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:09:41Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:13:07 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการลดพุงลดโรค
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ให้ดูแลสุขภาพตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแก่วงแขนเพื่อลดพุงอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง
กิจกรรมตามแผนกิจกรรมลดพุงลดโรคประจำเดือน พฤษภาคม
- จัดนิทรรศการและให้ความรู้เกี่ยวกับการลดพุงลดโรคอย่างถูกวิธี
- จัดให้มีการวัดค่าดัชนีมวลกายของผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
- ให้ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.ทุกคนต้องวัดค่าดัชนีมวลกาย
- กำหนดให้มีการแกว่งแขนวันละสามเวลา ในทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดกิจกรรมลดพุงลดโรคที่บริเวณลานเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ.ดังนี้
- นิทรรศการแกว่งแขนอย่างถูกวิธี 8 ขั้นตอน
- บริการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
- ควนค่าดัชนีมวลการว่าแต่ละท่านมีรอบเอวเกินหรือปล่าว และร่ายการของผู้ใช้บริการอยู่ในสถานะใด (ผอม สมส่วน กำลังจะอ้วน อ้วน)
- แจกแผ่นพับคู้มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่ดัชนีมวลการไม่เหมาะสม
ผลตามแผน
- มีผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ.ให้ความสนใจเข้ามาชมนิทรรศการ และเข้าร่วมวัดค่าดัชนีมวลกาย
- ผู้ประกอบการตลาดเกษตร ม.อ.ทุกร้านค้าวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง เป็นเวลา 4 เดือนติดต่อกัน
- ผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการสามารถแก่วงแขนเพื่อลดพุงได้อย่างถูกวิธีและร่วมแกว่งแขนด้วยกัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการจำนวนมากให้ความสนใจ ชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้จำหน่ายในตลาดนัดเกษตรกร ทุกรายชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเองประจำเดือน
- กำนดให้มีกิจกรรมแก่วงแขนทุวันที่มีตลาดนัด วันละ3เวลาคือ ครั้งที่ 1. เวลาประมาณ 15.00 น. ครั้งที่ 2 เวลา 18.00 น. และครั้งที่ 3 เวลา 19.00 น. ผลปรากฎว่าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
1 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:50:09Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:37:04 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง-
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
27 เมษายน 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:01:39Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:10:50 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 23/3/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น.
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 27/4/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 190 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 300 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,600.00 |
0.00 |
0.00 |
523.00 |
0.00 |
0.00 |
3,123.00 |
|
24 เมษายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:47:53Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:33:53 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า-
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
21 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 19:07:22Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 16 ธันวาคม 2558 10:11:34 น. |
ชื่อกิจกรรม : ค่ายเกษตรกรตัวน้อย.. อยู่ดีมีสุข
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
ปลูกฝังความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการที่ดี การเลือกรับประทานอาหาร การรับประทานผัก การเลือกซื้ออาหาร การเลือกซื้อผัก การปรุงอาหาร ให้กับน้องๆอายุตั้งแต่ 7-12 ปี
เพื่อให้น้องๆได้เรียนรู้วิธีการทำการเกษตรในรูปแบบต่างๆ มีความรู้เกียวกับการเกษตรเช่น การป
กิจกรรมตามแผนกิจกรรมตลอด 4 วัน ของการจัดโครงการจะได้เรียนรู้เรื่องต่างๆ เช่นกิจกรรมเป็นฉัน,ดัชนีมวลกาย, การบริโภคที่ปลอดภัยที่ 7-eleven ,กิจกรรมน้ำหวานแปลงกาย , กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์/กล้าแสดงออก ,กิจกรรมผลิตน้ำหมักชีวภาพ , กิจกรรมทำอาหารว่างสลัดม้วนสายรุ้ง ,กิจกรรมเต้าฮวยฟุสสลัด , กิจกรรม,ผลไม้น่ากิน,ผักอร่อยอร่อย,กิจกรรมวิธีการขยายพันธุ์พืช(วิธีตอนกิ่ง,ทาบกิ่ง,เสียบยอด), กิจกรรมปลูกผัก , กิจกรรมเรียนรู้จากฟาร์มสัตว์ , ชมพิพิธภัณฑ์โครงกระดูกสัตว์ , การทำสบู่สมุนไพร , กิจกรรมละคร 3 ฉาก , ตู้เย็นธรรมชาติน้ำสมุนไพร เป็นต้น
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
วันที่ 21 เมษายนประกอดด้วยกิจกรรมสารสัมพันธ์,กิจกรรมเป็นฉัน ดัชนีมวลกาย, การบริโภคที่ปลอดภัยที่ 7-eleven ,กิจกรรมน้ำหวานแปลงกาย,วิธีการอ่านฉลากขนม , กิจกรรมผักผลไม้น่ากิน(ลูกชุป)
วันที่22 เมษายน ประกอบด้วยกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์/กล้าแสดงออก ,กิจกรรมจดหมายสื่อรัก,กิจกรรมประดิฐกระถางต้นไม้จากวัสดุรีไซเคิล,กิจกรรมผักอร่อยอร่อย(ผักทอด ผักต้ม ผักย่าง ผักนึ่ง),กิจกรรมหูงข้าว,กิจกรรมสลัดม้วนสายรุ้ง,กิจกรรมเรียนรู้การจ่ายตลาด และวิธีการผลิต ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
วันที่ 23 เมษายน ประกอบด้วยกิจกรรมโรงเรียนปลา,กิจกรรมเรียนรู้จากฟาร์มแพะ ฟาร์มหมู ฟาร์มไก่ การผลิตแก็สชีวภาพ , ชมพิพิธภัณฑ์โครงกระดูกสัตว์ , การทำสบู่สมุนไพร น้ำยาล้างจา , กิจกรรม,กิจกรรมเต้าฮวยฟุสสลัด
,กิจกรรมวิธีการขยายพันธุ์พืช(วิธีตอนกิ่ง,ทาบกิ่ง,เสียบยอด)
วันที่ 24 เมษายน ประกอบด้วย กิจกรรมโรงเรียนปลา, กิจกรรมชมแปลงแตงโม ต้นมะม่วง 5 สายพันธุ์ ,กิจกรรมแม่พิมพ์ธรรมชาติบนกระเป๋าผ้า,กิจกรรมปลูกผัก,กิจกรรมดินประดิษฐ์(เป็นผักผลไม้) , กิจกรรมละคร 3 ฉาก , สรูปกิจกรรม (ถอดบทเรียน),มอมประกาศนียบัตรให้ผู้เข้าร่วมโครงการ
ผลตามแผน
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการที่ดี การเลือกรับประทานอาหารที่ดีมสีประโยชน์ ชอบรับประทานผักมากขึ้น ได้ทราบวิธีการเลือกซื้ออาหารสด-ขนม การเลือกซื้อผัก การนำผักมาปรุงอาหารปรุงอาหาร
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้วิธีการทำการเกษตรในรูปแบบต่างๆ มีความรู้เกียวกับการเกษตรเช่น การปลูกพืช การขยายพันธุ์พืช การเลี้ยงสัตว์ การทำเกษตรแบบปลอดสารพิษ ได้รู้จักแมลงชนิดต่างๆ รวมถึงได้เรียนรู้วิธีการการดำเนินชีวิตตามหลักเศรฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การรู้จักพอประมาณ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เด็กๆผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหาร รับประทานผักชนิดต่างๆมากขึ้น ได้ทักษะการดำเนินชีวิตในหลายด้าน เช่น การจ่ายตลาด การเลือกชื้อขนมที่มีโภชนาหการดี การประกอบอาหาร การทำขนม การทำกระถางต้นไม้ การปลูกต้นไม้ ผู้ปกครองสวนใหญ่ให้คะแนนประเมินอยู่ในระดับดีมาก และมีความเห็นว่าควรมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ขึ้นอีก
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
10,000.00 |
1,200.00 |
5,928.00 |
10,847.00 |
0.00 |
0.00 |
27,975.00 |
|
17 เมษายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:47:24Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:31:43 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
10 เมษายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:46:49Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:30:17 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า-
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,500.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,500.00 |
|
3 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 19:02:24Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 15:23:42 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ให้ดูแลสุขภาพตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแก่วงแขนเพื่อลดพุงอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง
กิจกรรมตามแผนกิจกรรมลดพุงลดโรคประจำเดือน เมษายน
- จัดนิทรรศการและให้ความรู้เกี่ยวกับการลดพุงลดโรคอย่างถูกวิธี
- จัดให้มีการวัดค่าดัชนีมวลกายของผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
- ให้ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.ทุกคนต้องวัดค่าดัชนีมวลกาย
- กำหนดให้มีการแกว่งแขนวันละสามเวลา ในทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดกิจกรรมลดพุงลดโรคที่บริเวณลานเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ.ดังนี้
- นิทรรศการแกว่งแขนอย่างถูกวิธี 8 ขั้นตอน
- บริการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
- ควนค่าดัชนีมวลการว่าแต่ละท่านมีรอบเอวเกินหรือปล่าว และร่ายการของผู้ใช้บริการอยู่ในสถานะใด (ผอม สมส่วน กำลังจะอ้วน อ้วน)
- แจกแผ่นพับคู้มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่ดัชนีมวลการไม่เหมาะสม
ผลตามแผน
- มีผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ.ให้ความสนใจเข้ามาชมนิทรรศการ และเข้าร่วมวัดค่าดัชนีมวลกาย
- ผู้ประกอบการตลาดเกษตร ม.อ.ทุกร้านค้าวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง เป็นเวลา 4 เดือนติดต่อกัน
- ผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการสามารถแก่วงแขนเพื่อลดพุงได้อย่างถูกวิธีและร่วมแกว่งแขนด้วยกัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการจำนวนมากให้ความสนใจ ชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้จำหน่ายในตลาดนัดเกษตรกร ทุกรายชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเองประจำเดือน
- กำนดให้มีกิจกรรมแก่วงแขนทุวันที่มีตลาดนัด วันละ3เวลาคือ ครั้งที่ 1. เวลาประมาณ 15.00 น. ครั้งที่ 2 เวลา 18.00 น. และครั้งที่ 3 เวลา 19.00 น. ผลปรากฎว่าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
3 เมษายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:46:21Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 13:42:07 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง-
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
27 มีนาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 18:56:35Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 23:03:56 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผนจัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผนผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 2 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
27 มีนาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:45:50Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 14:38:03 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง-
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
26 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 4 เมษายน 2558 15:04:06Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 14:35:09 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย
เครือข่ายเกษตรกร ตลาดเกษตร ม.อ. ศึกษาเรียนรู้เกษตรปลอดสารพิษ ณ จังหวัดเชียงราย














คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเกษตรที่ปลอดภัย ระหว่างเกษตรกร นักวิชาการ ตลาด
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ให้มีความรู้รอบด้านให้สามารถบูรณาการงานเกษตรปลอดภัย สู่อุทยานอาหาร เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
3. เพื่อสร้างเครือข่ายเกษตรให้เข้มแข็ง
กิจกรรมตามแผนวันที่ 26-29 มีนาคม 2558 เกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ. ,เกษตรกรในตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา และนักวิชาการข้าราชการ รวมทั่งหมด 28 ท่าน
ศึกษาเรียนรู้การทำการเกษตรอินทรีย์,การเกษตรปลอดสารเคมี,การทำการเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว ณ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
วันที่ 26-มี.ค.-58
เดินทางโดยเครื่องบินไปถึง จ.เชียงราย เวลา 13.15 น.
ดูงาน
-สิงห์ปาร์ค การทำเกษตรปลอดสารพิษ และการทำเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว
-โฮมสเตย์บ้านท่าขันทอง เพื่อศึกษาการทำเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว
วันที่ 27-มี.ค.-58
-หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านแซว
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำเกษตรอินทรีย์เพื่อส่งจำหน่ายในนามโครงการหลวง ของจังหวัดเชียงราย
-ชมวิถีชีววัฒนธรรมลาหู่ ไตใหญ่และชนเผ่าอาข่า
-ศึกษาเรียนรู้วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ศูนย์ราษฎร์ชายแดนไทยเชียงแสน
-ดูงานเกษตรอินทรีย์ กลุ่มเชียงแสน ดอยสะโง๊ะ
-กิจกรรมถอดบทเรียนจากศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆ
วันที่ 28-มี.ค.-58
-เรียนรู้การจำหน่ายสินค้าผักพื้นบ้านในตลาดเช้า ตีนดอยตุง
-ชมพระตำหนักดอยตุง และสวนแม่ฟ้าหลวง,ตลาดแม่สาย
-ศึกษาเรียนรู้กลุ่มเกษตรกรที่ศูนย์เรียนรู้เกษตรบ้านม่วงคำ ต.เกาะช้าง อ.แม่สาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรออแกนิกส์ กลุ่มเกษตรกรปลูกสัปปะรดออแกนิกส์ ต.บ้านดู่ อ.เมือง
วันที่ 29-มี.ค.-58
-ศึกษาเรียนรู้การทำการเกษตรอินทรีย์ ไร่เชิญตะวัน มหาวิทยาลัยพุทธเศรษฐศาสตร์,หอศิลป์ ว.วขิรเมธี
ผลตามแผน
วันที่ 26-มี.ค.-58
ศึกษาเรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารพิษ และการทำเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว
วันที่ 27-มี.ค.-58
-ศึกษาเรียนรู้การทำการเกษตรตามเศรษฐกิจพอเพียง-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำเกษตรอินทรีย์เพื่อส่งจำหน่ายในนามโครงการหลวง ของจังหวัดเชียงราย-ชมวิถีชีววัฒนธรรมลาหู่ ไตใหญ่และชนเผ่าอาข่า-กิจกรรมถอดบทเรียนจากศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆ
วันที่ 28-มี.ค.-58
-เรียนรู้การจำหน่ายสินค้าผักพื้นบ้านในตลาดเช้า ตีนดอยตุง-ชมพระตำหนักดอยตุง และสวนแม่ฟ้าหลวง,ตลาดแม่สาย-ศึกษาเรียนรู้กลุ่มเกษตรกรที่ศูนย์เรียนรู้เกษตรบ้านม่วงคำ -แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรออแกนิกส์
วันที่ 29-มี.ค.-58
-ศึกษาเรียนรู้การทำการเกษตรอินทรีย์ ไร่เชิญตะวัน
ผลที่เกิดขึ้นจริงระหว่างวันที่ 26-29 มีนาคม 2558 เกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ. ,เกษตรกรในตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา และนักวิชาการข้าราชการ รวมทั่งหมด 28 ท่าน
ศึกษาเรียนรู้การทำการเกษตรอินทรีย์,การเกษตรปลอดสารเคมี,การทำการเกษตรเพื่อการท่องเที่ยว ณ จังหวัดเชียงราย
ปัญหา/แนวทางแก้ไขได้ผลตอบรับดีมาก
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
127,129.48 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
127,129.48 |
|
23 มีนาคม 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 4 เมษายน 2558 13:22:44Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:09:53 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน
การจัดการขยะเป็นเงิน

คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 23/3/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น.
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผน
- จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
- จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริง
ในวันที่ 23/3/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีผู้มาเปิดบัญชีจำนวน 182 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 281 กิโลกรัม
จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า โดยผู้คุณไพรัตน์ ผู้มีประสบการณ์ในการคัดแยกขยะมาเป็นเวลานาน
ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้ขยะมาฝากยังขาดความรู้วิธีการคัดแยกขยะเพื่อนำมาจำหน่าย มีความจำเป็นต้องจัดกิจกรรมให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
3,600.00 |
0.00 |
0.00 |
1,765.50 |
0.00 |
0.00 |
5,365.50 |
|
20 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 4 เมษายน 2558 14:42:52Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 14:55:03 น. |
ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
การจัดการขยะเป็นเงิน ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
- ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม
กิจกรรมตามแผน
- ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน และเริ่มรับฝากครั้งแรกในวันที่ 23/3/58
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน และเริ่มรับฝากครั้งแรกในวันที่ 23/3/58
- เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
ผลตามแผน
- มีผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. มาสมัครเป็นสมาชิกธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.
- มีผู้สนใจเข้ามาศึกษา นิทรรศการ นานเท่าไรกว่าจะย่อยสลาย และนิทรรศการ ขยะเป็นเงิน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- มีผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. มาสมัครเป็นสมาชิกธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. พร้อมเปิดบัญชีฝากขยะไว้ก่อนวันที่จะเปิดรับฝากขยะวันที่ 23/3/58 มีจำนวน 93 ราย
- มีผู้สนใจเข้ามาศึกษา นิทรรศการ นานเท่าไรกว่าจะย่อยสลาย และนิทรรศการ ขยะเป็นเงิน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,600.00 |
600.00 |
0.00 |
1,736.00 |
0.00 |
0.00 |
4,936.00 |
|
20 มีนาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:44:44Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:17:55 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
13 มีนาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:44:12Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 17:41:34 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง-
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
6 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 15 มีนาคม 2558 22:25:07Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 14:42:56 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
นิทรรศการ ลดพุงลดโรค
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ให้ดูแลสุขภาพตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการแก่วงแขนเพื่อลดพุงอย่างถูกวิธีและต่อเนื่อง
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการและให้ความรู้เกี่ยวกับการลดพุงลดโรคอย่างถูกวิธี
- จัดให้มีการวัดค่าดัชนีมวลกายของผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
- ให้ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.ทุกคนต้องวัดค่าดัชนีมวลกาย
- กำหนดให้มีการแกว่งแขนวันละสามเวลา ในทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดกิจกรรมลดพุงลดโรคที่บริเวณลานเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ.ดังนี้
- นิทรรศการแกว่งแขนอย่างถูกวิธี 8 ขั้นตอน
- บริการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
- ควนค่าดัชนีมวลการว่าแต่ละท่านมีรอบเอวเกินหรือปล่าว และร่ายการของผู้ใช้บริการอยู่ในสถานะใด (ผอม สมส่วน กำลังจะอ้วน อ้วน)
- แจกแผ่นพับคู้มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ที่ดัชนีมวลการไม่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมแกว่งแขนพร้อมกันทั่งตลาด วันละสามครั้ง
ผลตามแผน
- มีผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ.ให้ความสนใจเข้ามาชมนิทรรศการ และเข้าร่วมวัดค่าดัชนีมวลกาย
- ผู้ประกอบการตลาดเกษตร ม.อ.ทุกร้านค้าวัดค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- ผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการสามารถแก่วงแขนเพื่อลดพุงได้อย่างถูกวิธีและร่วมแกว่งแขนด้วยกัน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการจำนวนมากให้ความสนใจ ชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้จำหน่ายในตลาดนัดเกษตรกร ทุกรายชั้งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อคำนวนค่าดัชนีมวลกายของตนเอง
- กำนดให้มีกิจกรรมแก่วงแขนทุวันที่มีตลาดนัด วันละ3เวลาคือ ครั้งที่ 1. เวลาประมาณ 15.00 น. ครั้งที่ 2 เวลา 18.00 น. และครั้งที่ 3 เวลา 19.00 น. ผลปรากฎว่าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,600.00 |
0.00 |
0.00 |
2,580.00 |
0.00 |
0.00 |
5,180.00 |
|
6 มีนาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย kemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:43:30Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 13:16:05 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า-
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
1,000.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
1,000.00 |
|
25 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 8 มีนาคม 2558 16:25:06Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 9 มีนาคม 2558 12:12:33 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้

คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อรณรงค์ให้ผู้บริโภครับประทานผักพื้นบ้านและอาหารพื้นบ้านซึ่งเป็นเมนูปลอดสารพิษ
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของพืชผักและอาหารพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่นภาคใต้
กิจกรรมตามแผน
จัดนิทรรศการแสดงพืชผักและเมนูอาหารพื้นบ้าน พร้อมข้อมูลโภชนาการ
เกษตรกรจำหน่ายผักพื้นบ้าน
กลุ่มแม่บ้านและเกษตรกรนำผลิตภัณฑ์อาหาร ที่แปรรูปจากพืชผักวัถุดิบในท้องถิ่นจังหวัดสงขลามาจำหน่าย
กิจกรรมสาธิตการนำตาลโตนดมาทำเป็นสบู่ ซึ่งเป็นการประยุคต์วัสถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาต่อยอดเพิ่มมูลค่า และมีสรรพคุณเป็นที่ต้องการของท้องตลาด
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงกิจกรรมครั้งที่ 2 ดำเนินตั้งแต่เวลาบ่ายสองโมง
จัดพื้นที่แสดงผักพื้นบ้านต่างๆที่มีในท้องงถิ่น
มีเกษตรกรและกลุ่มแม่บ้านออกบูทจำหน่ายผักพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้าน
จัดให้มีกิจกรรมสาธิตการทำสบู่จากตาลโตนด โดยให้ผู้ใช้บริการในตลาดเกษตรสามารถมาร่วมผลิต โดยรับอาสาสมัครอบละ 13 ท่าน เมื่อทำเสร็จสามารถนำสบู่กลับไปใข้ที่บ้านได้คนละ 1 ก้อน
ผลตามแผน
- ผู้ใช้บริการให้ความสนใจเข้าไปศึกษาตัวอย่างผักพื้นบ้านที่จัดแสดง
- มีผู้สนใจอ่านค่าแคลลอรี่ของอาหารพื้นบ้านแต่ละชนิดที่จัดแสดง
- มีร้านค้าจำนวน 7 ร้านค้าเข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แบ่งออกเป็น ผักพื้นบ้าน 3 ร้าน อาหารพื้นบ้านจำนวน 2 ร้าน ผลิตภันทร์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้านจำนวน 2 ร้าน
- สาธิตการทำสบู่ดดยมีผู้เข้าร่วมจำนวน 65 ราย
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้ใช้บริการให้ความสนใจเข้าไปศึกษาตัวอย่างผักพื้นบ้านที่จัดแสดงจำนวนมาก
- มีผู้สนใจอ่านค่าแคลลอรี่ของอาหารพื้นบ้าน เช่น ข้าวยำ ไก่บ้านแกงกระทิ ยำลูกตาลสด และชนิดอื่นๆที่จัดแสดง
- มีร้านค้าจำนวน 7 ร้านค้าเข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แบ่งออกเป็น ผักพื้นบ้าน 3 ร้าน อาหารพื้นบ้านจำนวน 2 ร้าน ผลิตภันทร์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้านจำนวน 2 ร้าน
- สาธิตการทำสบู่โดยมีผู้เข้าร่วมทำกิจกรรมจำนวน 65 ราย ทุกรายได้สบู่กลับบ้านไปคนละ 1 ก้อน หลายท่านที่มีเวลาไม่พอในการเข้าร่วม เรียกร้องให้จัดกิจกรรมแบบนี้ซ้ำอีกในวันหลัง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 มีนาคม 2558 23:32:35Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 18:04:18 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
นิทรรศการผักและอาหารพื้นบ้านตามแนววิถีใต้
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์•เพื่อรณรงค์ให้ผู้บริโภครับประทานผักพื้นบ้านและอาหารพื้นบ้านซึ่งเป็นเมนูปลอดสารพิษ
•เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของพืชผักและอาหารพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่นภาคใต้
กิจกรรมตามแผนกิจกรรมวันแรก
•จัดนิทรรศการแสดงพืชผักและเมนูอาหารพื้นบ้าน พร้อมข้อมูลโภชนาการ
•เกษตรกรจำหน่ายผักพื้นบ้าน
•กลุ่มแม่บ้านและเกษตรกรนำผลิตภัณฑ์อาหาร ที่แปรรูปจากพืชผักในท้องถิ่นจังหวัดสงขลามาจำหน่าย
•เสวนาผักพื้นบ้านอาหารคนใต้ นำเสนอพืชผักพื้นบ้าน ลักษณะเด่น คุณค่าทางอาหาร สรรพคุณที่เป็นประโยชน์ของพืชผักในพื้นที่ภาคใต้
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงกิจกรรมดำเนินตั้งแต่เวลาบ่ายสองโมง
- จัดพื้นที่แสดงผักพื้นบ้านต่างๆที่มีในท้องงถิ่น
- มีเกษตรกรและกลุ่มแม่บ้านออกบูทจำหน่ายผักพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้าน
- เสวนาผักพื้นบ้านอาหารคนใต้ โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้ มีคุณ วรภัทร ไผ่แก้ว และคุณศรีนรา แมเร๊าะ เป็นผู้ดำเนินรายการ
ผลตามแผน•ผู้ใช้บริการให้ความสนใจเข้าไปศึกษาตัวอย่างผักพื้นบ้านที่จัดแสดง
•มีผู้สนใจอ่านค่าแคลลอรี่ของอาหารพื้นบ้านแต่ละชนิดที่จัดแสดง
•มีร้านค้าจำนวน 7 ร้านค้าเข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แบ่งออกเป็น ผักพื้นบ้าน 3 ร้าน อาหารพื้นบ้านจำนวน 2 ร้าน ผลิตภันทร์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้านจำนวน 2 ร้าน
•กิจกรรมเสวนาเสวนาผักพื้นบ้านอาหารคนใต้ สามารถสร้างการมีส่วนร่วม และการแลกเปลี่ยนความรู้ ทัศนคติต่อการรับประทานผักและอาหารพื้นภาคใต้ได้
ผลที่เกิดขึ้นจริง•มีผู้สนใจอ่านค่าแคลลอรี่ของอาหารพื้นบ้าน เช่น ข้าวยำ ไก่บ้านแกงกระทิ ยำลูกตาลสด และชนิดอื่นๆที่จัดแสดง
•มีร้านค้าจำนวน 7 ร้านค้าเข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แบ่งออกเป็น ผักพื้นบ้าน 3 ร้าน อาหารพื้นบ้านจำนวน 2 ร้าน ผลิตภันทร์แปรรูปของกลุ่มแม่บ้านจำนวน 2 ร้าน
•กิจกรรมเสวนาเสวนาผักพื้นบ้านอาหารคนใต้ ได้รับความสนใจจากผู้ใช้บริการอย่างมาก มีการนำตัวอย่างผักพื้นบ้านหลากหลายชนิดมาแลกเปลี่ยนความรู้อย่างสนุกสนาน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
17 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 มีนาคม 2558 22:47:08Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 9 มีนาคม 2558 12:19:41 น. |
ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
ลงพื้นที่แปลงผักปลอดสารพิษ เครือข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อตรวจเยี่ยมเครือข่ายเกษตรกร รายย่อยในแต่ละกลุ่มเครือข่าย
- เพื่อเยี่ยมชมการแปลงผักปลอกสารพิษ ตั้งแต่ขั้นตอนการปลูก การบำรุงรักษา การเก็บเกียวผลผลิต จนถึงการส่งมอมให้ผู้บริโภคในตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผนลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่เภอรัตภูมิ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงช่วงเช้า
ช่วงบ่าย
- เยี่ยมแปลงเครือข่ายเกษตรกรพื้นที่ตำบลคูหาใต้
ผลตามแผน
- สามารถลงไปตรวจสอบแปลงผัก ดูวิธีการปลูกพืชตั้งแต่การเตรียมดิน เพาะเมล็ด การดูแลรักษา การผลิตปุ๋ยเพื่อนำมาใช้ในการเพาะปลูก ของแต่ละเครือข่ายที่ส่งผักมาจำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริงลงพื้นที่เพาะปลูกเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารเคมี พื้นที่ตำบลคูหาใต้ และตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ประกอบด้วยแปลงผักกวางตุ้ง คะน้า แตงกวา ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว พริกขี้หนู เห็ดนางฟ้า ดอกมะลิ ฝรั่ง ฟักข้าว ใบเตย ดาหลา มะเพือง ผักชีฝรั่ง พริกไทย หน่อไม้ สาระแหน่ ได้เยี่ยมชมตั้งแต่
ขั้นตอนการเพาะปลูก
การใช้วัสดุการเกษตรหมุนเวียนเพื่อกลับมาเป็นปุ๋ยบำรุงต้นไม้
วิธีการรวบรวมพืชผักของแต่ละเครือข่ายเพื่อจัดส่งมาจำหน่ายที่ตลาดเกษตร ม.อ.
รายได้ของเกษตรกรผู้ผลิต ที่ส่งผักมาจำหน่ายยังตลาดเกษตร ม.อ.
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย hamidaเมื่อ 23 มีนาคม 2558 18:19:44Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 13:14:57 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 15 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
10,000.00 |
0.00 |
0.00 |
80.00 |
0.00 |
0.00 |
10,080.00 |
|
3 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2558 10:31:48Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 14:32:17 น. |
ชื่อกิจกรรม : นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม ศึกษาเรียนรู้ ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม ศึกษาเรียนรู้ ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม ศึกษาเรียนรู้ ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม ศึกษาเรียนรู้ ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม ศึกษาเรียนรู้ ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสอนเทคนิควิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ (EM)
- เพื่อสอนเทคนิควิธีการทำน้ำยาทำความสะอาดเอนกประสงค์ จากน้ำหมักชัวภาพ
- วิธิการใช้ และประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ
กิจกรรมตามแผนจัดกิจกรรมสอนวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ(EM)และน้ำยkเอนกประสงค์ ให้แก่นักศึกษาชมรมการศึกษาเพื่อสังคม เพื่อนำความรู้ไปจัดค่ายส่งยอิ้มสู้น้อง ให้กับนักเรียนโรงเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 19 จังหวัดนครศรีธรรมราช
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงมีนักศึกษาผู้นำกิจกรรมชมรมการศึกษาเพื่อสังคมจำนวน 12 คนเข้าเรียนรู้
- การผลิตน้ำหมักชีวภาพ จากเปลือกสัปรด
- การผลิตน้ำยาทำความสะอาด จากน้ำหมักชีวภาพ
- สอนวิธีการนำไปใช้ และคุณสมบัติเด่นของน้ำหมัก EM
- นักศึกษาเยี้ยมชมโรงน้ำหมักชีวภาพ ตลาดเกษตร ม.อ.
- ให้นักศึกษาฝึกสอนวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาทำความสะอาดเอนกประสงค์ แก่ผู้สนใจ
ผลตามแผน
- สอนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ จากเปลือกสัปรด โดยใช้สูตร 3:1:1:5 เริ่มตั้งแต่การเตรียมเปลือกสัปรดสับให้ได้ชิ้นเล็ก ให้ได้ 3 ส่วน ตามด้วยเตรียมน้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน น้ำหมักEM 1 ส่วน และ น้ำปล่าว 5 ส่วน น้ำมาผสมกัน
- การผลิตน้ำยาทำความสะอาด จากน้ำหมักชีวภาพ โดยใช้สูตร 1:1:5:10 ประกอบด้วย N70 1 ส่วน เกลือ 1 ส่วน น้ำหมักEM 1 ส่วน และน้ำเปล่าว 10 ส่วน น้ำมาผสมกันตามกรรมวิธีการผลิต
ผลที่เกิดขึ้นจริงนักศึกษาผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความเข้าใจอย่างดีในการผลิต การเก็บรักษา และการนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆของน้ำหมักชีภาพEM และการผลิตน้ำยาทำความสะอาดเอนกประสงค์ นักศึกษามีความรู้ความสามารถที่จะถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นต่อไปได้อย่างดี
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
2,000.00 |
0.00 |
0.00 |
2,308.00 |
0.00 |
0.00 |
4,308.00 |
|
3 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 08:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2558 11:23:57Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 30 กันยายน 2558 17:02:54 น. |
ชื่อกิจกรรม : Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
Bigclening day ตลาดเกษตร ม.อ. และ กิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อทำความสะอาดตลาดเกษตร ม.อ.ครั้งใหญ่
- เพื่อปลูกพืชสมุนไพรและพืชใช้สอยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผน
- จัดกิจกรรมทำความสะอาดครั้งใหญ่ ทั่งบริเวณตลาดและพื้นที่โดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดกิจกรรมปลูกพืชสมุนไพรและพืชผักอื่นๆ เช่น ตะไคร้ ข่า หัวไพร ตะไคร้หอม รางจืด ดาหลา บันไดสวรรค์ เป็นต้น
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- ตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกับคณะทรัพยากรธรรมชาติ จัดกิจกรรม ฺBigclening day เริ่มลงทะเบียนทั่งแต่เวลา 8.00 น. มีผู้เข้าร่วม 183 คน
- เวลา 8.30 น. พิธีเปิดโดยท่านรองศาสตราจารย์อรัญ งามผ่องใส รองคณะบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดเกษตร ม.อ.ได้แบ่งพื้นที่กันทำความสะอาด คือ เก็บขยะพื้นที่ลานจอดรถ ลองคูระบายน้ำรอบตลาด ถางหญ่าถนนหลังตลาด ปลูกสมุนไพร ใส่ปุ๋ยต้นไม้รอบ ตลาด จัดสวนหย่อม
- เวลา 10.30 น. ผู้จำหน่ายทุกคนร่วมกันล้างพื้นที่ภายในตลาดเกษตร ม.อ.ทั้งหมด
ผลตามแผน
- ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตรทุกร้านค้าร่วมกันพัฒนาบริเวณโดยรอบ
- ปลูกพืชสมุนไพรและผักสวนครัว
- ทำความสะอาดตลาดเกษตร
ผลที่เกิดขึ้นจริงผู้จำหน่ายในตลาดเกษตรทุกร้านค้าจำนวน 183 รายร่วมกันพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. มีกิจกรรมต่างๆมากมาย
ทำความสะอาดปรับปรุงพิ้นที่ลานจอดรถ และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ปลูกพืชสมุนไพร(ตะไคร้ ข่า หัวไพร ตะไคร้หอม รางจืด ดาหลา บันไดสวรรค์) พร้อมแบ่งพื้นที่ให้ผู้จำหน่ายดูแลรับผิดชอบ สร้างการมีส่วนร่วม
ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นกล้วย(ที่ปลูกไว้เพื่อเป็นบรรจุภัณฑ์ปลอดภัย) และต้นไม้บริเวณโดยรอบ
ลอกคูระบายน้ำรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยได้รับสนับสนุนรถดับเพลิงช่วยฉีดน้ำจาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ล้างพื้นที่จำหน่ายสินค้า บริเวณทางเดินภายในตลาดเกษตร ม.อ.
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
23 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 30 มกราคม 2558 01:41:52Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 10:34:57 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตรวจสารกันรา สารฟอร์มาลีน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคตระหนักผลเสียของสารปนเปื้อนและทราบวิธิการตรวจหาสารตกค้าง(สารฟอร์มาลินและสารกันรา)ในอาหาร
- เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหารในตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการ อาหารที่มักพบสารฟอร์มาลินและสารกันราและอันตรายจากการับประทานอาหารปนเปื่อนสารฟอร์มาลินและสารกันรา
- เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดเกษตรที่มีโอกาสปนเปื่อนมาตรวจหาสารฟอร์มาลินและสารกันรา
- เปิดให้ผู้บริโภคในตลาดเกษตร นำอาหารที่ซื้อภายในตลาดมาตรวจหาสารปนเปื่อนด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่อาจจมีสารฟอร์มาลินและสารกันราปนเปื่อน พร้อมโทษของสารฟอร์มาลินและสารกันรา หากทำการรับประทานเข้าสู่ร่างกาย
- เก็บตัวอย่างอาหารจากร้านค้าต่างๆที่มีอาหารอยู่ในกลุ่มอาจจะมีสานปนเปื่อนเป็นสารฟอร์มาลิน เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดแก้ว กุ้ง ปลาหมึก ปลาทะเล ปลาเค็ม เป็นต้น
- เก็บตัวอย่างอาหารจากร้านค้าต่างๆที่มีอาหารอยู่ในกลุ่มอาจจะมีสานปนเปื่อนเป็นสารกันรา เช่น แหนม หมูยอ ถั่ว พริกป่น ผักกาดดอง ผลไม้แช่อิ่ม หัวไชโป๊ เป็นต้น
- เปิดให้ผู้บริโภคนำอาหารที่ซื้อจากภายในตลาดเกษตร ม.อ. เข้ามาตรวจหาสารฟอร์มาลินและสารกันรา โดยการใช้ทดสอบชุดทดสอบสารฟอร์มาลินในอาหาร (น้ำยาดองศพ) และชุดทดสอบกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ด้วยตนเอง
ผลตามแผน
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีสารฟอร์มาลินปนเปื่อน เช่น ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว ปลาทู ปลาเค็ม อาหารทะเลทุกชนิด
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ปนเปื่อน เช่น น้ำผักดอง น้ำดองผลไม้ แหนม หมูยอ
- ผู้บริโถคทราบถึงโทษอันตรายของสารฟอร์มาลิน เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณมาก
- ผู้บริโถคทราบถึงโทษพิษของสารกันรา เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้าไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางรายที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้
- ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักในหารสรรหาสินค้าที่มีความปลอดภัยมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีสารฟอร์มาลินปนเปื่อน เช่น ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว ปลาทู ปลาเค็ม อาหารทะเลทุกชนิด พร้อมได้ทราบถึงโทษอันตรายของสารฟอร์มาลิน เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณมาก โดยในกิจกรรมครั้งนี้ ผู้บริโภคได้ร่วมกันตรวจตัวอย่างอาหารในตลาดเกษตร ม.อ. ที่อาจมีสารฟอร์มาลินจำนวน 15 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างไม่พบสารฟอร์มาลินตกค้าง
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ปนเปื่อน เช่น น้ำผักดอง น้ำดองผลไม้ แหนม หมูยอ และทราบถึงโทษพิษของสารกันรา เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้าไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางรายที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้ ควรหลีกเลี่ยงพิษจากสารกันราได้โดย เลือกกินอาหารที่สดใหม่ ไม่กินอาหารหมักดอง หรือเลือกซื้อจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ ซึ่งได้รับการรับรองคุณภาพ มีเครื่องหมาย อย. โดยกิจกรรมในครั้งนี้ผู้บริโภคได้นำตัวอย่างอาหารมาตรวจจำนวน 13 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างไม่มีสารกันราปนเปื่อน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
6,000.00 |
0.00 |
0.00 |
1,137.25 |
0.00 |
0.00 |
7,137.25 |
|
23 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 30 มกราคม 2558 10:10:23Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 13:18:13 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 14 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
21 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 28 มกราคม 2558 10:37:38Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 18:36:22 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตรวจสารกันรา สารฟอร์มาลีน
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคตระหนักผลเสียของสารปนเปื้อนและทราบวิธิการตรวจหาสารตกค้าง(สารฟอร์มาลินและสารกันรา)ในอาหาร
- เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหารในตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการ อาหารที่มักพบสารฟอร์มาลินและสารกันราและอันตรายจากการับประทานอาหารปนเปื่อนสารฟอร์มาลินและสารกันรา
- เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดเกษตรที่มีโอกาสปนเปื่อนมาตรวจหาสารฟอร์มาลินและสารกันรา
- เปิดให้ผู้บริโภคในตลาดเกษตร นำอาหารที่ซื้อภายในตลาดมาตรวจหาสารปนเปื่อนด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่อาจจมีสารฟอร์มาลินและสารกันราปนเปื่อน พร้อมโทษของสารฟอร์มาลินและสารกันรา หากทำการรับประทานเข้าสู่ร่างกาย
- เก็บตัวอย่างอาหารจากร้านค้าต่างๆที่มีอาหารอยู่ในกลุ่มอาจจะมีสานปนเปื่อนเป็นสารฟอร์มาลิน เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดแก้ว กุ้ง ปลาหมึก ปลาทะเล ปลาเค็ม เป็นต้น
- เก็บตัวอย่างอาหารจากร้านค้าต่างๆที่มีอาหารอยู่ในกลุ่มอาจจะมีสานปนเปื่อนเป็นสารกันรา เช่น แหนม หมูยอ ถั่ว พริกป่น ผักกาดดอง ผลไม้แช่อิ่ม หัวไชโป๊ เป็นต้น
- เปิดให้ผู้บริโภคนำอาหารที่ซื้อจากภายในตลาดเกษตร ม.อ. เข้ามาตรวจหาสารฟอร์มาลินและสารกันรา โดยการใช้ทดสอบชุดทดสอบสารฟอร์มาลินในอาหาร (น้ำยาดองศพ) และชุดทดสอบกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ด้วยตนเอง
ผลตามแผน
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีสารฟอร์มาลินปนเปื่อน เช่น ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว ปลาทู ปลาเค็ม อาหารทะเลทุกชนิด
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ปนเปื่อน เช่น น้ำผักดอง น้ำดองผลไม้ แหนม หมูยอ
- ผู้บริโถคทราบถึงโทษอันตรายของสารฟอร์มาลิน เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณมาก
- ผู้บริโถคทราบถึงโทษพิษของสารกันรา เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้าไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางรายที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้
- ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักในหารสรรหาสินค้าที่มีความปลอดภัยมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีสารฟอร์มาลินปนเปื่อน เช่น ผักคะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว แตงกวา หน่อไม้ ยอดมะพร้าว ปลาทู ปลาเค็ม อาหารทะเลทุกชนิด พร้อมได้ทราบถึงโทษอันตรายของสารฟอร์มาลิน เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่างรุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณมาก โดยในกิจกรรมครั้งนี้ ผู้บริโภคได้ร่วมกันตรวจตัวอย่างอาหารในตลาดเกษตร ม.อ. ที่อาจมีสารฟอร์มาลินจำนวน 15 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างไม่พบสารฟอร์มาลินตกค้าง
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีกรดซาลิซิลิคในอาหาร (สารกันรา) ปนเปื่อน เช่น น้ำผักดอง น้ำดองผลไม้ แหนม หมูยอ และทราบถึงโทษพิษของสารกันรา เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้าไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางรายที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้ ควรหลีกเลี่ยงพิษจากสารกันราได้โดย เลือกกินอาหารที่สดใหม่ ไม่กินอาหารหมักดอง หรือเลือกซื้อจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ ซึ่งได้รับการรับรองคุณภาพ มีเครื่องหมาย อย. โดยกิจกรรมในครั้งนี้ผู้บริโภคได้นำตัวอย่างอาหารมาตรวจจำนวน 13 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างไม่มีสารกันราปนเปื่อน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
16 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 20 มกราคม 2558 15:49:16Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 30 มกราคม 2558 10:10:19 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
10 มกราคม 2558 เวลา 08:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 13 มกราคม 2558 14:59:39Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 17:25:22 น. |
ชื่อกิจกรรม : น้ำหวานแปลงกาย ยุทธการลด หวาน กิจกรรมวันเด็ก
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
- จัดกิจกรรมวันเด็กอย่างสร้างสรรค์ ให้เด็กๆได้ทราบถึงดัชนีมวลการของต้นเอง ความเหมาะของปริมาณอาหารแต่ละประเภท ต่อการรับประทานในแต่ละวัน
- เพื่อให้เด็กๆทราบถึงปริมาณน้ำตาลในอาหารแต่ละชนิด ที่เด็กๆชอบรับประทาน
- เพื่อแนะนำวิธีการออกกำลังการอย่างถูกวิธี โดย
กิจกรรมตามแผนจัดกิจกรรมวันเด็ก2558 ที่ตลาดเกษตร ม.อ. โดยแบ่งกิจกรรมออกเป็นกลุ่มหลักดังนี้
1.กิจกรรมวิชาการแนะนำเกี่ยวกับการลดรับประทานอาหารหวาน และเลือกรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ
- กิจกรรมเป็นฉัน
- กิจกรรมมนตราอาหาร
- กิจกรรมภาระกิจพิชตพุง
- ห้องน้ำหวานแปลงกาย
- อัศวิน Bookman
2.กิจกรรมเสริมทักษะการเรียนรู้
- กิจกรรมระบายสี
- กิจกรรมปั้นดิน
- กิจกรรมแตะบอล
- กิจกรรมโยนห่วง ตีกอล์ฟ
3.ให้บริการอาหารฟรี
- ขนมจาก
- ขนมโค
- ขนมโตเกียว
- ขนมโดนัท
4.กิจกรรมบนเวที การแสดงของเด็กๆ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง1.กิจกรรมวิชาการแนะนำเกี่ยวกับการลดรับประทานอาหารหวาน และเลือกรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ
- กิจกรรมเป็นฉัน ทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง อายุ แล้วนำมาคำนวนค่า ว่าเด็กๆอยู่ในเกณฑ์ปกติ หรืออ้วนไป หรือผอมไป
- กิจกรรมมนตราอาหาร ในเด็กได้ดูธงโภชนาการอาหาร ทราบปริมาณหารที่แนะนำต่อวัน
- กิจกรรมภารกิจพิชตพุง เด็กๆได้ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะคนอ้วนได้ทราบถึงวิธีการลดพุง
- ห้องน้ำหวานแปลงกาย นำเสนอวีดีโอเกียวกับปริมาณน้ำตาลในอาหารแต่ละชนิด โทษของการรับประทานน้ำตาลเกินกว่าปริมาณที่ต้องการ พร้อมทั่งนำตัวอย่างอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงให้เด็กๆดู และยังสอนวิธีการอ่านฉลากขนมที่่เด็กๆชอบรับประทาน เพื่อทราบปริมาณน้ำตาลในขนมแต่ละชนิด
- อัศวิน Book man นำเสนอเป็นละครเวทีเกี่ยวกับการรทานอาหารให้ครบ5หมู่ การทานน้ำหวาน มีโทษอย่างไรบ้างโดยใช้ไฟแบ็คไลท์ให้ดูน่าสนใจ
2.กิจกรรมเสริมทักษะ
3.บริการอาหารฟรีให้เด็กๆและผู้ปกครองรับประทาน
- ขนมจาก
- ขนมโค
- ขนมโตเกียว
- ขนมโดนัท
4.กิจกรรมบนเวที การแสดงของเด็กๆ มีการเต้น การร้องเพลง การตอบคำถาม พร้อมแจกของรางวัลมากมาย
ผลตามแผน1.กิจกรรมวิชาการทำให้ทราบถึงโทษของการรับประทานอาหารหวาน และเลือกรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ
- กิจกรรมเป็นฉัน ทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง อายุ แล้วนำมาคำนวนค่า ว่าเด็กๆอยู่ในเกณฑ์ปกติ หรืออ้วนไป หรือผอมไป
กิจกรรมมนตราอาหาร ในเด็กได้ดูธงโภชนาการอาหาร ทราบปริมาณหารที่แนะนำต่อวัน หากทานน้อยไปให้ทานเพิ่ม หากทานมากไปให้ลดปริมาณอาหารลง
กิจกรรมภารกิจพิชตพุง เด็กๆได้ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะคนอ้วนได้ทราบถึงวิธีการลดพุง
ห้องน้ำหวานแปลงกาย นำเสนอวีดีโอเกียวกับปริมาณน้ำตาลในอาหารแต่ละชนิด โทษของการรับประทานน้ำตาลเกินกว่าปริมาณที่ต้องการ พร้อมทั่งนำตัวอย่างอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงให้เด็กๆดู และสอนวิธีการอานฉลากขนมที่่เด็กๆชอบรับประทาน เพื่อทราบปริมาณน้ำตาลในขนมแต่ละชนิด
อัศวิน Book man นำเสนอเป็นละครเวทีเกี่ยวกับการรทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การทานน้ำหวาน มีโทษอย่างไรบ้าง
2.กิจกรรมเสริมทักษะ
- กิจกรรมระบายสี บัตรประจำตัวในกิจกรรมวันเด็ก ให้เด็กฝึกระบายสี พร้อมสอดแทรกคำขวัญวันเด็ก
- กิจกรรมปั้นดินประดิฐ เป็นตุ๊กตาเสียบดินสอ เพื่อให้ฝึกปั้น และเกิดความภาคภูมิใจในต้นเอง
- กิจกรรมแตะบอลให้เข้าช่อง ให้เด็กได้ออกกำลังกาย
- กิจกรรมโยนห่วง ตีกอล์ฟ เพื่อความสนุกสนาน ฝึกสมาธิ
3.บริการอาหารฟรีให้เด็กๆและผู้ปกครองรับประทาน
- ขนมจาก
- ขนมโค
- ขนมโตเกียว
- ขนมโดนัท
4.กิจกรรมบนเวที การแสดงของเด็กๆ มีการเต้น การร้องเพลง การตอบคำถาม ให้เด็กๆกล้าแสดงออก
ผลที่เกิดขึ้นจริงกิจกรรมน้ำหวานแปลงกาย ยุทธการลด หวาน กิจกรรมวันเด็กจัดขึ้นที่ตลาดเกษตร ม.อ. มีเด็กเข้าร่วมจำนวน 800 กว่าคนโดยเด็กๆจะต้องเข้าฐานกิจกรรมวิชาการให้ครบ 5 กิจกรรมถึงจะมีสิทธิจับของรางวัล กิจกรรมวิชาการจะทำให้เด็กๆทราบถึงโทษของการรับประทานอาหารหวาน วิธีการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ ซึ่งสอดแทรกอยู่ในฐานกิจกรรมดังนี้
- กิจกรรมเป็นฉัน ทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง อายุ นำมาคำนวนค่าดัชนีมวลกาย ว่าเด็กๆอยู่ในเกณฑ์ปกติ หรืออ้วนไป หรือผอมไป
กิจกรรมมนตราอาหาร ในเด็กได้ดูธงโภชนาการอาหาร ทราบปริมาณหารที่แนะนำต่อวัน หากทานน้อยไปควรทานเพิ่ม หากทานมากไปให้ลดปริมาณอาหารลง
กิจกรรมภารกิจพิชตพุง เด็กๆได้ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะคนอ้วนได้ทราบถึงวิธีการลดพุงเพื่อลดโรค
ห้องน้ำหวานแปลงกาย นำเสนอวีดีโอเกียวกับปริมาณน้ำตาลในอาหารแต่ละชนิด โทษของการรับประทานน้ำตาลเกินกว่าปริมาณที่ต้องการ โรคที่จะเกิดการอ้วน พร้อมทั่งนำตัวอย่างอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงให้เด็กๆดู พร้อมสอนวิธีการอานฉลากขนมที่่เด็กๆชอบรับประทาน เพื่อทราบปริมาณน้ำตาลในขนมแต่ละชนิด
อัศวิน Book man นำเสนอเป็นละครเวทีเกี่ยวกับการรทานอาหารให้ครบ5หมู่ การทานอาหารหวานมีโทษอย่างไรบ้าง ละครมีเนื้อหาสนุกสนานได้สาระครบครัน
นอกจากนี้แล้วยังมีกิจกรรมอื่นๆมากมาย เช่นกิจกรรมเสริมทักษะ
- กิจกรรมระบายสี บัตรประจำตัวในกิจกรรมวันเด็ก ให้เด็กฝึกระบายสี พร้อมสอดแทรกคำขวัญวันเด็ก
- กิจกรรมปั้นดินประดิฐ เป็นตุ๊กตาเสียบดินสอ เพื่อให้ฝึกปั้น และเกิดความภาคภูมิใจในต้นเอง
- กิจกรรมแตะบอลให้เข้าช่อง ให้เด็กได้ออกกำลังกาย
- กิจกรรมโยนห่วง ตีกอล์ฟ เพื่อความสนุกสนาน ฝึกสมาธิ
บริการอาหารฟรีให้เด็กๆและผู้ปกครองรับประทาน
- ขนมจาก
- ขนมโค
- ขนมโตเกียว
- ขนมโดนัท
กิจกรรมบนเวที การแสดงของเด็กๆ มีการเต้น การร้องเพลง การตอบคำถาม ให้เด็กๆกล้าแสดงออก
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
7,900.00 |
340.00 |
962.00 |
14,053.00 |
0.00 |
0.00 |
23,255.00 |
|
9 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 20 มกราคม 2558 15:41:22Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 20 มกราคม 2558 15:42:08 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.



คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
2 มกราคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 20 มกราคม 2558 15:37:57Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 20 มกราคม 2558 15:39:57 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.


คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในวันศุกร์ที่ผ่านมานี้มีผู้จำหน่ายมาจำหน่ายไม่ครบเนื่องจากอยู่ในช่วงเทศกาลปีใหม่ สำหรับผู้ที่มาจำหน่ายแต่ละรายยังคงขายดี ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
29 ธันวาคม 2557 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 มกราคม 2558 09:44:03Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 18:57:45 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผนจัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกค้าค้าร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาด ครั้งนี้มีความพิเศษกว่าปกติคือทุกร้านค้าย้ายของออกจนหมดเพื่อทำความสะอาด และคืนพื้นที่ให้คณะทรัพยากรธรรมชาติ จัดกิจกรรมปีใหม่
ผลตามแผนผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริงผุ้ประกอบการทุกร้านค้าขนย้ายบูทจำหน่ายสินค้าออกไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่ตลาดเกษตร ม.อ.จัดเตรียมไว้ให้ และร่วมกันเช็ดล้างพื้นบริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า บริเวณโดยรอบ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
26 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 มกราคม 2558 09:19:51Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 17:59:06 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในวันศุกร์ที่ผ่านมานี้มีผู้จำหน่ายมาจำหน่ายไม่ครบเนื่องจากประสบอุทกภัยในจังหวัดสงขลา สำหรับผู้ที่มาจำหน่ายแต่ละรายยังคงขายดี ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
19 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 22 ธันวาคม 2557 10:48:19Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:47:38 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในวันศุกร์ที่ผ่านมานี้มีผู้จำหน่ายมาจำหน่ายไม่ครบเนื่องจากประสบอุทกภัยในจังหวัดสงขลา สำหรับผู้ที่มาจำหน่ายแต่ละรายยังคงขายดี ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข--
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
17 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 18 ธันวาคม 2557 10:13:51Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 16 มีนาคม 2558 16:47:41 น. |
ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการตรวจสารฟอกขาว
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคตระหนักผลเสียของสารปนเปื้อนและทราบวิธิการตรวจหาสารตกค้าง(สารฟอกขาว)ในอาหารได้
- เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหารในตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการ อาหารที่มักพบสารฟอกขาวปนเปื่อน และอันตรายจากการับประทานอาหารปนเปื่อนสารฟอกขาว
- เก็บตัวอย่างอาหารในตลาดเกษตรที่มีโอกาสปนเปื่อนมาตรวจหาสารฟอกขาว
- เปิดให้ผู้บริโภคในตลาดเกษตร นำอาหารที่ซื้อภายในตลาดมาตรวจหาสารปนเปื่อนด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่อาจจมีสารฟอกขาวปนเปื่อน พร้อมโทษของสารฟอกขาวหากทำการรับประทานเข้าสู่ร่างกาย
- เก็บตัวอย่างอาหารจากร้านค้าต่างๆที่มีอาหารอยู่ในกลุ่มอาจจะมีสานปนเปื่อนเป็นสารฟอกขาว เช่น ถั่วงอก หน่อไม้ ขิงซอย ขนจีน น้ำตาลทราย
- ตั้งโต๊ะทดสอบหาสารฟอกขาว โดยเปิดให้ผู้บริโภคนำอาหารที่ซื้อจากภายในตลาดเกษตร ม.อ. เข้ามาตรวจหาสารฟอกขาว โดยการใช้สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต CuSO4.5H2O ตรวจหาด้วยตนเอง
ผลตามแผน
- ผู้บริโถคมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่อาจจะมีสารฟอกขาวปนเปื่อน โดยเฉพาะหาหารที่พบสารฟอกขาวบ่อยๆ คือ ถั่วงอก ผ้าขี้ริ้ว ตีนไก่ ทุเรียนกวน ยอดมะพร้าว หน่อไม้ ขิงซอย ขนมจีน น้ำตาลทราย
- ทราบถึงโทษของสารฟอกขาวว่า หากสัมผัสผิวหนังจำทำให้หนังอักเสพ เป็นผื่นแดง ถ้าบริโภคเข้าไปจะทำให้เกิดการอักเสพในอวัยวะที่สัมผัสอาหาร เช่น ปาก ลำคอ กระเพาะอาหาร หากกินเข้าไปเกิน 30 กรัม จะทำให้เกิดอาการปวดท้อง เวียนศรีษะ อาเจียน อุจาระร่วง ความดันโลหิตลดต่ำลง แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หลอดลมหดตัว ทำให้หอบหืด ผู้ที่เป็นโรคลัษณะนี้อยู่ อาจซ็อกหมดสติและเสียชีวิตได้
- เป็นการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย ทำให้ผู้ประกอบการตระหนักในหารสรรหาสินค้าที่มีความปลอดภัยมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
ผลที่เกิดขึ้นจริงมีผู้บริโภคจำนวนมากให้ความสนใจ นำอาหารที่จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.มาตรวจหาสารฟอกขาว และทำการตรวจหาสารตกค้างด้วยตนเอง โดยใช้สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต CuSO4.5H2O ที่เจ้าหน้าที่จัดเตรียมไว้ให้
- จากการสุ่มตรวจหาสารตกค้างทั้งหมด ทั่งจากผู้บริโภคและเจ้าหน้าที่ ไม่พบอาหารที่มีสารฟอกขาวตกค้างแต่อย่างใด
ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้บริโภคสนใจอยากได้ชุดตรวจหาสารตกค้าง นำกลับไปใช้ที่บ้าน ต้องการให้มีการจำหน่ายสารตรวจหาสารตกค้างอย่างแพร่หลาย ให้สามารถหาซื้อได้ง่ายมากขึ้น
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
12 ธันวาคม 2557 เวลา 14:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 13 มกราคม 2558 14:41:43Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 17:11:13 น. |
ชื่อกิจกรรม : การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณในการป้องกันรักษาโรค
- เพื่อส่งเสริมและรณรงค์ให้เกิดการเอาใจใส่ดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
กิจกรรมตามแผน
- จัดกิจกรรมวันที่ 10 และวันที่ 12 ธันวาคม
- นำเสนอข้อมูล และตัวอย่างพันธุ์พืชผัก ที่มีสรรพคุณทางยา
- จัดให้มีการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์ และมีน้ำสมุนไพรให้ดื่มฟรี
- ออกบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยามาจำหน่าย
- จัดกิจกรรมสาธิตการปรุงอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- จัดกิจกรรมบริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย
- จัดกิจกรรมเสวนาเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดยผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- มีอย่างพันธุ์พืชผัก พร้อมบรรยายสรรพคุณทางยาจำนวน 20 ตัวอย่าง
- บริการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์จำนวน 1 ตู้ ผู้สนใจสามารถนำไปทำเองที่บ้านได้
- มีบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาจำนวน 6 ร้านค้า
- จัดกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- บริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย จำนวน 2 ราย
- จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้ และมีคุณ วรภัทร ไผ่แก้ว เป็นผู้ดำเนินรายการ
ผลตามแผน
- ผู้สนใจสามารถศึกษาสรรพคุณทางยาของอาหารได้อย่างหลากหลาย
- ผู้ใช้บริการอบสมุนไพรฟรี สามารถนำวิธีการทำตู้อบแบบประยุกต์ไปทำเองที่บ้านได้ และสามารถชื่อสมุนไพรเพื่อนำไปใช้ได้
- ผู้บริโภคสามารถหาซื้ออาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาได้
- ผู้สนใจกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ สามารถนำเมนูกลับไปปรุงเองที่บ้านได้
- มีอย่างพันธุ์พืชผัก พร้อมบรรยายสรรพคุณทางยาจำนวน 20 ตัวอย่าง
- บริการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์จำนวน 1 ตู้ ผู้สนใจสามารถนำไปทำเองที่บ้านได้
- มีบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาจำนวน 6 ร้านค้า
- จัดกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- บริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย จำนวน 2 ราย
- จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้ และมีคุณ วรภัทร ไผ่แก้ว เป็นผู้ดำเนินรายการ
- มีการเรียนรู้ และเกิดการแลกเปลี่ยนความเกียวกับ "การรับประทานอาหารให้เป็นยา"
ผลที่เกิดขึ้นจริงผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ. มีความประทับใจอย่างมาก
- เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืช ผัก ซึ่งเป็นอาหารที่สามารถหาได้ง่ายในชีวิตประจำวัน โดยผู้สนใจจำนวนมากเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพไปรับประทาน ทำให้อาหารหลายๆเมนูหมดเร็วตั้งแต่เวลา 5 โมงเย็น
- มีผู้ใช้บริการอบสมุนไพรฟรี และนวดเพื่อสุขภาพรวมกันจำนวน 53 รายส่วนใหญ่มีความประทับใจ รู้สึกสดชื่น ผ่อนคลายมาก เพราะผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นพนักงานออฟฟิศ
- มีผู้สนใจเมนู น้ำพริกปลาทูเพื่อสุขภาพจำนวนมาก หลายท่านจดจำสูตรนำกลับไปทำเองที่บ้าน
ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้ใช้บริการหลายท่านมีความเห็นว่า เป็นกิจกรรมที่ดีมาก อยากให้จัดกิจกรรมลักษณะนี้สม่ำเสมอ โดยเฉพาะการนวดเพื่อสุขภาพ
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
3,100.00 |
1,100.00 |
260.00 |
15,121.00 |
0.00 |
0.00 |
19,581.00 |
|
12 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 15 ธันวาคม 2557 10:27:03Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:50:33 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
10 ธันวาคม 2557 เวลา 14:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 15 ธันวาคม 2557 09:01:45Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 23 มีนาคม 2558 17:10:58 น. |
ชื่อกิจกรรม : การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
การดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณในการป้องกันรักษาโรค
- เพื่อส่งเสริมและรณรงค์ให้เกิดการเอาใจใส่ดูแลตนเองตามวิถีธรรมชาติ
กิจกรรมตามแผน
- จัดกิจกรรมวันที่ 10 และวันที่ 12 ธันวาคม
- นำเสนอข้อมูล และตัวอย่างพันธุ์พืชผัก ที่มีสรรพคุณทางยา
- จัดให้มีการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์ และมีน้ำสมุนไพรให้ดื่มฟรี
- ออกบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยามาจำหน่าย
- จัดกิจกรรมสาธิตการปรุงอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- จัดกิจกรรมบริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย
- จัดกิจกรรมเสวนาเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดยผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- มีอย่างพันธุ์พืชผัก พร้อมบรรยายสรรพคุณทางยาจำนวน 20 ตัวอย่าง
- บริการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์จำนวน 1 ตู้ ผู้สนใจสามารถนำไปทำเองที่บ้านได้
- มีบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาจำนวน 6 ร้านค้า
- จัดกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- บริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย จำนวน 2 ราย
- จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้ และมีคุณ วรภัทร ไผ่แก้ว เป็นผู้ดำเนินรายการ
ผลตามแผน
- ผู้สนใจสามารถศึกษาสรรพคุณทางยาของอาหารได้อย่างหลากหลาย
- ผู้ใช้บริการอบสมุนไพรฟรี สามารถนำวิธีการทำตู้อบแบบประยุกต์ไปทำเองที่บ้านได้ และสามารถชื่อสมุนไพรเพื่อนำไปใช้ได้
- ผู้บริโภคสามารถหาซื้ออาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาได้
- ผู้สนใจกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ สามารถนำเมนูกลับไปปรุงเองที่บ้านได้
- มีอย่างพันธุ์พืชผัก พร้อมบรรยายสรรพคุณทางยาจำนวน 20 ตัวอย่าง
- บริการอบสมุนไพรฟรี โดยใช้ตู้อบแบบประยุกต์จำนวน 1 ตู้ ผู้สนใจสามารถนำไปทำเองที่บ้านได้
- มีบูทจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน ผักพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยาจำนวน 6 ร้านค้า
- จัดกิจกรรมสาธิตเมนูการปรุง น้ำพริกปลาทูให้เป็นอาหารโภชนาการดีเพื่อสุขภาพ และเปิดให้ชิมฟรี
- บริการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อรักษาโรค โดยผู้เชี่ยวชาญทางแพทย์แผนไทย จำนวน 2 ราย
- จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้สนใจเรื่อง "การรับประทานอาหารให้เป็นยา" โดย ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับพืชพื้นบ้านในภาคใต้ และมีคุณ วรภัทร ไผ่แก้ว เป็นผู้ดำเนินรายการ
- มีการเรียนรู้ และเกิดการแลกเปลี่ยนความเกียวกับ "การรับประทานอาหารให้เป็นยา"
ผลที่เกิดขึ้นจริงผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ. มีความประทับใจอย่างมาก
- เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืช ผัก ซึ่งเป็นอาหารที่สามารถหาได้ง่ายในชีวิตประจำวัน โดยผู้สนใจจำนวนมากเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพไปรับประทาน ทำให้อาหารหลายๆเมนูหมดเร็วตั้งแต่เวลา 5 โมงเย็น
- มีผู้ใช้บริการอบสมุนไพรฟรี และนวดเพื่อสุขภาพรวมกันจำนวน 53 รายส่วนใหญ่มีความประทับใจ รู้สึกสดชื่น ผ่อนคลายมาก เพราะผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นพนักงานออฟฟิศ
- มีผู้สนใจเมนู น้ำพริกปลาทูเพื่อสุขภาพจำนวนมาก หลายท่านจดจำสูตรนำกลับไปทำเองที่บ้าน
ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้ใช้บริการหลายท่านมีความเห็นว่า เป็นกิจกรรมที่ดีมาก อยากให้จัดกิจกรรมลักษณะนี้สม่ำเสมอ โดยเฉพาะการนวดเพื่อสุขภาพ
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
10,200.00 |
0.00 |
861.00 |
6,980.00 |
0.00 |
0.00 |
18,041.00 |
|
5 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 ธันวาคม 2557 22:12:39Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 31 มกราคม 2558 08:46:41 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายเกษตรกรแจกต้นกล้าผักสวนครัว ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้รับประทาน
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร่วมทำทำความดีถวายพ่อหลวง และร่วมกันจุดเทียนชัยถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรรษา
กิจกรรมตามแผน
- ดำเนินการประชาสัมพันธ์รับบริจากกล้าไม้และผักสวนครัว จากผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกร
- ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้บริการทราบถึงกิจกรรมแจกพันธุ์กล้าไม้ได้ทราบล่วงหน้าหนึ่งอาทิตย์
- จัดทำนิทรรศการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
- จัดเตรียมสถานที่เพื่อจัดวาง และแจกพันธุ์กล้าไม้ให้กับผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
- จัดกิจกรรมจุดเทียนชัยถวายพระพรพระเจ้าอยู่หัว
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- ผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันนำพันธุ์กล้าไม้ที่เพาะชำไว้มาแจกประกอบด้วย พันธุ์พืชพื้นเมือง พันธ์ผักสวนครัว พันธุ์สมุนไฟร จำนวนมากกว่า 500 ต้น นำมาแจกจ่ายให้กับผู้ใช้บริการตลาดเกษตร
- ตลาดเกษตร ม.อ.ติดต่อรับพันธุ์ ต้นพะยอม และต้นตะเคียน จากศูนย์เพาะชำกล้าไม้จังหวัดสงขลา จำนวน 150 ต้นมาแจกจ่ายสำหรับผู้สนใจ
- ผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการร่วมกันจุดเทียนชัยถวายพระพรพระเจ้าอยู่หัว
ผลตามแผน
- มีพันธุ์กล้าไม้จากผู้ประกอบการในตลาดเกษตรไม่น้อยกว่า 200 ต้น เพื่อนำมาแจกจ่ายให้ผู้ใช้บริการ
- มีผู้ใช้บริการไม่น้อยกว่า 200 คนขอรับพัธุ์พืชผักกล้บไปปลูก
- ผู้ประกอบการและผู้ใช้บริการร่วมกันถวายพระพรพระเจ้าอยู่หัว
ผลที่เกิดขึ้นจริงเวลา 15.00 เริ่มแจกต้นไม้ฟรี โดยมีพันธุ์กล้าไม้จากผู้ประกอบการ จำนวนมากว่า 650 ต้นมาแจกจ่ายให้ผู้ใช้บริการตลาดเกษร ม.อ. ทำให้รับรู้สึกดีได้พันธุ์กล้าไม้กลับไปปลูกและได้ดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนผู้ประกอบการก็รู้สึกดีมีความภูมิใจที่ได้ร่วมกันทำความดีถวายในหลวง
ในเวลา 19.00 น. ผู้ประกอบการและผู้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจุดเทียนชัยถวายพระพร และพร้อมเพรียงกันร้องเพลงสดุดีมหาราชา
ปัญหา/แนวทางแก้ไขเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์มาก ควรจัดเป็นประจำทุกปี
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
7,400.00 |
0.00 |
0.00 |
1,161.00 |
0.00 |
0.00 |
8,561.00 |
|
5 ธันวาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 5 ธันวาคม 2557 23:50:49Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:50:01 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า สำหรับสัปดาห์นี้ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ผู้จำหน่ายทุกรายใส่เสื้อสีเหลือง และร่วมกันนำพันธุ์พืชผักสวนครัวมาแจกให้กับผู้ใช้บริการในตลาดด้วย
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2557 19:14:31Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 10 พฤษภาคม 2558 18:59:17 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผนจัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผนผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 2 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2557 18:49:32Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:49:52 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 13 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2557 20:52:47Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 31 มกราคม 2558 08:46:04 น. |
ชื่อกิจกรรม : ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
ตรวจสารบอแรกซ์
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อจัดกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคตระหนักผลเสียของสารปนเปื้อนและทราบวิธิการตรวจหาสารตกค้าง(สารบอแรกซ์)ในอาหารได้
- เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้ออาหารในตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผน
- จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับโทษ ชนิดของอาหารที่อาจมีสารบอแรกซ์
- สุ่มตรวจสินค้าในตลาดเกษตรม.อ.
- สาธิต วิธีการตรวจสารบอแรกซ์ด้วยชุดทดสอบอย่างง่าย (Test Kit) แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้ที่สนใจ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงให้ความรู้ เรื่องสารบอแรกซ์ โดยการแจกแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์โดยการจัดทำไวนิล และเสียงตามสาย แก่ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้ที่สนใจ มีการสาธิตวิธีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารโดยการสุ่มอาหารตัวอย่าง ในตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 20 ตัวอย่าง การจัดแสดงอาหารตัวอย่างที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารบอแรกซ์ และผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.สามารถนำอาหารในตลาดเกษตร ม.อ. มาตรวจหาสารตกค้างในอาหารได้
ผลตามแผน
ผลที่เกิดขึ้นจริงจากการสุ่มตรวจสารบอแรกซ์ในอาหาร ตลาดเกษตร ม.อ. พบว่า ทั้ง 20 ตัวอย่าง ไม่พบสารบอแรกซ์ตกค้าง ทำให้ลูกค้ามั่นใจในการเลือกซื้ออาหาร ตลาดเกษตร ม.อ. และในอนาคตจะมีการสุ่มตรวจ เพื่อรักษาระดับคุณภาพอาหารปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อนและพัฒนาให้อาหารมีคุณภาพดียิ่งขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไขมีผู้สนใจจำนวนมากเนื่องจากเป็นเรื่องใกล้ตัว และทุกคนต่างตระหนักในการเลือกซื้ออาหาร อยากให้มีกิจกรรมแบบนี้อีกเรื่อยๆ
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
6,500.00 |
0.00 |
0.00 |
1,292.00 |
0.00 |
0.00 |
7,792.00 |
|
21 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2557 20:58:32Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:49:36 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
- เพื่อเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าของเกษตรกร ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงผู้ผลิตได้โดยตรง
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์-เพื่อสร้างเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลา นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกัวศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่าพื้นที่
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
17 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:30 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2557 18:30:48Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 มกราคม 2558 11:04:48 น. |
ชื่อกิจกรรม : สำรวจร้านอาหารโภชนาการดี
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจร้านอาหารที่มีโภชนาการดีสำหรับการติดสัญญาณไฟโภชนาการสีเขียว และเป็นการส่งเสริมการเลือกรับประทานอาหารตามโภชนาการ
กิจกรรมตามแผนดำเนินการออกแบบสอบถามและจัดสำรวจข้อมูลรายละเอียดสินค้าอาหารโภชนาการดี และทำการส่งข้อมูลรายเอียดเพื่อนำไปวิเคราะห์ค่าโภชนาการของอาหารแต่ละเมนู
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงดำเนินการสำรวจจัดเก็บข้อมูลร้านค้าในตลาดเกษตร ม.อ.จำนวน 45 ร้านค้า
ผลตามแผนได้เมนูอาหาร และรายละเอียดส่วนประกอบทั่งหมด เพื่อสามารถส่งต่อให้นักโภชนาการอาหารวิเคราะโภชนาการอาหารได้
ผลที่เกิดขึ้นจริงผู้ประบอกการให้ความร่วมเป็นอย่างดี สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนและได้ทำการส่งข้อมูลต่อไปยังนักโภชนาการแล้ว
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2557 17:29:10Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:49:23 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
กิจกรรมตามแผนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลา นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกัวศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่าพื้นที่
ผลตามแผนเกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูง และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
12 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2557 11:44:44Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ธันวาคม 2557 00:16:13 น. |
ชื่อกิจกรรม :
สำรวจข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร
สำรวจข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
กิจกรรมตามแผนดำเนินการสำรวจข้อมูลรายละเอียดกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรในตลาดเกษตรม.อ. ประเภทสินค้าเกษตรที่ผลิตได้ พื้นที่การเพาะปลูก ปริมาณยอดขายต่อปีของเกษตรกรแต่ละรายที่จัดส่งมาจำหน่ายยังตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดทำแบบสำรวจส่งให้เกษตรกรเก็บรายละเอียดข้อมูลรายละเอียดเครือข่ายของตนเองให้มีข้อมูลรายละเอียดครบถ้วน โดยในการจัดเก็บครั้งนี้ ประกอบด้วยเครือข่ายเกตรกรในตลาดเกษตร ม.อ.จำนวน 30 เครือข่าย และเกษตรกรในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 10 เครือข่าย
ผลตามแผนสามารถเก็บข้อมูลรายละเอียดได้ครบถ้วนทุกเครือข่าย
ผลที่เกิดขึ้นจริงเกษตรกรให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูล
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
7 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2557 16:54:30Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:49:10 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลา นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า
ผลตามแผน
- เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอกขายที่สูง และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรงไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
6 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2557 09:47:21Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 24 มีนาคม 2558 08:30:32 น. |
ชื่อกิจกรรม : ลานเรียนรู้สุขอนามัยการล้างมือ
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักเรียนและผู้ร่วมกิจกรรมตระหนักและให้ความสำคัญของการล้างมือถูกวิธี
- เพื่อให้ความรู้และเสริมทักษะการเรียนรู้การผลิตน้ำยาอเนกประสงค์เพื่อนำไปใช้ในการเกษตรปลอดสารเคมีและใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อให้ตลาดเกษตร ม.อ.เป็นศูนย์รวมในการแลกเปลี่ยนเรี
กิจกรรมตามแผน
ช่วงเช้า เวลา 9.30 น. - 12.00 น. เครือข่ายเยาวชนนักเรียนจากโรงเรียน มอว.จำนวน 50 คน เข้าร่วมกิจกรรม การล้างมืออย่างถูกวิธีและการทำน้ำยาอเนกประสงค์
ช่วงบ่าย เวลา 13.00 น. - 15.00 น. บุคลากรคณะทรัพยากรธรรมชาติจำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรม การล้างมืออย่างถูกวิธีและการทำน้ำยาอเนกประสงค์
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- ช่วงเช้า นักเรียนจาก โรงเรียน มอว. จำนวน 50 คน
เวลา 9.00 น.ทำพิธีเปิดและบรรยายให้ความรู้เกียวกับอันตรายของเชื่อโรคที่สามารถอาศัยอยู่บนมือมนุษย์
เวลา 10.00 น.เริมกิจกรรมฐาน โดยการแบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม เพื่อเข้ากิจกรรมฐานเรียนรู้ ดังนี้
1.ล้างมือทำมัย? สอนการล้างมืออย่างถูกวิธี 7 ขั้นตอน
2.การผลิตนำยาอเนกประสงค์จากเปลือกสับปะรด โดยใช้สูตร 1:1:5:10(N70:เกลือ:น้ำหมักชีวภาพ:น้ำ) เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากเปลือกสับปะรด โดยใช้สูตร 3:1:5 (ผลไม้:น้ำตาลทราย:น้ำ) เพื่อนำไปใช้ในการเกษตรปลอดสารเคมีและใช้ในชีวิตประจำวัน
และมีการแทรกกิจกรรมการทำตู้เย็นธรรมชาติ(น้ำแข็ง แข็งคารู)
- ช่วงบ่าย บุคลากรคณะทรัพยากรธรรมชาติ 30 คน
เวลา 13.00 น.เข้าร่วมกิจกรรมฐาน โดยการแบ่งบุคลากรเป็น 3 กลุ่ม เพื่อเข้ากิจกรรมฐานเรียนรู้ ดังนี้
1.ล้างมือทำมัย? สอนการล้างมืออย่างถูกวิธี 7 ขั้นตอน
2.การผลิตนำยาอเนกประสงค์จากเปลือกสับปะรด โดยใช้สูตร 1:1:5:10(N70:เกลือ:น้ำหมักชีวภาพ:น้ำ) เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากเปลือกสับปะรด โดยใช้สูตร 3:1:5 (ผลไม้:น้ำตาลทราย:น้ำ) เพื่อนำไปใช้ในการเกษตรปลอดสารเคมีและใช้ในชีวิตประจำวัน
เวลา 14.30 ร่วมสรุปบทเรียนจากกิจกรรมต่างๆ
ผลตามแผนนักเรียนเละบุคลากรคณะทรัพยากรธรรมชาติมีความตระหนัก และ ให้ความสำคัญกับการล้างมืออย่างถูกวิธี สามารถนำความรู้ได้จากการผลิตน้ำยาอเนกประสงค์ การผลิตหมักชีวภาพ ไปใช้ในการเกษตรปลอดสารเคมี , ใช้ในชีวิตประจำวัน,ใช้ที่โรงเรียน/หน่วยงาน และสามารถนำไปบอกต่อกับผู้อื่นได้
ผลที่เกิดขึ้นจริงนักเรียนและผู้เข้าร่วมให้ความสนใจและตั้งใจเรียนรู้วิธีการล้างมือ การผลิตนำหมักชีวภาพ และน้ำยาอเนกประสงค์อย่างมาก บุคลากรหลายท่านให้ความสนใจที่จะนำวีธีการผลิตนำหมักชีวภาพและนำยาอเนกประสงค์ไปปฏิบัติที่บ้าน/หน่วยงาน
ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้เข้าร่วมสนใจเป็นอย่างมาก และอยากให้จัดกิจกรรมดีๆเช่นนี้อีก
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
7,200.00 |
0.00 |
2,951.65 |
4,426.00 |
0.00 |
0.00 |
14,577.65 |
|
31 ตุลาคม 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2557 10:59:57Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 13:48:45 น. |
ชื่อกิจกรรม : เครือข่ายตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา
พิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา
พิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา
พิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา
พิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา
พิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา

คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง
เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านสุขภาพของเกษตรกร
กิจกรรมตามแผน
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง และจัดให้มีการตรวจสารพิษตกค้างในร่างการโดยสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
- มีเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 15 เครือข่าย ออกบูทจำหน่ายผลิตภันฑ์ทางการเกษตรที่มีคุณภาพ จัดให้มีแผ่นป้ายอธิบายประโยชน์ของผักแต่ละชนิด จัดให้มีการตรวจเลือดหาสารพิษตกค้างในร่างการของเกษตรกรและผู้สนใจ
ผลตามแผน
- เกษตรกรนำสินค้าที่ตนเองผลิตมาวางจำหน่ายที่บริเวณหน้าตลาดเกษตรทุกวันศุกร์โดยสินค้าไม่ผ่านคนกลาง และผู้บริโภคสามารถติดต่อสอบถามถึงคุณภาพสินค้าได้โดยตรง ผู้บริโภคและเกษตรกรทราบผลการตรวจสารพิษตกค้างในร่างกายทำตระหนักในการไม้ใช้การเคมีในการเพาะปลูก และให้ความสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- วันที่ 31/10/57 เวลา 14.00 น. นายชัยวัฒน์ ศิรินุพงศ์ รองผู้ราชการจังหวัดสงขลาเป็นประธานในพิธีเปิดตลาดนัดเกษตรกร โดยมีเกษตรกรเข้าร่วมจำนวน 15 เครือข่าย ออกบูทจำหน่ายผลิตภันฑ์ทางการเกษตร มีผู้เข้ารับการตรวจเลือดจำนวน 97 ราย เกษตรกรและผู้บริโภคมีความประทับใจตลาดเกษตรกรอย่างมาก เกษตรกรทุกรายมียอดขายสูง
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
27,900.00 |
0.00 |
0.00 |
1,080.00 |
0.00 |
0.00 |
28,980.00 |
|
27 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2557 21:17:49Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 11:25:29 น. |
ชื่อกิจกรรม : โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
โครงการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ตลาดเกษตร ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์จัดตั้งลานเรียนรู้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนการสมวัย รวมถึงเพิ่มพูนทักษะด้านต่างๆ สำหรับเยาวชน นักศึกษาและผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผนกำหนดพื้นที่จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์บริเวณหน้าตลาดเกษตร ม.อ. ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจสวยและดำเนินจัดกิจกรรมต่างๆ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงจัดพื้นที่ลานเรียนรู้โดยมี หนังสือ ชุดวาดเขียนระบายสี หมากหลุม หมากฮอส ชุดปั้นดินเผา แผ่นป้ายเกี่ยวกับผักผลไม้พร้อมคุณประโยชน์ แผ่นป้ายเกี่ยวกับการสวมหมวกและผ้ากันเปื้อน โตะเก้าอี ต้นไม้ตกแต่ง และดำเนินจัดกิจกรรม การประดิษฐ์ดินปั้นเป็นรูปต่างๆ การล้างมือให้วิธี การวาดรูปและใช้แม่พิมพ์จากวัสดุธรรมชาติ การผลิตนำหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตรปลอดสารพิษและสำหรับครัวเรือน
ผลตามแผนผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ. ให้ความสนใจเข้ามาใช้พื้นที่ลานเรียนรู้ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการบริโภคผัก ความสำคัญของการสวมหมวกและผ้ากันเปื้อนในขั้นตอนการผลิตอาหาร การล้างมืออย่างถูกวิธีเพื่อให้มือปลอดเชื้อโรค
ผลที่เกิดขึ้นจริงลานเรียนรู้เป็นแหล่งเรียนรู้อย่างดี มีผู้ใช้บริการตลาดเกษตรม.อ.จำนวนมากให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทุกกิจกรรม
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
18,900.00 |
0.00 |
0.00 |
7,997.00 |
0.00 |
278.00 |
27,175.00 |
|
24 ตุลาคม 2557 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2557 10:50:32Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 5 มกราคม 2558 09:50:55 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผนจัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกค้าค้าร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาด ครั้งนี้มีความพิเศษกว่าปกติคือทุกร้านค้าย้ายของออกจนหมดเพื่อทำความสะอาด และมีรถฉีดน้ำมาร่วมทำความสะอาดด้วย
ผลตามแผนผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ผลที่เกิดขึ้นจริงวันที่ 24/10/57 เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าขนย้ายบูทจำหน่ายสินค้าออกนอกพื้นที่ตลาดเกษตรม.อ. และร่วมกันเช็ดล้างพื้นบริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบ
และวันที่ 26/10/57 เวลา 9.00 น. เจ้าหน้าที่ใช้รถดับเพลิงเพื่อฉีดทำความสะอาดตลาดเกษตร ม.อ. อีก1รอบ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
9 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย hamidaเมื่อ 16 มีนาคม 2558 14:10:52Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 16 มีนาคม 2558 14:11:11 น. |
ชื่อกิจกรรม : ประชุมร่วมกับ สจรส.ม.อ.
คุณภาพกิจกรรม : 1วัตถุประสงค์-
กิจกรรมตามแผนสจรส.ม.อ.จัดประชุม เพื่อสร้างการเรียนรู้และทำความเข้าใจในกิจกรรมของแต่ละแผนงาน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงสจรส.ม.อ.จัดประชุม เพื่อสร้างการเรียนรู้และทำความเข้าใจในกิจกรรมของแต่ละแผนงาน
ผลตามแผน-
ผลที่เกิดขึ้นจริง-
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
26 กันยายน 2557 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2557 09:36:52Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 30 มกราคม 2558 02:42:53 น. |
ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมตามแผนจัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงเวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกค้าค้าร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นบริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้ารอบร้านค้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.
ผลตามแผนผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้ามีความสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ ไม่มีการสะสมของเศษอาหาร เชื่อโรค และสิ่งสกปรกในบริเวณพื้นที่ตลาดเกษตร ม.อ.
ผลที่เกิดขึ้นจริงเวลา 19.00 -19.45 น. ผู้ประกอบการจำนวน 170 ร้านค้าร่วมกันทำความสะอาดบูทสินค้าของต้นเอง และร่วมมือกันล้างบริเวณพื้นตลาดทั่งหมด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|
24 กันยายน 2557 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 27 ตุลาคม 2557 10:53:51Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 20 มีนาคม 2558 10:27:21 น. |
ชื่อกิจกรรม : โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ

โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
โภชนาการอาหาร เทศการกินเจ
คุณภาพกิจกรรม : 3วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้บริโภคอาการเจในเทศการกินเจ ทราบวิธีการเลือกรับประทานอาหารเจที่มีประโยชน์ดีต่อสุขภาพ
เพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารเจแต่ละชนิดที่รับประทานในช่วงเทศการลกินเจ และรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
กิจกรรมตามแผน
จัดพื้นที่จำหน่ายอาหารเจ สำหรับผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ.
จัดนิทรรศการให้ความรู้เกียวกับวิธีการเลือกซื้ออาหารเจไปรับประธาน และนิทรรศการโภชนาการอาหารแต่ละประเภท
จัดให้มีตัวอย่างอาหารเจและแสดงการคำนวนโภชนาการอาหารแต่ละชนิด
มีพิธีกรช่วยสร้างความน่าสนใจ และสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้บริโภค
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
จัดพื้นบริเวณโดมกิจกรรมหน้าตลาดเกษตร ม.อ. สำหรับผู้ประกอบการ จำนวน 10 ร้านค้า
จัดกิจกรรมให้ความรู้ โดยเข้าถึงผู้บริโภคที่มาเลือกรับซื้ออาหารเจ จำนวน 4 แผ่นป้าย เกี่ยวกับวิธีการเลือกรับประทานอาหารเจอย่างไรไม่ให้อ้วน/คุนค่าของผักและธัญพืชแต่ละชนิด/การเลือกรับประทานให้ได้คุณค่าอาหารครบห้าหมู่/ความเป็นมาและประโยชน์ของการรับประทานอาหารเจ
มีตัวอย่างอาหารเจและแสดงการคำนวนโภชนาการอาหารแต่ละชนิด
ผลตามแผน
ผลที่เกิดขึ้นจริง
- มีผู้จำหน่ายประสงค์เข้าร่วมมากกว่า 13ร้านค้า มีผู้บริโภคจำนวนมากเดินชมบูทกิจกรรมให้ความสนใจเลือกซื้อรับประทานอาหารเจ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
- มีผู้สนใจเข้าชมและร่วมกิจกรรมจำนวนมาก ควรจัดนิทรรศการดีๆแบบนี้ขึ้นอีก
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
16,000.00 |
848.00 |
0.00 |
4,955.00 |
0.00 |
0.00 |
21,803.00 |
|
15 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่ โพสท์โดย พงศ์เทพเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2557 09:28:14Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 มกราคม 2558 10:00:05 น. |
ชื่อกิจกรรม : ประชุมวางแผนงานภาพรวม
คุณภาพกิจกรรม : 4วัตถุประสงค์เพื่อวางกรอบแนวทางการทำงาน
เพื่อกำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะดำเนินการในอุทยานอาหารตลาดเกษตร ม.อ.
กิจกรรมตามแผนกำเนินการประชุมวางกรอบแนวทางการทำกิจกรรม
และกำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะดำเนินการ
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริงพนักงานและผู้บริหารคณะทรัพยากรธรรมชาติจำนวน 7 คนร่วมกันประชุมวางกรอบแนวทางการทำกิจกรรม
และกำหนดโครงร่างลักษณะกิจกรรมที่จะดำเนินการระหว่าง 1 กันยายน 2557 - 31 ตุลาคม 2558
ผลตามแผนทำการประชุมหารือแลกเปลี่ยนแนวทางการจัดกิจกรรมในปีที่ผ่านมาเพื่อปรับปรุง พร้อมทั่งสรุปแนวทางการทำงานที่จะปฏิบัติ เพื่อกำหนดให้เป็นกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง
ผลที่เกิดขึ้นจริงได้วางกรอบแนวทางการทำกิจกรรม วิธีการแนวทางการทำกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะดำเนินการดังนี้
1.การ Mapping พื้นที่การผลิตดพื่อยกระดับการรวมกลุ่มเกษตรกรในระดับชุมชน
2.พัมนาการรวมกลุ่ม สร้างความเข็มแข็งให้เกษตรกร โดยการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์,ธนาคารขยะ
3.พัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยกับผู้บริโภค
4.ส่งเสริมการรับประทานอาหารตามโภชนาการของผู้บริโภคด้วยการติดสัญญาณไฟโภชนาการ
5.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค
6.จัดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดนิทัศการความรู้ในประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
7.การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและสุขภาพของเกษตรกร
ปัญหา/แนวทางแก้ไข-
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่าย | รวมรายจ่าย |
---|
ค่าตอบแทน | ค่าจ้าง | ค่าใช้สอย | ค่าวัสดุ | ค่าสาธารณูปโภค | อื่น ๆ |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
0.00 |
|