การดำเนินงานของอุทยานอาหารตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

แผนงานอาหารปลอดภัย

by dezine @September,22 2014 11.19 ( IP : 202...129 )
รายละเอียดโครงการ
ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-005
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ การดำเนินงานของอุทยานอาหารตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชุดโครงการ แผนงานอาหารปลอดภัย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรภัทร ไผ่แก้ว
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2557 - 31 ตุลาคม 2558
งบประมาณ 600,000.00 บาท
พี่เลี้ยงติดตามสนับสนุนโครงการ
  • wannawanna(Trainer)
  • dezinedezine(Owner)
  • kemineekeminee(Owner)
  • worapatworapat(Owner)
  • kanjanakanjana(Owner)
  • พงศ์เทพพงศ์เทพ(Owner)
  • hamidahamida(Owner)
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ

เป็นพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบด้านอาหารปลอดภัยในลักษณะอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ

กิจกรรมสำคัญ

1.การ Mapping พื้นที่การผลิตดพื่อยกระดับการรวมกลุ่มเกษตรกรในระดับชุมชน

2.พัมนาการรวมกลุ่ม สร้างความเข็มแข็งให้เกษตรกร โดยการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์,ธนาคารขยะ

3.พัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัยกับผู้บริโภค

4.ส่งเสริมการรับประทานอาหารตามโภชนาการของผู้บริโภคด้วยการติดสัญญาณไฟโภชนาการ

5.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค

6.จัดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดนิทรรศการความรู้ในประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย

7.การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและสุขภาพของเกษตรกร

กลุ่มเป้าหมาย

ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. เกษตรกรผู้ส่งผลผลิตมาขายยังตลาดเกษตร ม.อ. ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.

พื้นที่ดำเนินการ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สถานภาพโครงการ ดำเนินการเสร็จสิ้น

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 09:46:00
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2558 10:21:12 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทำการจัดเก็บข้อมูล และการรายงานผล
  • เพื่อจัดทำรายการบัญชีการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการ

กิจกรรมตามแผน

  • กำหนดงบประมาณ,จ่าย,จัดเก็บข้อมูล,สรุปข้อมูลการใช้จ่ายงบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม
  • วางแผนการดำเนินงสาง,จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด,ภ่ายภาพ,รายงานผลประปฎิบัติงานลงใน www.http://consumersouth.org

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • กำหนดงบประมาณ ประมาณการในแต่ละกิจกรรม พร้อมกำหนดการใช้จ่าย
  • จัดเก็บรวบรวมบิลรายจ่าย
  • จัดทำข้อมูลสรุปการใช้จ่ายในแต่ละกิจกรรม.
  • ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดกิจกรรม และภาพถ่ายใน แต่ละกิจกรรม
  • ลงบันทึกในระบบรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในทุกกิจกรรมลงบน  www.http://consumersouth.org 

ผลตามแผน

  • สารถมารถวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณได้เพียงพอ และตรงกับความต้องการใช้จ่ายจริง
  • จัดเก็บบิลรายการใช้จ่าย พร้อมสรุปการใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
  • จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด ถ่ายภาพ ในทุกกิจกรรมที่จัด
  • รายงานผลการจัดกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณได้เพียงพอ และตรงกับความต้องการใช้จ่ายจริง
  • ได้จัดเก็บบิลรายการใช้จ่าย พร้อมสรุปการใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
  • ได้จัดเก็บข้อมูลรายละเอียด ถ่ายภาพ ในทุกกิจกรรมที่จัด และรายงานผลการจัดกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรมลงใน www.http://consumersouth.org

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
32,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 32,000.00
28 กันยายน 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:14:00
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:23:53 น.

ชื่อกิจกรรม : ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
  • ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม

กิจกรรมตามแผน

  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมีนาคม รับซื้อในวันที่ 25/5/58 ตั้งแต่เวลา 10.30 - 18.00 น. (เพิ่มวันรับฝากพิเศษ)
  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ในวันที่ 28/10/58 ได้จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 230 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 1023 กิโลกรัม

  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,300.00
25 กันยายน 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:51:52
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:19:56 น.

ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
  • เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรมตามแผน

  • จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
    บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 1 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,300.00
25 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 18:00:03
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:17:59 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,000.00
18 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:59:38
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:17:15 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,000.00
11 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:58:35
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:16:24 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
4 กันยายน 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:58:03
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:07:16 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
11 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 28 สิงหาคม 2558 11:10:03
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 11:05:17 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมิณหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านค้าในงานเกษตรภาคใต้ และตรวจสารพิษตกค้างในเลือด

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับประทานอาหารที่ถูหลักสุขาภิบาลอาหาร
  • เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการตระหนัก และให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาล
  • เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกร และผู้เข้าชมงานเกษตรภาคใต้

กิจกรรมตามแผน

  • ดำเนินการประเมิณการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารในงานเกษตรทุกร้านค้า โดยสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่
  • ประกาศผลการประเมิณร้านจำหน่ายที่ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับ พร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร
  • ตรวจเลือดหาสารตกค้างในกระแสเลือดเกษตรกร ผู้ผู้สนใจจำนวน 100 ท่าน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ๋ ดำเนินการประเมิณการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้านจำหน่ายอาหารในงานเกษตรทุกร้านค้า
  • คณะทรัพยากรธรรมชาติ ประกาศผลการประเมิณร้านจำหน่ายที่ปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลได้คะแนนสูงสุด 3 อันดับ พร้อมมอบรางวัลและเกียรติบัตร
  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ ตรวจเลือดหาสารตกค้างในกระแสเลือดเกษตรกร ผู้ผู้สนใจจำนวน 100 ท่าน

ผลตามแผน

  • ร้านจำหน่ายสินค้าทุกร้านค้าให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามหลักสุขภิบาลอาหาร
  • เกษตรกรและผู้สนใจเข้าร่วมตรวจเลือดตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • มีเกษตรกรและผู้สนใจเข้าร่วมตรวจหาสารตกค้างในกระแสเลือดจำนวน 85 ราย แบ่งเป็นเกษตรกร 39 ราย และผู้สนใจจำนวน 46 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
9 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:50:43
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 9 ธันวาคม 2558 15:06:11 น.

ชื่อกิจกรรม : โครงการธุรกิจเกษตรชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกพืชผักปลอดสารพิษ สารเคมี ยาฆ่าแมลง และใช้วิธีชีวภาพ ชีมวลในการดูแลพืชผัก
  • เพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้โดยตรง และสามารถเพิ่มมูลค่าผลิตผลของกลุ่มเกษตรกรได้
  • เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงกลุ่มเหษตรกรปลูกฝผั

กิจกรรมตามแผน

  • ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ และยาฆ่าแมลง โดยกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรตลาดเกษตร ม.อ.

  • เปิดให้ผู้คนที่มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้เข้าชมการปลูกพืชแบบปลอดสารเคมี และได้ทราบกรรมวิธีการดูแลจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีธรรมชาติ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
  • เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
    • โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
    • โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
    • โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
    • โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น

ผลตามแผน

  • เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
  • เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
    • โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
    • โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
    • โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
    • โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรกลุ่มเครือข่ายต่างๆ จากหลายพื้นที่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 20 ราย ร่วมกันทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2558
  • เปิดให้ผู้มาเที่ยวงานเกษตรภาคใต้ได้เข้าชมแปลงปลูกพืชผักต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 โซน
    • โซนผักใบและผักอายุสั้น มีการปลูก ผักบุ้ง คะน้า กวางตุ้ง เบบี้ฮ้องเต้ หัวไชเท้า บ็อคช่อย ผักกาดขาว
    • โซนผักสลัด มีการปลูกผักสลัดชนิดต่างๆ เช่น เรดโอ็ค กรีนโอ็ค ผักกาดขาว
    • โซนพืชเถาว์ เช่น มะระขี้นก ดอกไม้จีน แตงกวา ฟักทองญี่ปุ่น ถั่วฝักยาว อัญชันสีขาว สีชมพู บวบ
    • โซนผักพื้นบ้านและผักสวนครัว เช่น ผักกูด ต้นหอม ผักชี พริก บัวบก ฝักชีฝรั่ง กะเพรา โหรพา แมงลัก ใบรา ผักน้ำ ผักหวาน ผักกาดนกเขา ชะอม แครอท ผักหวานป่า จิก เลียบ มะม่วงหินมะพาน ผักเหรียง อ้อย เป็นต้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
5,500.00 6,194.00 25,600.00 51,528.45 0.00 0.00 88,822.45
5 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:39:06
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2558 11:02:07 น.

ชื่อกิจกรรม : ครัวตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อเป็นร้านอาหารโภชนาการดี ใช้ผักปลอดสารพิษที่ปลูกโดยเกษตรกรในเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน รสชาติอาหารไม่เค็ดจัด ไม่หวานจัด ปรุงอาหารโดยไม่ใช้ผงชูรส

กิจกรรมตามแผน

  • คณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับเกษตรกรในธุรกิจเกษตรชุมชน และผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. จัดตั้งครัวตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อเป็นแหล่งอาหารโภชนาการดีแก่ผู้บริโภค โดยมีการดำเนินการในระยะต่างๆกันดังนี้

1.การประชุมเพื่อระดมสมองกำหนดรูปแบบร้านอาหาร

2.ดำเนินการออกแบบสถานที่เพื่อจำหน่ายอาหาร

3.ดำเนินปรับปรุงสถานที่ และก่อสร้างเพิ่มเติมร่วมกับเกษตรกร

4.ประชุมกำหนดเมนูอาหาร คัดเลือกเมนูอาหารและผู้จำหน่ายอาหารโภชนาการดี

5.ตกแต่งสถานที่ให้ดูสวยงาม

6.เปิดดำเนินการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • 18 พษภาคม 2558 ประชุมกำหนดแนวทางการทำร้านอาหารโภชนาการดี

  • 6 มิถุนาคม - 25 กรกฎาคม 2558 ออกแบบและร่วมกันปรับปรุงสถานที่ ก่อสร้างอาคารเพิ่มเติม

  • 26 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2558 ร่วมกันตกแต่งสถานที่

  • 25 กรกฎาคม 2558 กำหนดเมนูอาหาร แหล่งที่มาของสินค้าแต่ละชนิด พร้อมเตรียมอุปกรณ์เครื่องครัว จาน ชาม แก้ว สำหรับใช้ภายในร้าน

  • 5 สิงหาคม 2558 เปิดดำเนินการร้านอาหารเป็นครั้งแรก

ผลตามแผน

  • ครัวตลาดเกษตร ม.อ. ได้เปิดดำเนินการครั้งแรกในวันที่ 5 สิงหาคม 2558 โดยจำหน่ายอาหารโภชนาการดี รสชาติไม่เคฌมจัด ไม่หวานจัด กรรมวิธีการปรุงอาหารปราศจากผงชูรส ใช้ผักปลอดสารพิษจากแปลงธุรกิจเกษตรชุมชนเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ครัวตลาดเกษตร ม.อ.มีอาหารจาจาก 2 แหล่งด้วยกัน คือ 1.ปรุงโดยผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.ที่ผ่านการคัดเลือกว่าเป็นอาหารโภชนาการดี 2.ปรุงโดยพ่อครัวในร้านครัวตลาดเกษตร ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ครัวตลาดเกษตร ม.อ. ได้เปิดดำเนินการครั้งแรกตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม ถึง วันที่ 18 สิงหาคม 2558 ซึ่งเป็นช่วงเวลาการจัดงานเกษตรภาคใต้ ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้มีผู้เข้ามาใช่บริการเป็นจำนวนมาก ครัวตลาดเกษตร ม.อ.ถือเป็นร้านอาหารร้านแรกในจังหวัดสงขลาที่จำหน่ายอาหารโภชนาการดี รสชาติไม่เคฌมจัด ไม่หวานจัด กรรมวิธีการปรุงอาหารปราศจากผงชูรส ใช้ผักปลอดสารพิษ ซึ้งจะเป็นต้นแบบที่จะนำมาปรับปรุงพัฒนาต่อยอดเเพื่อเป็นรานอาหารทางเลือกสำหรับผู้บริโภคในจังหวัดสงขลาในโอกาสถัดไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
13,400.00 0.00 20,730.00 10,153.14 0.00 0.00 44,283.14
31 กรกฎาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:45:46
Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:51:33 น.

ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด

  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
  • เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรมตามแผน

  • จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 15 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
    บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 15 ร้านร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยในครั้งนี้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าได้เครื่อนย้ายโต๊ะและอุปกรณ์ทั้งหมดกลับบ้าน เพื่อคืนพื้นที่ตลาดเกษตร ม.อ.ให้กับคณะทรัพยากรธรรมชาติจัดงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 23

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,300.00
31 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:57:20
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:13:54 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
27 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:40:39
Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:13:38 น.

ชื่อกิจกรรม : การจัดการขยะเป็นเงิน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • จัดตั้งธนาคารขยะธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการให้ความสำคัญกับการแยะขยะ
  • ส่งเสริมให้ผู้จำหน่ายและผู้ใช้บริการมีเงินออม

กิจกรรมตามแผน

  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน สำหรับเดือนมิถุนายน รับซื้อในวันที่ 27/ุ7/58 ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น.
  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • จัดตั้งธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน
  • เปิดให้ผู้จำหน่ายและใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. เปิด บัญชีออมขยะเป็นเงิน กับตลาดเกษตร ม.อ.
  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย
  • จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า เพื่อนำมาฝากยังธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ในวันที่ 27/7/58 ธนาคารขยะตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีการรับฝากขยะในทุกวันจันทร์สุดท้ายของเดือน มีบัญชีจำนวน 232 ราย สามารถรับฝากขยะได้จำนวน 1,100 กิโลกรัม

  • จัดนิทรรศการให้ความรู้ "การจัดการขยะเป็นเงิน" และระยะเวลาความช้า-เร็วของขยะแต่ละประเภท กว่าจะย่อยสลาย และจัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะมีค่า

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,300.00
24 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:56:29
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:13:05 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
17 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:55:59
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:12:15 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
15 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:37:44
Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:33:14 น.

ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการหวานซ่อนพิษ

  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริโภคตระหนักถึงปริมาณนำตาลที่รับประมานในแต่ละวัน และเล็งเห็นถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินความต้องการต่อวัน

กิจกรรมตามแผน

  • จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ใดยการนำเสนอให้ผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ได้เห็นว่า ในเครื่องดื่มแต่ละชนิดที่รับประทานอยู่ในชีวิตประจำวัน มีปริมาณน้ำตาลผสมอยู่กี่ช้อนชา 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ณ โดมกิจกรรมหน้าตลาดเกษตร ม.อ. โดยการน้ำเครื่องดื่มมากกว่า 15 ชนิดมาน้ำเสนอให้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่
  • นำเสนอโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • นำเสนอข้อมูลผลกระทบของการรับประทานผงชูรส

ผลตามแผน

  • ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 517.00 0.00 0.00 0.00 2,817.00
13 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 23 สิงหาคม 2558 16:22:23
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2558 10:32:35 น.

ชื่อกิจกรรม : นิทรรศการหวานซ่อนพิษ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อนำเสนอข้อมูลให้ผู้บริโภคตระหนักถึงปริมาณนำตาลที่รับประมานในแต่ละวัน และเล็งเห็นถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินความต้องการต่อวัน

กิจกรรมตามแผน

  • จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ใดยการนำเสนอให้ผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ.ได้เห็นว่า ในเครื่องดื่มแต่ละชนิดที่รับประทานอยู่ในชีวิตประจำวัน มีปริมาณน้ำตาลผสมอยู่กี่ช้อนชา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดนิทรรศการหวานซ่อนพิษ ณ โดมกิจกรรมหน้าตลาดเกษตร ม.อ. โดยการน้ำเครื่องดื่มมากกว่า 15 ชนิดมาน้ำเสนอให้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่
  • นำเสนอโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • นำเสนอข้อมูลผลกระทบของการรับประทานผงชูรส

ผลตามแผน

  • ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ผู้ใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ได้ทราบถึงปริมาณน้ำตาลที่ผสมอยู่ในเครื่องดื่มแต่ละชนิด ที่บริโภคอยู่ในชีวิตประจำวัน
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงโทษของการรับประทานน้ำตาลมากเกินปริมาณที่ควรบริโภคต่อวัน(ไม่เกิน 6 ช้อนช้า)
  • ผู้บริโภคได้ทราบถึงผลกระทบของการรับประทานผงชูรส จากอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 1,110.00 183.00 733.00 0.00 0.00 4,326.00
10 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:55:26
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:11:29 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
3 กรกฎาคม 2558 เวลา 19:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 8 กรกฎาคม 2558 00:13:59
Project owner
แก้ไขโดย keminee เมื่อ 5 ตุลาคม 2558 16:49:55 น.

ชื่อกิจกรรม : ล้างตลาด

  • photo ล้างตลาดล้างตลาด
  • photo ล้างตลาดล้างตลาด
  • photo ล้างตลาดล้างตลาด
  • photo ล้างตลาดล้างตลาด

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทำความสะอาดเกษตร ม.อ.ตามมาตราฐานหลักสุขาภิบาลตลาดเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
  • เพื่อสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในการรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

กิจกรรมตามแผน

  • จัดให้ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาดทุกวันศุกร์สิ้นเดือนเป็นประจำทุกเดือน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เวลา 19.00 ผุ้ประกอบในตลาดเกษตรจำนวน 170 ร้าน และผู้ประกอบการในตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 13 ร้านร่วมกันเช็ดล้างบูทจำหน่ายสินค้า ร่วมถึงพื้นที่บริเวณที่จำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • ผู้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันล้างตลาด
    บูทจำหน่ายสินค้ามีทุกร้านค้าสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เวลา 19.00 ผุ้ประกอบการทุกร้านค้าร่วมกันเช็ดล้างพื้นที่บริเวณจำหน่าย บริเวณทางเท้า และบริเวณโดยรอบตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีเครื่องฉีดน้ำแรงดันจำนวน 2 เครื่องเป็นอุปกรณ์ช่วยทำความสะอาด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,300.00 0.00 0.00 1,663.00 0.00 0.00 3,963.00
3 กรกฎาคม 2558 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยkemineekemineeเมื่อ 5 ตุลาคม 2558 17:54:52
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 6 ตุลาคม 2558 18:10:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ตลาดนัดเกษตรกร จังหวัดสงขลา ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาการรวมกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัดสงขลา
  • เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร และเป็นพื้นที่จำหน่ายสินค้าผลผลิตของเกษตรกร ที่ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงเกษตรกรได้โดยตรง

กิจกรรมตามแผน

  • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาและตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกันจัดตั้งตลาดนัดเกษตรกรจังหวัดสงขลา ในชื่อ farmer market เพื่อเป็นสถานที่จำหน่ายสินค้าทางการเกษตรของกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรภายในจังหวัด ให้สามารถขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคก้สามารถชื่อสินค้าที่มีคูณภาพจากเกษตรกรได้โดยตรง โดยได้กำหนดให้พื้นที่ด้านหน้าตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นตลาดนัดเกษตรกร ในทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เครือข่ายเกษตรกรจังหวัดสงขลาจำนวน 18 ราย นำสินค้าเกษตรของเครือข่ายมาจำหน่ายในทุกวันศุกร์ โดยไม่ต้องชำระค่าเช่า

ผลตามแผน

  • เกษตรกรสามารถจำหน่ายสินค้าได้ราคา มียอดขายที่สูงช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร และผู้บริโภคสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ได้สินค้าที่สดใหม่มีคุณภาพ ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรไม่ต้องซื้อสินค้าผ่านพ่อค้าคนกลาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรแต่ละรายมียอดขายสูง ส่วนผู้บริโภคมีความรู้สึกยินดีที่สามารถซื้อสินค้าได้จากเกษตรกรโดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งถือว่าเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1,500.00
Comment #1
Posted @October,08 2014 10.13 ip : 202...129

ขอเพิ่มเป็นพี่เลี้ยงติดตามสนับสนุน

แสดงความคิดเห็นสำหรับบุคคลทั่วไป (สำหรับพี่เลี้ยงโครงการ กรุณาส่งรายงานพี่เลี้ยง)

กรุณาป้อน Username / Password ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้กับเว็บไซท์แห่งนี้ หรือ สมัครเป็นสมาชิกของเว็บไซท์
Bold Italic Underline Left Center Right Ordered List Bulleted List Horizontal Rule Page break Hyperlink Text Color :) Quote
คำแนะนำ เว็บไซท์นี้สามารถเขียนข้อความในรูปแบบ มาร์คดาวน์ - Markdown Syntax:
  • วิธีการขึ้นบรรทัดใหม่โดยไม่เว้นช่องว่างระหว่างบรรทัด ให้เคาะเว้นวรรค (Space bar) ที่ท้ายบรรทัดจำนวนหนึ่งครั้ง
  • วิธีการขึ้นย่อหน้าใหม่ซึ่งจะมีการเว้นช่องว่างห่างจากบรรทัดด้านบนเล็กน้อย ให้เคาะ Enter จำนวน 2 ครั้ง