รหัสโครงการ 59-00188
สัญญาเลขที่ 59-00-0161
งวดที่ 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุาชนจังหวัดสงขลา
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการ ตำบลควนรู | วันที่ 8 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูโรงเรียนวัดชะแล้ สมาชิก อบต. แกนนำประมงพื้นบ้าน |
ข้อเสนอในการพัฒนาแผนปีที่ 3 1.ทำให้ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์สัตว์ มีความยั่งยืน เพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร 2.ต้องสร้างคนรุ่นใหม่ด้านการเกษตร เพื่อให้มีทายาทการทำเกษตรกรรม 3.ต้องบูรณาการทำงานทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการ ตำบลชะแล้ | วันที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สมาชิก อบต. ผู้แทนสำนักธรรมนูญสุขภาพ |
ข้อเสนอในการพัฒนาแผนปีที่ 3
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมหาความร่วมมือการทำ Matching Model | วันที่ 18 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายกสมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา คณะบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. เกษตรกร กรรมการห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ ผู้แทนห้างอาเซียนพลาซ่า |
การทำ Matching Model ได้รูปแบบการดำเนินงาน 2 แนวทาง คือ 1.ให้กลุ่มเครือข่ายเกษตรกร บริหารจัดการเองทั้งในส่วนการจัดการเรื่องบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การตรวจสอบคุณภาพ และการจำหน่าย 2.ให้คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นหน่วยบริหารจัดการจัดการเรื่องบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การตรวจสอบคุณภาพ และการจำหน่าย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ถอดบทเรียน 1 ไร่ 1 แสน อำเภอสิงหนคร | วันที่ 21 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำถอดบทเรียน 1 ไร่ 1 แสนเกษตรกรรายเก่าจำนวน 2 รายคือ
|
และผลิตที่ได้ได้นำไปจำหน่ายที่ตลาดนัดเกษตรกร ตลาดคน 2 เล และขายที่บ้าน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
พัฒนาโครงการอาหารของแม่ร่วมกับวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีสงขลา | วันที่ 22 มีนาคม 2559 เวลา 11:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำนัดประชุมคณะวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีสงขลามาร่วมพัฒนาโครงการอาหารของแม่ ปีที่ 2 |
คณะวิจัยนำข้อเสนอกลับไปปรับปรุงโครงการอาหารของแม่อีกครั้ง ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมชี้แจงการขับเคลื่อนโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่เทศบาลเมืองสิงหนคร | วันที่ 25 มีนาคม 2559 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำลงพื้นที่พบผู้บริหารท้องถิ่น ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี เจ้าหน้ากองการศึกษา เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการตำบลสิงหนคร ซึ่งเป็นพื้นที่ขยายผลจากตำบลควนรู และตำบลชะแล้ |
ผู้บริหารท้องถิ่นตอบรับการพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
กิจกรรม Summer Big Bonus และตลาดนัดอาหารเพื่อสุขภาพ | วันที่ 26 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.พัฒนาตลาดขายอาหารปลอดภัยในห้างอาเซียนพลาซ่า โดยให้เกษตรกร ได้ออกร้านจำหน่ายอาหารปรุงสุก สินค้า Otop พืชผักผลไม้ ซึ่งมีร้านค้าประมาณ 30 ร้านค้า 2.กิจกรรมเสวนาให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ โดยนายกเหล่ากาชาดจังหวัดสงขลา ผู้บริหารโรงแรมวีแอล ดร.อมาวสี อัมพันศิริรัตน์ นายชัยวุฒิ เกิดชื่น |
1.เกษตรกรเกิดช่องทางที่จะจำหน่ายอาหารปลอดภัยในห้างสรรพสินค้า 2.ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย โภชนาการในครอบครัว การดูแลครอบครัว ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่กระแสสินธุ์และท่าหิน | วันที่ 29 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่ คุณถนอม คงเจียง รองนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลชะแล้ และคุณสมกฤษณ์ มีปิด ปลัดเทศบาลเป็นผู้มาร่วมรับฟังแนวคิด |
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการตำบลรัตภูมิ | วันที่ 30 มีนาคม 2559 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่ โดยผู้บริหารที่เข้ามาร่วมหารือ คือ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ ผอ.ส่วนการศึกษา ผอ.กองสวัสดิการสังคม |
องค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิเป็นพื้นที่ที่มีข้อมูลด้านโภชนาการอยู่แล้ว เนื่องจากเคยมีการเก็บข้อมูลเพื่อเป็นพื้นที่เปรียบเทียบกับพื้นที่ชะแล้และควนรู ผู้บริหารมีความยินดีที่จะให้ทาง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้ามาดำเนินงานต่อเพื่อให้เกิดแผนปฎิบัติการระดับตำบล และได้มอบหมายให้ คุณบุญรักษ์ กิจสกุล ผู้อำนวยการกองการศึกษาในพื้นที่ เป็นผู้รับผิดชอบหลัก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลชะแล้ | วันที่ 5 เมษายน 2559 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำแผนปฏิบัติการปีที่ 3 ตำบลชะแล้ |
เกิดแผนปฏิบัติการปีที่ 3 คือ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลควนรู | วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 09:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำแผนปฏิบัติการปีที่ 3 ตำบลควนรู |
1.1 สำรวจข้อมูลแหล่งผลิตอาหาร (วิธีการ ลงพื้นที่ พิกัดจุด GPS) - นาข้าว อยู่บริเวณไหนบ้าง เป็นนาอินทรีย์ นาเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร - ปศุสัตว์ (ไก่ หมู ปลา วัว) แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร - ผัก อยู่บริเวณไหนบ้าง เป็นผักอินทรีย์ ผักเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร - ผลไม้ อยู่บริเวณไหนบ้าง ผลไม้อินทรีย์ ผลไม้ที่ใช้สารเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร 1.2 จัดทำเป็นแผนที่อาหารของชุมชน ซึ่งแผนที่ต้องประกอบด้วย แหล่งอาหารแต่ละประเภท, โรงเรียน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, ตลาด, วัด เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแหล่งผลิตอาหารกับผู้บริโภค
3.แผนงานด้านการส่งเสริมโภชนาการสมวัย
3.1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- การติดตามภาวะโภชนาการ
- การคืนข้อมูลสุขภาพเด็ก (อ้วน ผอม เตี้ย ค่อนข้างผอม และเตี้ย และค่อนข้างอ้วน) โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพ (ภาวะโภชนาการ + คำแนะนำ) ให้ผู้ปกครองเด็กทุกเดือน ข้อเสนอแนะต่อ สสส./ ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ./ ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.ต |
||||
จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลท่าหิน | วันที่ 18 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลสิงหนคร | วันที่ 19 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
|
||||
อบรมแนวคิดการทำเกษตรปราณีตให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน | วันที่ 22 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ09:00-09:10 น. ชี้แจงการดำเนินโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุมชนจังหวัดสงขลา โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รองผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 09:10-09:20 น. ชี้แจงการดำเนินกิจกรรมเกษตรผสมผสานตามรอยเท้าพ่อ 1 ไร่ ได้หลายแสน โดย ผู้แทนจากสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา 09:20-10:20 น. บรรยายแนวคิดการทำเกษตรปราณีต 1 ไร่ 1 แสน โดย ผศ. ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ 10:20-10:30 น. กรณีศึกษาการทำเกษตรผสมผสานครบวงจรและการทำตลาดข้าวอินทรีย์ อนันต์ปันรักโดย คุณอรณพ สุวรรณโณ กลุ่มข้าวอนันต์ปันรัก 10:30-11:45 น. ระดมความคิดเห็นการดำเนินการทำเกษตรปราณีตให้ประสบความสำเร็จ โดย ดร.กอบชัย วรพิมพงษ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ 11:45-12:00 น. สรุปผลการระดมความคิดเห็นและปิดการประชุม |
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารระดับตำบลเชิงแส | วันที่ 25 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลรัตภูมิ | วันที่ 26 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
อบรมโปรแกรม thai school lunch | วันที่ 28 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 น. -10.30 น. หลักการกาหนดมาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน - มาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน - คะแนนคุณภาพสารอาหาร - เกณฑ์การประเมินคุณภาพสารอาหารผ่านรายวัน / สัปดาห์ 10.30 น. -12.00 น. หลักการจัดสารับ อาหารกลางวัน หมุนเวียน 13.00 น. - 15.30 น. หลักการประเมินและปรับปรุงคุณค่าอาหาร กลางวันโรงเรียน - ฐานข้อมูลต่างๆ; กลุ่มเมนูอาหารต่างๆ |
-ครูผู้ดูแลเด็ก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ศึกษาดูงานโครงการหลวงจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ | วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมแลกเปลี่ยนตำบลบูรณาการฯ | วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมพัฒนาศักยภาพตำบลบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ เรื่องการจัดทำแผนที่ระบบอาหารชุมชน | วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ระดมสมองเพื่อให้ได้แผนงาน/โครงการ แผนทรัพยากรมนุษย์ครั้งที่ 2 | วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
|
||||
จังหวัดนครศรีธรรมราชดูงานตำบลบูรณาการตำบลควนรู | วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการบูรณาการอาหารและโภชนาการระดับตำบล ตำบลชะแล้ และเทศบาลสิงหนคร อ.สิงหนคร จ.สงขลา | วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการบูรณาการอาหารและโภชนาการระดับตำบล ตำบลรัตภูมิ อ.ควนเนียง จ.สงขลา | วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ |
ได้ดำเนินกิจกรรมปรับปรุงระบบเกษตรในโรงเรียน และการจัดการอาหารกลางวัน จำนวน 7 แห่ง ทุกที่จะใช้โปรแกรมออกเมนูล่วงหน้า และใช้วัตถุดิบในชุมชนเป็นหลักทั้งผัก ผลไม้ และข้าว ศพด. วัดควนเนียง มีการใช้ข้าวที่ครูปลูกเอง ให้คำแนะนำในการเพิ่มข้าวซ้อมมือผสมด้วย การติดตามโภชนาการ มีเด็กอ้วน 1 คน แม่ครัวเมื่อผ่านการอบรมเรื่องโภชนาการได้นำเสนอให้อบต.ปรับปรุงโรงครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร จะเสร็จสิ้นในเทอมหน้าศพด.บ้านปากบางภูมี จัดซื้ออาหารในตลาดเช้าของชุมชน ทั้งผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ปลา ส่วนข้าวยังซื้อข้าวจากบริษัท และให้คำแนะนำให้ซื้อจากแหล่งเดียวกัน ศพด.วัดควนเนียง ที่นี่จะไม่มีเมนูเลือดเพราะมีมุสลิมร่วมด้วย แต่มีเมนูตับ มีการจัดอาหารว่างนมเพิ่มให้กับเด็กที่มีภาวะเตี้ย มีการรับบริจาคตู้เย็นจากวัดเพื่อจัดการแช่นมโรงเรียน ส่วนโรงเรียนวัดคงคาวดี มีการปรับปรุงบริเวณหน้าห้องเรียนและใต้ต้นไม้ให้เป็นสวนผัก บริเวณข้างรั้วโรงเรียน สามารถนำผลผลิตที่ได้ขายกับแม่ครัวและนำเงินมาซื้อเมล็ดพันธุ์ผักต่อ มีการประยุกต์เรื่องเกษตรในโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ให้กับเด็ก คุณครูบอกว่าเด็กเปลี่ยนพฤติกรรม เพราะมีการช่วยกันดูแลแปลงเกษตร และชอบสภาพแวดล้อมใหม่คะ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการบูรณาการอาหารและโภชนาการระดับตำบล ตำบลเชิงแส อ.กระแสสินธุ์ จ.สงขลา | วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำลงพื้นที่สนับสนุนการดำเนินกิจกรรม โดยการให้คำแนะนำการบริหารกิจกรรม และการเงิน |
1.ปรับแผนกิจกรรมโดยให้สนับสนุนให้กับโรงเรียนบ้านรัดปูน และโรงเรียนชุมชนวัดเชิงแส ในการทำกิจกรรม อย.น้อย โดยสนับสนุนให้พื้นที่ละ 10,000 บาท 2.สนับสนุนโครงการเกษตรเพื่อการเรียนรู้ใน ศพด.บ้านเชิงแส และกิจกรรมเรื่องการติดตามภาวะโภชนาการเด็ก และจัดการระบบอาหารกลางวันให้มีคุณภาพโดยภายในเทอมหน้าให้มีการรับซื้อข้าวอินทรีย์จากเกษตรในพื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
อบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร ให้กับผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร | วันที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 08:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารกับผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการร้านอาหารในโรงเรียน รวมทั้งบุคลากรในโรงเรียน รวมจำนวน 150 คน โดยจัดอบรมที่ห้างอาเชียนพลาซ่า หาดใหญ่ |
ร่วมกับเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ร่วมกันประเมินร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลทางกายภาพก่อนให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการในโรงเรียน เข้ารับการอบรมความรู้เรื่องการจัดการสุขาภิบาลอาหารในวันที่ 27 กันยายน 2559 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
อบรมการจัดอาหารกลางวันให้ได้มาตรฐาน อาหารปลอดภัย และหลักสุขาภิบาลอาหาร | วันที่ 8 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
มีผู้เข้าร่วมอบรมซึ่งประกอบด้วยครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ที่มาจากตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร ตำบลรัตภูมิ อำเภอควนเนียง ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ และตำบลสิงหนคร อำเภอสิงหนคร รวมจำนวน 45 คน โดยมี ผศ.ดร.ลักษณา ไชยมงคล และ ดร.ธรรมรัตน์ แก้วมณี ภาควิชาวิทยาศาสตร์และอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นวิทยากรในการอบรมให้ความรู้ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
กิจกรรม นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ลงพื้นที่ห้องเรียนชุมชนตำบลชะแล้ | วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำแบ่งกลุ่มนักศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม เพื่อเรียนรู้ด้านการจัดการระบบสุขภาพ 1. แหล่งเรียนรู้ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะแล้ 2. แหล่งเรียนรู้การจัดการระบบอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ 3. แหล่งเรียนรู้การดูแลผู้ป่วยเรือรัง 4. แหล่งเรียนรู้หมอพื้นบ้าน หมอจ้ำ และหมอพรั่ง 5. แหล่งเรียนรู้เกษตรผสมผสาน |
นักศึกษาได้เรียนรู้การจัดการระบบสุขภาพในแต่ละด้าน จากวิทยากรในพื้นที่ ทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสุขภาพของชุมชนมากขึ้น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ปรึกษากับท้องถิ่นจังหวัดเรื่องการบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ | วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 11:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำระดมความคิดเห็นกับท้องถิ่นจังหวัด เรื่องการผลักดันการทำงานบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น |
ได้ออกแบบการประชุมเชิงปฏิบัติการใน 2 เรื่องเพื่อเสริมศักยภาพให้กับผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากร ได้แก่
1.การจัดการระบบอาหารแบบบูรณาการในระดับท้องถิ่น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
พิจารณากำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการ | วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำระดมความคิดเห็นต่อกำหนดการประชุมเชิงปฎิบัติการเรื่องการจัดการระบบอาหารแบบบูรณาการในระดับท้องถิ่น และการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้างเสริมภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดสงขลา |
เกิดการประสานการทำงานร่วมกันระหว่างสถาบันการจัดการระบบสุขภาพและสำนักงานท้องถิ่นจังหวัดในการขับเคลื่อนเรื่องการทำงานบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการบูรณาการระบบอาหารในระดับท้องถิ่น | วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดการระบบอาหาร 2.การจัดทำเป้าหมาย แผน และโครงการโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นแผนปฏิบัติการของท้องถิ่นและกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 3.มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปบทเรียนและแนวทางการดำเนินงาน วิธีการดำเนินงาน
1.จัดอบรมจำนวน 1 วัน แบ่งการอบรมเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 70 อปท. อปท.ละ 2 คน |
ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 161 คน จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 93 แห่ง ประกอบด้วยผู้บริหารท้องถิ่นตำแหน่ง นายกอปท. ปลัด ผู้อำนวยการกองการศึกษา นักวิชาการศึกษา ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และครูผู้ดูแลเด็ก 1.กิจกรรรมการบรรยาย 1.1.การชี้แจงนโยบายท้องถิ่นกับการจัดการบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ โดยนายอนุรัฐ ไทยตรง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นายอนุรัฐ ไทยตรง ได้กล่าวถึงบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการด้านสุขภาพ และการบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ 1.2.การบรรยายเรื่องการจัดการบูรณาการระบบอาหารในระดับชาติและระดับพื้นที่ โดยอาจารย์สง่า ดามาพงษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ บรรยายเรื่องกระบวนทัศน์ใหม่การขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพ และ เรื่องเด็กอ้วน เด็กผอม ล้วนเป็นปัญหาของชาติ เนื้อหาการบรรยายประกอบด้วย
1) ปัญหาด้านภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และภาวการณ์ขาดสารอาหาร ยังเป็นปัญหาด้านสุขภาพของเด็กไทย
2) ปัญหาการกินผัก และผลไม้ไม่เพียงพอ 2.กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการบูรณาการอาหารในระดับท้องถิ่น กรณีศึกษาตำบลควนรู ตำบลชะแล้ และตำบลรัตภูมิ โดยมีวิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนได้แก่ นายถั่น จุลนวน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู นายบุญรัตน์ จิตสกุล ผู้อำนวยการกองการศึกษา อบต.รัตภูมิ นางจิตรา เขาไข่แก้ว ครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลชะแล้ นางวรภัทร ไผ่แก้ว ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. ดำเนินรายการโดยนายสินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม
จากกระบวนการดำเนินกิจกรรมทำให้เกิดเป้าประสงค์ 1.การมีศักยภาพผลิตอาหารเพียงพอ เพราะเกิดการจัดการดิน น้ำ ชนิดและปริมาณพืช สัตว์ที่ผลิตและหาได้ 2.การเข้าถึงอาหาร เกิดการเพาะพันธุ์ การเข้าถึงแหล่งอาหารธรรชาติ การตลาด 3. การใช้ประโยชน์จากอาหาร มีการแปรรูป เกิดการสร้างรายได้เพิ่มในชุมชน การได้รับประโยชน์จากสารอาหารครบถ้วน 4. การมีเสถียรภาพทางอาหาร มีแหล่งเมล็ดพันธุ์พืช พันธ์สัตว์ ธนาคารอาหาร ศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตร ด้านอาหาร 5. ความปลอดภัยด้านอาหาร มีเกษตรอินทรีย์ From Farm to Table แนวทางการขับเคลื่อนการจัดการบูรณาการระบบอาหารในระดับท้องถิ่น ที่ประชุมมีข้อเสนอให้มีการพัฒนาโครงการการบูรณาการระบบอาหารในระดับท้องถิ่น โดยสถาบันการจัดการระบบสุขภาพจะออกแบบฟอร์มการเขียนกรอบแนวคิดโครงการและประสานให้สำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลาได้ประสานต่อไปยังองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น จากนั้นจะมีการจัดกระบวนการเติมเต็มโครงการให้มีความสมบูรณ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เมื่อโครงการได้รับการปรับปรุงจะให้มีการขับเคลื่อนโดยใช้งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่ 1 | วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำประชุมถอดบทเรียนโครงการย่อยครั้งที่ 1 จำนวน 5 โครงการย่อย ได้แก่ อบต.ควนรู เทศบาลตำบลเชิงแส อบต.รัตภูมิ และตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีกระบวนการ 1.สรุปแนวคิดการบูรณาการระบบอาหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ 2.แบ่งกลุ่มเพื่อให้โครงการย่อยช่วยกันระดมความคิด เห็นโดยใช้โจทย์
1.ภาพความสำเร็จที่เราคาดหวังคืออะไร?
2. สิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร? > เราทำอะไร? เกิดผลอะไร?
3.ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เราคาดหวัง กับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริง
เชิงทฤษฎี -การออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ ?
เชิงปฏิบัติ - ข้อมูล ปัจจัยนำเข้าของโครงการ คน/กลุ่มคน /หน่วยงาน/ภูมิปัญญา/ ทุน /งบประมาณ/วัสดุ อุปกรณ์ 4.ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต > จะทำอะไรให้ดีขึ้น |
โครงการย่อยได้สรุปความรู้ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ 1 ผลลัพธ์ที่คาดหวัง 4 ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต
4.1 มีการศุนย์เรียนรู้ในชุมชน อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
4.2 มีการบริหารจัดการน้ำให้เพียงพอกับการผลิต ทำโครงการร่วมกับชลประทาน
4.3 ขยายเครือข่าย เพิ่มมากขึ้น
4.4 การให้ความรู้เพิ่มมูลค่า การผลิตของชุมชน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่ 2 | วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำประชุมถอดบทเรียนโครงการย่อยครั้งที่ 2 จำนวน 3 โครงการย่อย ได้แก่ เทศบาลเมืองสิงหนครเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการถอดบทเรียนมีดังนี้ 1.สรุปแนวคิดการบูรณาการระบบอาหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ 2.แบ่งกลุ่มเพื่อให้โครงการย่อยช่วยกันระดมความคิด เห็นโดยใช้โจทย์ 1.ภาพความสำเร็จที่เราคาดหวังคืออะไร? 2.สิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร? > เราทำอะไร? เกิดผลอะไร? 3.ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เราคาดหวัง กับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริง
เชิงทฤษฎี -การออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ ?
เชิงปฏิบัติ - ข้อมูล ปัจจัยนำเข้าของโครงการ คน/กลุ่มคน /หน่วยงาน/ภูมิปัญญา/ ทุน /งบประมาณ/วัสดุ อุปกรณ์ 4.ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต > จะทำอะไรให้ดีขึ้น |
1 อ.กอบชัย วรพิมพงษ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ดำเนินโครงการถอดบทเรียน 1 ไร่ 1 แสน 1.1สิ่งที่คาดหวัง 1.1.1รูปแบบการเกษตรที่สามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรทั้งปี 1.1.2มูลค่าการผลิตที่เกษตรสามารถจำหน่ายได้อย่างน้อย 1.1.3รูปแบบการทำเกษตรที่สามารถทำได้ตลอดปี มีความมั่นคงทางระบบนิเวศ 1.2สิ่งที่เกิดขึ้น 1.2.1 มีบางคนที่ ได้ 1 ไร่ 1 แสน เพราะเขามีเกษตรอื่นร่วมด้วย
1.2.3 มีการแบ่งปันผลผลิตสู่ชุมชน 1.3 ความแตกต่าง ระหว่งส่ิงที่เราคาดหวัง กับส่ิงที่เกิดขึ้นจริง 1.3.1 ความคาดหวังของนักิจัย 1.3.2 การปฏิบัติ เกษตรกรคิดเรื่องการผลิตอาหารเป็นหลักเพื่อการบริโภคไม่ได้คิดเรื่องการจำหน่าย คิดเรื่องการเษตรแบบพอเพียงเป็นตัวตั้งต้น 1.3.3 การขายผลผลิตเป็นโอกาส 1.3.4 บางรายใช้เกษตร 1 ไร่ 1 แสนไม่เต็มที มีสวนยาง มีปาล์ม่ 1.3.5 ข้อจำกัด ของพื้นที > วิเคราะห์ เลือกให้เหมาะสม หากไม่สำเร็จ เกิดความท้อใจ 1.3.6 ความตั้งใจของเกษตร 1.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1.4.1 ความชอบและความตั้งใจของเกษตรกรในการทำการเกษตร 1.4.2 หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตร ยึดถือ มาจากการผลิตเพื่อบริโภค กังวลเรื่องอาหารปลอดภัย 1.4.3 การปรับตัวด้านการทำการเกษตรของเกษตรกร เช่น ขายไม่ได้ ก็แปรรูป ควาคิดสร้างสรรค์ของการเกษตร การหาตลาด เป็นต้น 1.5 ปัญหา อุปสรรค 1.5.1 การตลลาด 1.5.2 ข้อจำกัดด้านพื้นที่ (ลักษณะดิน ชลประทาน ฤดูกาล น้ำท่วม แล้ง) 1.5.3 การสนับสนุนปัจจัยการผลิตล่าช้า ไม่ตรงตามความต้องการ เรื่องจากปัญหาเชิงระเบียบ 1.6 สิ่งดี ๆ 1.6.1 รายได้เสริม ของเกษตรกร 1.6.2 อาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ความมั่นคงในครัวเรือน ที่สามารถแบ่งปันสู่ชุมชน 1.6.3 การใช้เวลาว่งให้เกิดประโยชน์ >ได้ออกกำลังกาย ได้ความรู้เพิ่มเติม 1.7 ข้อเสนอ 1.7.1 การสนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร ถ้าสนับสนุนช้า ทำให้ล่วงเลยฤดูกาลที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก 1.7.2 การจัดหาการตลาด ให้แก่เกษตรกร เนื่องจากที่ผลิตได้ส่วนใหญ่ผลิตได้ในชุมชน เนื่องจากกำลังซื้อไม่มาก 2 เทศบาลตำบลชะแล้ 2.1 สิ่งที่คาดหวัง 2.1.1 มีอาหารบริโภคปลอดภัย 2.1.2 ปรับพฤติกรรมการบริโภค 2.2 ส่ิงที่เกิดขึ้น 2.2.1 ฟาร์มทะเล คอดโดปลา 2.2.2 ส่งเสริม แจกกลุ่มในโรงเรียนชุมชน มีกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ อบรมความรู เน้นการดำเนินงานโรงเรียน ศพด. 2.2.3 อบรม อย.น้อย>เรียนรู้เร่ืองการบริโภค 2.2.5 โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน ใน โรงเรียน ศพดฬ ใช้วัตถุดิบในชุมชน สำหรับอาหารกลางวันใน ศพด. 2.2.6 เกิดการแบ่างปัน ผลผลิต ในชุมชน แก่เด็กนักเรียน ศพด. 2.2.7 เมนูอาหาร 2.2.8 การประเมินภาวะ โภชนาการเด็ก 2.2.9 โปรแกรม Thai school lunch 2.2.10 การเก็บข้อมูล เพื่อทำแผนที่ ความมั่นคงทางอาหาร 2.3 ปัญหา อุปสรรค 2.3.1 ขาดความมั่นคงทางเมล็ดพันธ์ บางอย่า เช่น ผัก 2.3.2 ด้านแหล่งน้ำ ฤดูกาล แล้ง หน้าฝน ทำให้ไม่มีผลลผิต ป้อนตลาดสีเขียว 2.3.3 การทำให้สำเร็จ เรื่อง ทุน ที่ใช้ในการดำเนินการ สำคัญ
2.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2.4.1 ภูมิปัญญาในการผลิตปุ๋ย 2.4.2 มีทรัพยากร อาหารเพียงพอ> อาหารเพียงพอจากฟาร์มทะเล 2.4.3 การมีข้อกำหนด การจับสัตว์น้ำ 2.4.4 มีหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เข้ามาสนับสนุน กิจกรรม ส่งผลต่อความสมบูรณืมทางทะเล 2.4.5 ความร่วมมือของผู้ปกครอง ในการจัดการ โภชนาการที่บ้าน 2.5 ข้อเสนอแนะ 2.5.1 ดำเนินโครงการต่อไป 2.5.2 ขยายพื้นที่ ปลุกผัก ทั้งชนิด ปริมาณ ให้เกิดศูนย์เรียนรู้ 2.5.3 การส่งเสริมตลาดสีเขียวในชุมชน 2.5.4 มีการกำหนดมาตรการโภชนาการ ให้ชัดเจนมากขึ้น 3 เทศบาลเมืองสิงหนคร 3.1 สิ่งที่คาดหวัง 3.1.1 เด็กในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี เก่งดี มีสุข 3.1.2 มีตลาด รองรับ เชื่อมโยง ศพด. 3.2 สิ่งที่เกิดขึ้น 3.2.1 ศพด. บูณาการการเรียนก่ารสอนกับการทำเกษตร กับวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
การมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง
ส่งเสริมพฤติกรรมการกินผัก 3.2.2 มีการสำรวจ ข้อมูลการปลูกผัก
3.2.4 สร้างข้อตกลง ระหว่างผู้ปกครอง กับ แม่ครัว 3.2.5 การสนับสนุนให้ปชช.ทำปุ๋ยหมัก 3.3 สิ่งที่คาดหวัง 3.3.1 มีพื้นที่ เพาะปลูกการเกษตร 3.3.2 ตลาดรองรับผลผลิต 3.3.3 มีเครือข่ายผู้บริโภค
3.4 ปัญหา อุปสรรค
3.5 ข้อเสนอแนะ
3.5.1 การนำหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปบรรจุในสาระการเรียนรู้
3.5.2 สนัลสนุนการมีส่วนร่วมของนักเรียย และผู้ปกครอง ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมเตรียมงานพัฒนาโครงการบูรณาการอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | วันที่ 31 มกราคม 2560 เวลา 13:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำประชุมหารือในประเด็นต่อไปนี้ 1.การพัฒนาโครงการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 เรื่อง
2.สรุปผลการประชุมแลกเปลี่ยนการจัดการระบบอาหารในท้องถิ่น เมื่อวันที่ 15-16 ธันวาคม 2559 ที่ สจรส.ม.อ. 3.วางแผนการจัด work shop พัฒนาโครงการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
1.สรุปผลการจัดประชุมเมื่อวันที่ 15-16 ธันวาคม 2559 การเขียนโครงการของท้องถิ่นที่ส่งเข้ามายังไม่ครอบคลุมการขอทุนจาก สปสช. 2.กระบวนการจัด workshop การพัฒนาโครงการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เวทีรับฟังความคิดเห็นเรื่องพืชร่วมยางและเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน | วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำช่วงเช้า การประชุมรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายพืชร่วมยาง
08.30 – 09.00.น. ลงทะเบียน
09.00 – 09.30 น. ทิศทางนโยบายการจัดการยางพาราของจังหวัดสงขลา
โดย เกษตรจังหวัดสงขลา
09.30 – 10.30 น. ข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายพืชร่วมยาง
โดย ช่วงบ่าย การประชุมรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน
13.00 – 13.30 น. ทิศทางและแนวทางนโยบายการจัดการเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน
โดย เกษตรจังหวัดสงขลา
13.30 – 14.30 น. ข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน |
1.ข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนพืชร่วมยาง
2.ข้อเสนอต่อการทำเกษตร 1 ไร่ 1 แสน
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ การบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหารท้องถิ่น ได้แก่นายก อปท. ปลัด เจ้าหน้ากองการศึกษา กองสาธารณสุข ครูผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 170 คน 2.แบ่งกลุ่มเพื่อพัฒนาโครงการ โดยมีพี่เลียงประจำกลุ่ม
กลุ่ม 1 อำเภอระโนด อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ กลุ่ม 2 อำเภอสิงหนคร อำเภอเมืองสงขลา อำเภอหาดใหญ่ 1. ดร.เพ็ญ สุขมาก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 2. คุณสกุลศิริ สกุลสงคราม เทศบาลตำบลท่าช้าง / พี่เลี้ยง สปสช. 3. คุณวารียา บิลตาลี เทศบาลตำบลท่าช้าง / พี่เลี้ยง สปสช. 4. คุณสุดา นิยมเดชา รพ.สต.ฉลุง / พี่เลี้ยง สปสช. 5. คุณอนัญญา แก้วปฏิมา เทศบาลเมืองสิงหนคร / พี่เลี้ยง สปสช. 6. คุณอารีย์ สุวรรณชาตรี พี่เลี้ยง สปสช. 7. คุณพัชรนันท์ วรรณพิบูลย์ เทศบาลเมืองสิงหนคร / คณะทำงานจังหวัดสงขลา กลุ่ม 3 อำเภอรัตภูมิ อำเภอควนเนียง 1. ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 2. ปลัดกิติพัฒน์ หนูมี อบต. ควนโส / พี่เลี้ยง สปสช. 3. คุณดวงใจ อ่อนแก้ว เทศบาลเมืองควนลัง / พี่เลี้ยง สปสช. 4. คุณอาหมัด หลีขาหลี พี่เลี้ยง สปสช. 5. คุณอุสมาน หวังสนิ พี่เลี้ยง สปสช. 6. คุณปรีดา รักษ์ทอง เทศบาลตำบลทุ่งลาน / คณะทำงานจังหวัด 7. คุณอมิตตา ประกอบชัยชนะ อบต.ควนรู/ คณะทำงานจังหวัดสงขลา 8. คุณพิพัฒน์พงค์ แก้วสุวรรณ อบต. ควนรู/ คณะทำงานจังหวัด |
บุคลากรขององค์กรปกครองจำนวน 72 แห่ง จำนวนผู้เข้าร่วม 170 คน ซึ่งกระบวนการในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการระบบอาหารและโภชนาการที่ครอบคลุมทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ
การบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหารท้องถิ่น ได้แก่นายก อปท. ปลัด เจ้าหน้ากองการศึกษา กองสาธารณสุข ครูผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 170 คน
กลุ่ม 1 อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี กลุ่ม 2 อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอบางกล่ำ กลุ่ม 3 อำเภอนาหม่อม อำเภอสะเดา อำเภอคลองหอยโข่ง
1. ผศ.ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
2. ภก.สมชาย ละอองพันธุ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา
3. คุณจำรัส หวังมณีย์ พี่เลี้ยง สปสช.
4. คุณดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยง สปสช.
5. คุณยุทธศิลป์ พิตรพิบูลย์พันธุ์ เทศบาลเมืองคลองแห / คณะทำงานจังหวัดสงขลา |
บุคลากรขององค์กรปกครองจำนวน 60 แห่ง จำนวนผู้เข้าร่วม 1ุ60 คน ซึ่งกระบวนการในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการระบบอาหารและโภชนาการที่ครอบคลุมทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตรวจรายงานกิจกรรม และเอกสารการเงิน โครงการย่อย | วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
โครงการจันทบุรีโมเดลดูงานโครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา | วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำโครงการจันทบุรีโมเดลภายใต้โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดจันทบุรี จำนวน 60 คน ร่วมเรียนรู้ศึกษาดูงานการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา จำนวน 3 แห่ง คือ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |