คุณภาพกิจกรรม : 3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้โครงการย่อยเกิดการสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน
2.เพื่อให้โครงการย่อยกำหนดเป้าหมายแผนการทำงานปีที่ 4
กิจกรรมตามแผน
ประชุมถอดบทเรียนโครงการย่อยครั้งที่ 1 จำนวน 5 โครงการย่อย ได้แก่ อบต.ควนรู เทศบาลตำบลเชิงแส อบต.รัตภูมิ และตลาดเกษตร ม.อ. โดยมีกระบวนการ
1.สรุปแนวคิดการบูรณาการระบบอาหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
2.แบ่งกลุ่มเพื่อให้โครงการย่อยช่วยกันระดมความคิด เห็นโดยใช้โจทย์
1.ภาพความสำเร็จที่เราคาดหวังคืออะไร?
2.สิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร? > เราทำอะไร? เกิดผลอะไร?
3.ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เราคาดหวัง กับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริง
เชิงทฤษฎี -การออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ ?
เชิงปฏิบัติ - ข้อมูล ปัจจัยนำเข้าของโครงการ คน/กลุ่มคน /หน่วยงาน/ภูมิปัญญา/ ทุน /งบประมาณ/วัสดุ อุปกรณ์
ปัจจัยอะไร ปัจจัยสำเร็จ อุปสรรค
มีอะไร ดี ๆ เกิดขึ้นบ้าง อย่างไร?
4.ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต > จะทำอะไรให้ดีขึ้น
กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง
ประชุมถอดบทเรียนโครงการย่อยครั้งที่ 2 จำนวน 3 โครงการย่อย ได้แก่ เทศบาลเมืองสิงหนครเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการถอดบทเรียนมีดังนี้
1.สรุปแนวคิดการบูรณาการระบบอาหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
2.แบ่งกลุ่มเพื่อให้โครงการย่อยช่วยกันระดมความคิด เห็นโดยใช้โจทย์
1.ภาพความสำเร็จที่เราคาดหวังคืออะไร?
2.สิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร? > เราทำอะไร? เกิดผลอะไร?
3.ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เราคาดหวัง กับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริง
เชิงทฤษฎี -การออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ ?
เชิงปฏิบัติ - ข้อมูล ปัจจัยนำเข้าของโครงการ คน/กลุ่มคน /หน่วยงาน/ภูมิปัญญา/ ทุน /งบประมาณ/วัสดุ อุปกรณ์
ปัจจัยอะไร ปัจจัยสำเร็จ อุปสรรค
มีอะไร ดี ๆ เกิดขึ้นบ้าง อย่างไร?
4.ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต > จะทำอะไรให้ดีขึ้น
ผลตามแผน
ประชุมถอดบทเรียนโครงการย่อยครั้งที่ 2 จำนวน 3 โครงการย่อย ได้แก่ เทศบาลเมืองสิงหนครเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการถอดบทเรียนมีดังนี้
1.สรุปแนวคิดการบูรณาการระบบอาหารโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
2.แบ่งกลุ่มเพื่อให้โครงการย่อยช่วยกันระดมความคิด เห็นโดยใช้โจทย์
1.ภาพความสำเร็จที่เราคาดหวังคืออะไร?
2.สิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไร? > เราทำอะไร? เกิดผลอะไร?
3.ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เราคาดหวัง กับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริง
เชิงทฤษฎี -การออกแบบกิจกรรมตามแผนงาน โครงการ ?
เชิงปฏิบัติ - ข้อมูล ปัจจัยนำเข้าของโครงการ คน/กลุ่มคน /หน่วยงาน/ภูมิปัญญา/ ทุน /งบประมาณ/วัสดุ อุปกรณ์
ปัจจัยอะไร ปัจจัยสำเร็จ อุปสรรค
มีอะไร ดี ๆ เกิดขึ้นบ้าง อย่างไร?
4.ข้อเสนอต่อการดำเนินงานในอนาคต > จะทำอะไรให้ดีขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นจริง
1 อ.กอบชัย วรพิมพงษ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ดำเนินโครงการถอดบทเรียน 1 ไร่ 1 แสน
1.1สิ่งที่คาดหวัง
1.1.1รูปแบบการเกษตรที่สามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรทั้งปี
1.1.2มูลค่าการผลิตที่เกษตรสามารถจำหน่ายได้อย่างน้อย
100000 บาทต่อไร่
1.1.3รูปแบบการทำเกษตรที่สามารถทำได้ตลอดปี มีความมั่นคงทางระบบนิเวศ
1.2สิ่งที่เกิดขึ้น
1.2.1 มีบางคนที่ ได้ 1 ไร่ 1 แสน เพราะเขามีเกษตรอื่นร่วมด้วย
1.2.2 เกษตรกรสามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัย ไว้บริโภคในครัวเรือน ลดรายจ่าย
1.2.3 มีการแบ่งปันผลผลิตสู่ชุมชน
1.3 ความแตกต่าง ระหว่งส่ิงที่เราคาดหวัง กับส่ิงที่เกิดขึ้นจริง
1.3.1 ความคาดหวังของนักิจัย
1.3.2 การปฏิบัติ เกษตรกรคิดเรื่องการผลิตอาหารเป็นหลักเพื่อการบริโภคไม่ได้คิดเรื่องการจำหน่าย คิดเรื่องการเษตรแบบพอเพียงเป็นตัวตั้งต้น
1.3.3 การขายผลผลิตเป็นโอกาส
1.3.4 บางรายใช้เกษตร 1 ไร่ 1 แสนไม่เต็มที มีสวนยาง มีปาล์ม่
1.3.5 ข้อจำกัด ของพื้นที > วิเคราะห์ เลือกให้เหมาะสม หากไม่สำเร็จ เกิดความท้อใจ
1.3.6 ความตั้งใจของเกษตร
1.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1.4.1 ความชอบและความตั้งใจของเกษตรกรในการทำการเกษตร
1.4.2 หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตร ยึดถือ มาจากการผลิตเพื่อบริโภค กังวลเรื่องอาหารปลอดภัย
1.4.3 การปรับตัวด้านการทำการเกษตรของเกษตรกร เช่น ขายไม่ได้ ก็แปรรูป ควาคิดสร้างสรรค์ของการเกษตร การหาตลาด เป็นต้น
1.5 ปัญหา อุปสรรค
1.5.1 การตลลาด
1.5.2 ข้อจำกัดด้านพื้นที่ (ลักษณะดิน ชลประทาน ฤดูกาล น้ำท่วม แล้ง)
1.5.3 การสนับสนุนปัจจัยการผลิตล่าช้า ไม่ตรงตามความต้องการ เรื่องจากปัญหาเชิงระเบียบ
1.6 สิ่งดี ๆ
1.6.1 รายได้เสริม ของเกษตรกร
1.6.2 อาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ความมั่นคงในครัวเรือน ที่สามารถแบ่งปันสู่ชุมชน
1.6.3 การใช้เวลาว่งให้เกิดประโยชน์ >ได้ออกกำลังกาย ได้ความรู้เพิ่มเติม
1.7 ข้อเสนอ
1.7.1 การสนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร ถ้าสนับสนุนช้า ทำให้ล่วงเลยฤดูกาลที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก
1.7.2 การจัดหาการตลาด ให้แก่เกษตรกร เนื่องจากที่ผลิตได้ส่วนใหญ่ผลิตได้ในชุมชน เนื่องจากกำลังซื้อไม่มาก
2 เทศบาลตำบลชะแล้
2.1 สิ่งที่คาดหวัง
2.1.1 มีอาหารบริโภคปลอดภัย
2.1.2 ปรับพฤติกรรมการบริโภค
2.2 ส่ิงที่เกิดขึ้น
2.2.1 ฟาร์มทะเล คอดโดปลา
2.2.2 ส่งเสริม แจกกลุ่มในโรงเรียนชุมชน มีกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ อบรมความรู เน้นการดำเนินงานโรงเรียน ศพด.
2.2.3 อบรม อย.น้อย>เรียนรู้เร่ืองการบริโภค
2.2.4 การทำปุ๋ยหมักในโรงเรียน สู่ชุมชน นักเรียน แกนนำ อสม.
2.2.5 โครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน ใน โรงเรียน ศพดฬ ใช้วัตถุดิบในชุมชน สำหรับอาหารกลางวันใน ศพด.
2.2.6 เกิดการแบ่างปัน ผลผลิต ในชุมชน แก่เด็กนักเรียน ศพด.
2.2.7 เมนูอาหาร
2.2.8 การประเมินภาวะ โภชนาการเด็ก
2.2.9 โปรแกรม Thai school lunch
2.2.10 การเก็บข้อมูล เพื่อทำแผนที่ ความมั่นคงทางอาหาร
2.3 ปัญหา อุปสรรค
2.3.1 ขาดความมั่นคงทางเมล็ดพันธ์ บางอย่า เช่น ผัก
2.3.2 ด้านแหล่งน้ำ ฤดูกาล แล้ง หน้าฝน ทำให้ไม่มีผลลผิต ป้อนตลาดสีเขียว
2.3.3 การทำให้สำเร็จ เรื่อง ทุน ที่ใช้ในการดำเนินการ สำคัญ
2.3.4 วัฒนธรรม การบริโภคของคนบางกลุ่ม เช่น บางกลุ่ม ใช้สารเคมี
2.4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
2.4.1 ภูมิปัญญาในการผลิตปุ๋ย
2.4.2 มีทรัพยากร อาหารเพียงพอ> อาหารเพียงพอจากฟาร์มทะเล
2.4.3 การมีข้อกำหนด การจับสัตว์น้ำ
2.4.4 มีหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เข้ามาสนับสนุน กิจกรรม ส่งผลต่อความสมบูรณืมทางทะเล
2.4.5 ความร่วมมือของผู้ปกครอง ในการจัดการ โภชนาการที่บ้าน
2.5 ข้อเสนอแนะ
2.5.1 ดำเนินโครงการต่อไป
2.5.2 ขยายพื้นที่ ปลุกผัก ทั้งชนิด ปริมาณ ให้เกิดศูนย์เรียนรู้
2.5.3 การส่งเสริมตลาดสีเขียวในชุมชน
2.5.4 มีการกำหนดมาตรการโภชนาการ ให้ชัดเจนมากขึ้น
3 เทศบาลเมืองสิงหนคร
3.1 สิ่งที่คาดหวัง
3.1.1 เด็กในชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี เก่งดี มีสุข
3.1.2 มีตลาด รองรับ เชื่อมโยง ศพด.
3.2 สิ่งที่เกิดขึ้น
3.2.1 ศพด.
บูณาการการเรียนก่ารสอนกับการทำเกษตร กับวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
การมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง
ส่งเสริมพฤติกรรมการกินผัก
3.2.2 มีการสำรวจ ข้อมูลการปลูกผัก
3.2.3 อบรมแม่ครัว
3.2.4 สร้างข้อตกลง ระหว่างผู้ปกครอง กับ แม่ครัว
3.2.5 การสนับสนุนให้ปชช.ทำปุ๋ยหมัก
3.3 สิ่งที่คาดหวัง
3.3.1 มีพื้นที่ เพาะปลูกการเกษตร
3.3.2 ตลาดรองรับผลผลิต
3.3.3 มีเครือข่ายผู้บริโภค
3.4 ปัญหา อุปสรรค
3.5 ข้อเสนอแนะ
3.5.1 การนำหลักเศรษฐกิจ พอเพียงไปบรรจุในสาระการเรียนรู้
3.5.2 สนัลสนุนการมีส่วนร่วมของนักเรียย และผู้ปกครอง
3.5.3 การบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ ในหลักสูตร
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
-