ระบบคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศญี่ปุ่น
เขียนโดย คุณอัครพงษ์ เวชยานนท์ สำนักงานคณะกรรมการปฎิรูปกฎหมายนโยบายเกี่ยวกับผู้บริโภคในประเทศญี่ปุ่นปัญหาเกี่ยวกับผู้บริโภคได้เริ่มเป็นประเด็นที่สำคัญในทางเศรษฐกิจและสังคมในช่วงปี ค.ศ. 1950 ถึง 1960 เป็นต้นมา ทั้งนี้ เนื่องจากการเจริญเติบโตอย่างมากในทางเศรษฐกิจ การผลิตสินค้ามีความซับซ้อนมากขึ้น
ศูนย์ผู้บริโภค มหานครกรุงโตเกียว เขี้ยวเล็บของผู้บริโภค
เขียนโดย คุณอัครพงษ์ เวชยานนท์ สำนักงานปฏิรูปกฎหมายศูนย์ผู้บริโภค สำนักงานกรุงโตเกียวมหานครผู้เขียนได้มีโอกาสไปสำนักงานกรุงโตเกียวมหานครอีกครั้งหนึ่ง ในการนี้ นายคาชิบะ เจ้าหน้าที่ดูแลระบบ Metropolitan Consumer Online Information Sytem: MECONIS สำนักงานกรุงโตเกียวมหานคร ได้สรุปให้ผู้เขียนได้รับท
มหากาพย์พลังงานไทยโกงไทย(4) ตอนกลท่อก๊าซ
โดย บัณรส บัวคลี่ธุรกิจก๊าซธรรมชาติเป็นเสาหลักหนึ่งใน 4 เสาของปตท. และนับวันจะยิ่งกลายเป็นพระเอกเพราะปริมาณก๊าซที่พบเพิ่มและการขยายโครงข่ายท่อที่เปรียบเสมือนไฮเวย์พลังงานแม้นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.ปตท.จะเติบโตมาจากสายน้ำมันแต่ก็เคยนั่งดูแลสายงานก๊าซ
สิทธิในการฟ้องร้องบุคลากรทางการแพทย์
ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมามีประเด็นข่าวเกี่ยวกับการออกมาเรียกร้องให้มี การออกกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้เสียหายจากการให้บริการทางการแพทย์ และมีการออกมาประท้วงต่อต้านจากกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์มีการแต่งดำเผา ดอกไม้จันทน์ ฯลฯถามว่าร่างกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้เสียหายจากการให้บริการทางการ แพทย์ท
ใครเสีย ในร่างพ.ร.บ.คุ้มครองความเสียหายฯ
โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์สิทธิของผู้รับหรือซื้อบริการทางสาธารณสุข ในการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายอันเนื่องจากความผิดพลาดของการให้บริการก็ตาม หรือแจ้งความเพื่อให้ดำเนินคดีอาญากับผู้ละเมิดก็ตาม เป็นสิทธิพื้นฐานของมนุษย์ ทั้งเพื่อปกป้องตนเอง และถ้าคิดให้กว้าง ย่อมปกป้องสังคมโดยรวมจากความประมาทเลินเล่ออย่างร
บทเรียนจากสวีเดนต่อไทยเกี่ยวกับการชดเชยความเสียหายจากบริการสาธารณสุข
คาร์ล เอสเพอร์สสันที่ปรึกษากฎหมาย สมาคมประกันสุขภาพแห่งสวีเดนประเทศไทยกำลังพิจารณาว่า จะสร้างระบบชดเชยแก่ผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุขอย่างกว้างขวางหรือไม่ ขณะที่ในปัจจุบัน ผู้ป่วยในประเทศไทยที่หวังว่าจะได้รับค่าชดเชยความเสียหายจากการรักษาพยาบาลไม่มีทางเลือกอื่น ยกเว้นการนำเรื่องขึ้นสู่ศาล ซึ่งจะ