รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 56-ข-017
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 30 กันยายน 2556
1. ชื่อโครงการ อาหารเป็นยาสมุนไพร: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา (Food as herbal medicine: A case study of Songkhla province)
2. รหัสโครงการ รหัสสัญญา 56-ข-017 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2556 - 30 เมษายน 2557
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 พฤษภาคม 2556 ถึงเดือน 30 กันยายน 2556
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. ทบทวนข้อมูลอาหารที่ใช้เป็นยาในการป้องกันและรักษาโรค | วันที่ 1 มิถุนายน 2556 เวลา 00:00วัตถุประสงค์เพื่อสืบค้นข้อมูลและเป็นแนวทางในการสำรวจตำรับอาหารในแต่ละกลุ่มโรคที่ตั้งเป้าไว้ ลักษณะกิจกรรมสืบค้นตำรับอาหารที่ใช้บำบัด รักษา ป้องกัน และเป็นยาบำรุง |
เป้าหมายที่ตั้งไว้1. ประชุมคณะทำงาน 2. สืบค้นข้อมูลอาหารที่ใช้เป็นยาที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและรักษาในด้านต่างๆ ดังนี้ 2.1 อาหารที่ใช้เป็นยาที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและรักษาโรคเรื้อรัง 2.2 อาหารที่ใช้เป็นยาที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและรักษาอาหารที่ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย 2.3 อาหารที่ใช้เป็นยาที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและรักษาอาหารทีใช้เป็นยากลุ่มเฉพาะผลที่เกิดขึ้นรวบรวมข้อมูลได้ประมาณ 60% ของทั้งหมด
ปัญหา/แนวทางแก้ไขในบางกลุ่มโรคยังไม่สามารถค้นหาข้อมูลตำรับอาหารที่ใช้ในการบำบัด ป้องกัน และรักษา ซึ่งอยู่ในระหว่างการสืบค้น ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. ประชุมคณะดำเนินงาน | วันที่ 1 มิถุนายน 2556 เวลา 07:00วัตถุประสงค์เพื่อค้นหาพื้นที่ที่จะทำการลงสำรวจ รวมถึงการติดต่อประสานานกับเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่ ลักษณะกิจกรรมได้ทำการประชุมคณะผู้ดำเนินงานในโครงการ เพื่อทำการวางแผนการดำเนินงาน การคะดเลือกพื้นที่ลงสำรวจ รวมถึงการติดต่อประสานงานในพื้นที่ที่ได้คัดเลือก |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมวางแผนการทำงานและติดตามงานผลที่เกิดขึ้นพบแหล่งที่จะทำการลงพืนที่สำรวจ เช่น ตำบลท่าข้าม อำเภอจะนะ ตำบลชะแล้ ตำบลควนรู อำเภอระโนด อำเภอสิงหนคร เป็นต้น ปัญหา/แนวทางแก้ไขการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ในบางพื้นที่ค่อนข้างซับซ้อน และล่าช้า ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. การค้นคว้าแหล่งผลิตและวิธีการใช้อาหารเป็นยาในการป้องกันและรักษาโรค (ต.ท่าข้าม) | วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เวลา 00:00วัตถุประสงค์เพื่อค้นหาภูมิปัญญาการใช้่อาหารเป็นยาสมุนไพร และ การใช้สมุนไพรเป็นอาหาร เพื่อบำบัดโรค ลักษณะกิจกรรมลงพื้น ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อสำรวจการใช้อาหารเป็นยาสมุนไพร และสำรวจแนวทางเพื่อลงพืื้้นที่จริงต่อไป |
เป้าหมายที่ตั้งไว้1. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ 2. ออกสำรวจชนิดและแหล่งสมุนไพรที่มีตามธรรมชาติ และมีการปลูกในพื้นที่ จ. สงขลา 3. สืบค้นโดยการเก็บข้อมูลปฐมภูมิผลที่เกิดขึ้นพบกลุ่มเป้าหมาย เพื่อที่จะทำการสำรวจริงในครั้งถัดไป ได้พูดคุยกับปราชญ์ชาวบ้านเรื่องการใช้ยาสมุนไพร ในการรักษาโรค และกลุ่มแม่บ้านที่ผลิตเครื่องแกงสมุนไพร ได้วางแผนนัดหมายในการลงพื้นที่จริงเพื่อเก็บข้อมูลในครั้งถัดไป (1 กันยายน 2556) ปัญหา/แนวทางแก้ไขต้องรวบรวมบุคคลที่มีองค์ความรู้ทางอาหาร และการใช้สมุนไพร ในพื้นที่มาร่วมพูดคุย เพื่อหาแนวทางในการสำรวจต่อไป ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
4. จัดทำแบบสำรวจภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น | วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือเพื่อเป็นแนวทางในการสัมภาษณ์และเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูบทีครอบคลุมและครบถ้วนตามเป้าหมาย ลักษณะกิจกรรมลงพื้นที่สัมภาษณ์หมอพื้นบ้านหรือปราชญ์ชาวบ้าน รวมไปถึงผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับอาหารเป็นยาสมุนไพร |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดทำแบบสำรวจที่มีเนื้อหาครอบครุมประเด็นต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลจากพื้นที่เช่น ตำบลท่าข้าม อำเภอจะนะ ตำบลควนรู ตำบลชะแล้ เป็นต้นผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
5. ลงสำรวจพื้นที่ ต.ท่าข้าม | วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อทำการลงพื้นที่ที่ได้กำหนดไว้ในการเก็บข้อมูลอาหารเป็นยาสมุนไพร ลักษณะกิจกรรมทำการลงสำรวจพื้นที่ตำบลท่าข้ามเพื่อเก็บข้อมูลอาหารเป็นยาสมุนไพร |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ลงพื้นที่จริงโดยใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลจากพื้นที่ 1. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ 2. ออกสำรวจชนิดและแหล่งสมุนไพรที่มีตามธรรมชาติ และมีการปลูกในพื้นที่ จ. สงขลา 3. สืบค้นโดยการเก็บข้อมูลปฐมภูมิผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไขหมอพื้นบ้านบางท่าน ไม่ใช่หมอที่มีความชำนาญทางด้านสมุนไพร แต่ชำนาญทางด้านการต่อกระดูกหรือการนวด ทำให้ขาดข้อมูลที่ต้องการ ดังนั้นในการลงพื้นที่ครั้งต่อไป จะต้องประสานงานกับเจ้าหน้าที่ในชุมชนให้ทราบถึงจุดประสงค์ในการสำรวจเพื่อให้ได้หมอพื้นบ้านที่มีเชี่ยวชาญทางด้านสมุนไพร ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
|
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ