โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุาชนจังหวัดสงขลา

แผนงานบริหารจัดการ

by dezine @March,15 2016 12.15 ( IP : 202...116 )

รหัสโครงการ 59-00188
สัญญาเลขที่ 59-00-0161
งวดที่ 1

แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)

วันที่รายงาน : 15 สิงหาคม 2559

1. ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุาชนจังหวัดสงขลา

2. รหัสโครงการ 59-00188 รหัสสัญญา 59-00-0161 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2559 - 30 มกราคม 2560

3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 กุมภาพันธ์ 2559 ถึงเดือน 31 สิงหาคม 2559

4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)

กิจกรรมผลงาน
(ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี)
ผลสรุปที่สำคัญประเมินผล คุณภาพกิจกรรม
4321
1. ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการ ตำบลควนรู

วันที่ 8 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการด้านอาหารและโภชนาการตำบลควนรู นำผลสรุปมาจัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการอาหารและโภชนาการปีที่ 3

ลักษณะกิจกรรม

ถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูโรงเรียนวัดชะแล้ สมาชิก อบต. แกนนำประมงพื้นบ้าน

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสท้อน บ้านโคกค่าย บ้านลูกรัก ผู้บริหารโรงเรียนชุมชนโคกค่าย โรงเรียนบ้านไทรใหญ่ สมาชิก อบต.

ผลที่เกิดขึ้น

ข้อเสนอในการพัฒนาแผนปีที่ 3

1.ทำให้ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์สัตว์ มีความยั่งยืน เพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร

2.ต้องสร้างคนรุ่นใหม่ด้านการเกษตร เพื่อให้มีทายาทการทำเกษตรกรรม

3.ต้องบูรณาการทำงานทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
2. ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการ ตำบลชะแล้

วันที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลการดำเนินโครงการด้านอาหารและโภชนาการตำบลชะแล้นำผลสรุปมาจัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการอาหารและโภชนาการปีที่ 3

ลักษณะกิจกรรม

ถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  สมาชิก อบต. ผู้แทนสำนักธรรมนูญสุขภาพ 

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ถอดบทเรียนการทำงานด้านอาหารและโภชนาการ โดยมีผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สมาชิก อบต. ผู้แทนสำนักธรรมนูญสุขภาพ

ผลที่เกิดขึ้น

ข้อเสนอในการพัฒนาแผนปีที่ 3

  1. ให้ดำเนินการเรื่องการทำครัวกลางและแสดงให้เห็นการเชื่อมร้อยทั้งตำบลของกลุ่มต่างๆ ในชุมชน

  2. ดำเนินการทำแผนที่ความมั่นคงทางอาหาร (ใคร ทำอะไร ที่ไหน ตรงไหน) ที่เป็นข้อมูลล่าสุด

  3. ยกระดับวัฒนธรรมด้านอาหารที่มีและเป็นเอกลักษณ์ของตำบลชะแล้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
3. ประชุมหาความร่วมมือการทำ Matching Model

วันที่ 18 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อระดมความคิดเห็นการพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) ที่เชื่อมโยงการทำงานร่วมกันระหว่างภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และชุมชน

ลักษณะกิจกรรม

ดำเนินการประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  นายกสมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา คณะบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. เกษตรกร กรรมการห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ ผู้แทนห้างอาเซียนพลาซ่า

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ดำเนินการประชุมระดมความคิดเห็นการพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นายกสมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา คณะบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. เกษตรกร กรรมการห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ ผู้แทนห้างอาเซียนพลาซ่า

ผลที่เกิดขึ้น

การทำ Matching Model ได้รูปแบบการดำเนินงาน 2 แนวทาง คือ 1.ให้กลุ่มเครือข่ายเกษตรกร บริหารจัดการเองทั้งในส่วนการจัดการเรื่องบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การตรวจสอบคุณภาพ และการจำหน่าย

2.ให้คณะทรัพยากรธรรมชาติ เป็นหน่วยบริหารจัดการจัดการเรื่องบรรจุภัณฑ์ การขนส่ง การตรวจสอบคุณภาพ และการจำหน่าย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
4. ถอดบทเรียน 1 ไร่ 1 แสน อำเภอสิงหนคร

วันที่ 21 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

ถอดบทเรียนการดำเนินงาน 1 ไร่ 1 แสน หนึ่งปีที่ผ่านมา

ลักษณะกิจกรรม

ถอดบทเรียน  1 ไร่ 1 แสนเกษตรกรรายเก่าจำนวน 2 รายคือ

  1. นายธนกฤต แสงจันทร์ ม.3 บ้านบางเขียด เบอร์โทร 095-5799563

  2. นายเพิ่ม พุทธสุภะ ม.5 ต.ชิงโค เบอร์โทร 085-0779134

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ลงพื้นที่ถอดบทเรียนเกษตรกรรายเก่า ในอำเภอสิงหนคร

ผลที่เกิดขึ้น

  1. นายธนกฤต แสงจันทร์ ลาออกจากราชการมาทำการเกษตร โดยได้ไปเรียนทำนา1ไร่1แสนที่พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ และได้นำกลับมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนเอง ทั้งการเลี้ยงเป็ดไข่  แปรรูปไข่เป็ด การทำนา ปลูกพืชผัก ปลูกต้นอ่อนทานตะวัน
    กิจกรรมทางการเกษตรที่ทำในปัจจุบัน คือ ปลูกหม่อน มะละกอ ผักบุ้งแก้ว ไม้ไผ่กิมซุง ข้าว บัวแดง เลี้ยงปลานิล ปลาจาระเม็ด เป็ดไข่ ไก่ไข่ ไส้เดือนแอฟฟริกัน และเลี้ยงจุลินทรีย์

และผลิตที่ได้ได้นำไปจำหน่ายที่ตลาดนัดเกษตรกร ตลาดคน 2 เล และขายที่บ้าน


2. นายเพิ่ม พุทธสุภะ มีแรงบันดาลใจในการทำเกษตรผสมผสานมาจากการดูข่าวในพระราชสำนัก เริ่มแรกนายเพิ่มได้ทำการปลูกผักปลอดสารพิษ ปลูกข้าวไว้กินเอง  ในปัจจุบันได้ปลูกผัก เลี้ยงวัว เลี้ยงเป็ด เลี้ยงได่ เลี้ยงปลา และปลูกไม้ยืนต้น และผลผลิตที่ได้จะจำหน่ายที่หน้าบ้าน หน้าโรงงานและส่งครัวใบโหนด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
5. พัฒนาโครงการอาหารของแม่ร่วมกับวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีสงขลา

วันที่ 22 มีนาคม 2559 เวลา 11:00

วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาโครงการอาหารของแม่ ปีที่ 2

ลักษณะกิจกรรม

นัดประชุมคณะวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีสงขลามาร่วมพัฒนาโครงการอาหารของแม่ ปีที่ 2

เป้าหมายที่ตั้งไว้

นัดประชุมคณะวิจัยของวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีสงขลามาร่วมพัฒนาโครงการอาหารของแม่ ปีที่ 2

ผลที่เกิดขึ้น

คณะวิจัยนำข้อเสนอกลับไปปรับปรุงโครงการอาหารของแม่อีกครั้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
6. ประชุมชี้แจงการขับเคลื่อนโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่เทศบาลเมืองสิงหนคร

วันที่ 25 มีนาคม 2559 เวลา 10:00

วัตถุประสงค์

เพื่อชีแจงการดำเนินโครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชาชนจังหวัดสงขลา และปรึกษาหารือเกี่ยวกับการพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการระดับตำบล

ลักษณะกิจกรรม

ลงพื้นที่พบผู้บริหารท้องถิ่น ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี เจ้าหน้ากองการศึกษา เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการตำบลสิงหนคร ซึ่งเป็นพื้นที่ขยายผลจากตำบลควนรู และตำบลชะแล้

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ลงพื้นที่พบผู้บริหารท้องถิ่น ประกอบด้วยนายกเทศมนตรี เจ้าหน้ากองการศึกษา เจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการตำบลสิงหนคร ซึ่งเป็นพื้นที่ขยายผลจากตำบลควนรู และตำบลชะแล้

ผลที่เกิดขึ้น

ผู้บริหารท้องถิ่นตอบรับการพัฒนาแผนบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
7. กิจกรรม Summer Big Bonus และตลาดนัดอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 26 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาแหล่งจำหน่ายอาหารปลอดภัยในห้างสรรพสินค้า โดยร่วมกับห้างอาเซียนพลาซ่าจัดกิจกรรมพบผู้บริโภค โดยสถาบันการจัดการระบบสุขภาพได้ให้เกษตรกรซึ่งมาจากเครือข่ายบูรณาการระบบอาหาร ตลาดเกษตร ม.อ.  สำนักงานเกษตรกและสหกรณ์ คลีนิกเกษตรและเทคโนโลยี ม.อ. จัดจำหน่

ลักษณะกิจกรรม

1.พัฒนาตลาดขายอาหารปลอดภัยในห้างอาเซียนพลาซ่า โดยให้เกษตรกร ได้ออกร้านจำหน่ายอาหารปรุงสุก  สินค้า Otop พืชผักผลไม้ ซึ่งมีร้านค้าประมาณ 30 ร้านค้า 2.กิจกรรมเสวนาให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ โดยนายกเหล่ากาชาดจังหวัดสงขลา ผู้บริหารโรงแรมวีแอล ดร.อมาวสี อัมพันศิริรัตน์ นายชัยวุฒิ เกิดชื่น

เป้าหมายที่ตั้งไว้

1.พัฒนาตลาดขายอาหารปลอดภัยในห้างอาเซียนพลาซ่า โดยให้เกษตรกร ได้ออกร้านจำหน่ายอาหารปรุงสุก สินค้า Otop พืชผักผลไม้ ซึ่งมีร้านค้าประมาณ 30 ร้านค้า 2.กิจกรรมเสวนาให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ โดยนายกเหล่ากาชาดจังหวัดสงขลา ผู้บริหารโรงแรมวีแอล ดร.อมาวสี อัมพันศิริรัตน์ นายชัยวุฒิ เกิดชื่น

ผลที่เกิดขึ้น

1.เกษตรกรเกิดช่องทางที่จะจำหน่ายอาหารปลอดภัยในห้างสรรพสินค้า

2.ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย โภชนาการในครอบครัว การดูแลครอบครัว

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
8. ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่กระแสสินธุ์และท่าหิน

วันที่ 29 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อชี้แจงการดำเนินงานโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่กระแสสินธุ์และท่าหิน

ลักษณะกิจกรรม

ร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่ คุณถนอม คงเจียง รองนายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลชะแล้ และคุณสมกฤษณ์ มีปิด ปลัดเทศบาลเป็นผู้มาร่วมรับฟังแนวคิด
ในส่วนของ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหิน มี นายกองค์การบริหรส่วนตำบลท่าหินมาร่วมรับฟังแนวคิด

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่กระแสสินธ์และท่าหิน

ผลที่เกิดขึ้น

  • องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหินเป็นพื้นที่ที่มีข้อมูลด้านโภชนาการอยู่แล้ว เนื่องจากเคยมีการเก็บข้อมูลเพื่อเป็นพื้นที่เปรียบเทียบกับพื้นที่ชะแล้และควนรู ผู้บริหารคือ นายกองค์การบริหาร่วนตำบลท่าหินมีความยินดีที่จะให้ทาง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้ามาดำเนินงานต่อเพื่อให้เกิดแผนปฎิบัติการระดับตำบล และได้มอบหมายให้ คุณนิยม ซุ้นซิ่ม และคุณอรอุมา สะรโน เป็นผู้รับช่วงต่อ ทั้งนี้ได้กำหนดวันเพื่อทำแผนปฎิบัติการระดับตำบลในวันที่ 18 เมษายน 2559

  • เทศบาลตำบลเชิงแส เนื่องจากเป็นพื้นที่ใหม่ ดังนั้นจึงต้องอาศัยการเก็บข้อมูลด้านภาวะโภชนาการจาก รพ สต และจากหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง แต่ทั้งนี้ ผู้บริหารก็มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินโครงการให้เกิดผลสำเร็จ โดยได้กำหนดวันทำแผนปฏิบัติการระดับตำบลในวันที่ 25 เมษายน 2559

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
9. ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการตำบลรัตภูมิ

วันที่ 30 มีนาคม 2559 เวลา 10:00

วัตถุประสงค์

เพื่อชี้แจงการดำเนินโคงการด้านอาหารและโภชนาการ

ลักษณะกิจกรรม

ร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่ โดยผู้บริหารที่เข้ามาร่วมหารือ คือ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ ผอ.ส่วนการศึกษา ผอ.กองสวัสดิการสังคม

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ร่วมหารือกับผู้บริหารท้องถิ่นในการดำเนินโครงการอาหารและโภชนาการพื้นที่

ผลที่เกิดขึ้น

องค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิเป็นพื้นที่ที่มีข้อมูลด้านโภชนาการอยู่แล้ว เนื่องจากเคยมีการเก็บข้อมูลเพื่อเป็นพื้นที่เปรียบเทียบกับพื้นที่ชะแล้และควนรู ผู้บริหารมีความยินดีที่จะให้ทาง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้ามาดำเนินงานต่อเพื่อให้เกิดแผนปฎิบัติการระดับตำบล และได้มอบหมายให้ คุณบุญรักษ์ กิจสกุล ผู้อำนวยการกองการศึกษาในพื้นที่ เป็นผู้รับผิดชอบหลัก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

10. ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลชะแล้

วันที่ 5 เมษายน 2559 เวลา 10:00

วัตถุประสงค์

ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลชะแล้

ลักษณะกิจกรรม

จัดทำแผนปฏิบัติการปีที่ 3 ตำบลชะแล้

เป้าหมายที่ตั้งไว้

หารือการจัดทำแผนปฎิบัติการระดับตำบลชะแล้

ผลที่เกิดขึ้น

เกิดแผนปฏิบัติการปีที่ 3 คือ

  • ให้วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี่เข้ามาให้ความรู้ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพชุมชน เช่น การบรรยายให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการและให้คุณครูแลกเปลี่ยนข้อมูลภาวะโภชนาการของเด็กที่ได้จากการจัดการระบบอาหารกลางวัน

  • ทำระบบการติดตามประเมินผลภาวะโภชนาการจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไปสู่ครอบครัวโดยทำเป็นระบบฐานข้อมูล

  • การติดตามเยี่ยมบ้านดูแลสภาพแวดล้อมในครอบครัวเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาผอม เตี้ย และอ้วน

  • การทำพื้นที่เชื่อมโยงด้านความมั่นคงทางอาหารที่มีอยู่ในชุมชนเช่น เรื่อวเกษตร และปศุสัตว์

  • จัดให้นักเรียนในศูนย์พัฒฯาเด็กเล็กเข้าร่วมศึกษาดูงานด้านความมั่นคงทางอาหารในชุมชน

  • การจัดการอาหารในศูนย์พัมฯาเด็กเล็กเช่น การเลือกซื้อวัตถุดิบในการปรุงอาหาร การเพิ่มปริมาณไข่ และ ผักในมื้ออาหาร

  • กิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน ให้เน้นเป็นแหล่งงงเรียนรู้ด้านอาหาร การรักษาโรค สรรพคุณด้านอาหาร

  • การดำเนินการติดตั้งป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับการทำฟาร์มทะเล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
11. ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลควนรู

วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 09:30

วัตถุประสงค์

ทำแผนบูรณาการอาหาร ปี 3 ตำบลควนรู

ลักษณะกิจกรรม

จัดทำแผนปฏิบัติการปีที่ 3 ตำบลควนรู

เป้าหมายที่ตั้งไว้

หารือการจัดทำแผนปฎิบัติการระดับตำบลควนรู

ผลที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานด้านความมั่นคงทางอาหาร

1.1 สำรวจข้อมูลแหล่งผลิตอาหาร (วิธีการ ลงพื้นที่ พิกัดจุด GPS)         - นาข้าว อยู่บริเวณไหนบ้าง เป็นนาอินทรีย์ นาเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร   - ปศุสัตว์ (ไก่ หมู ปลา วัว) แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร   - ผัก อยู่บริเวณไหนบ้าง เป็นผักอินทรีย์ ผักเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร   - ผลไม้ อยู่บริเวณไหนบ้าง ผลไม้อินทรีย์ ผลไม้ที่ใช้สารเคมี ปริมาณเท่าไหร่ แหล่งซื้อ แหล่งขาย เป็นอย่างไร 1.2 จัดทำเป็นแผนที่อาหารของชุมชน ซึ่งแผนที่ต้องประกอบด้วย แหล่งอาหารแต่ละประเภท, โรงเรียน, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, ตลาด, วัด เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแหล่งผลิตอาหารกับผู้บริโภค

  1. แผนด้านอาหารปลอดภัย 2.1 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร     - เฝ้าระวังแปลงผลิตอาหาร ที่เป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดำเนินการเฝ้าระวังโดย รพ.สต     - ตั้งชมรม อย. น้อย ในชุมชน (3 โรงเรียน) โดยให้ รพ.สต เข้ามาอบรมเรื่องคุ้มครองผู้บริโภคให้กับ อย น้อย
        - ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในชุมชน เช่น การสำรวจร้านค้า กิจกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค การปลูกผักปลอดสารพิษ การลดการกินน้ำหวาน น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ

3.แผนงานด้านการส่งเสริมโภชนาการสมวัย 3.1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - การติดตามภาวะโภชนาการ - การคืนข้อมูลสุขภาพเด็ก (อ้วน ผอม เตี้ย ค่อนข้างผอม และเตี้ย และค่อนข้างอ้วน) โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพ (ภาวะโภชนาการ + คำแนะนำ) ให้ผู้ปกครองเด็กทุกเดือน
- เด็กกลุ่มเสี่ยง (ซีด , ขาดไอโอดีน)  ส่งต่อ รพ.สต เพื่อให้ยา - ใช้โปรแกรมการจัดการอาหารกลางวัน (INMU school lunch ) อย่างต่อเนื่อง - ครัวกลาง ให้ รพ.สต เข้ามาดูแลเรื่องหลักสุขาภิบาลอาหาร  การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร สุขภาพอนามัยของแม่ครัว การเลือกวัตถุดิบที่ปลอดภัย การเก็บรักษาเครื่องปรุงอาหาร - สื่อความรู้ ด้านอาหาร การติดป้ายธงโภชนาการในโรงเรียน


3.2. โรงเรียน จำนวน 3 แห่ง - โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรในโรงเรียน - การติดตามภาวะโภชนาการ  โดยการคืนข้อมูลสุขภาพ (อ้วน ผอม เตี้ย ค่อนข้างผอมและเตี้ย และค่อนข้างอ้วน) โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพ (ภาวะโภชนาการ + คำแนะนำ) ให้ผู้ปกครองเด็กทุกเดือน  ในเด็กกลุ่มเสี่ยง (ซีด , ขาดไอโอดีน)  ทำการส่งต่อ รพ.สต เพื่อให้ยา - การเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับโภชนการด้านอาหารภาคเรียนละ 1 ครั้ง - สร้างสื่อความรู้ ด้านอาหาร การติดป้ายธงโภชนาการในโรงเรียน - การจัดการปัญหาการขาดสารอาหาร โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น ใช้การประกวด  โดยแบ่งตามระดับชั้น เรื่องอาหารเช้า อาหารขยะ และอาหารหลัก 5 หมู่
- นำผลงานทำป้ายคำขวัญ ติดตามจุดสำคัญของชุมชน
- การประกวดสปอตโฆษณาผ่านวิทยุในประเด็นเรื่องอาหาร - จัดทำสปอตวิทยุ ผลงานที่ได้รับรางวัลเผยแพร่ในชุมชน - กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน อย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

/

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

/

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

  • photo
  • photo
  • photo
12. จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลท่าหิน

วันที่ 18 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำแผนบูรณาการ

ลักษณะกิจกรรม

-

เป้าหมายที่ตั้งไว้

-

ผลที่เกิดขึ้น

  • ครูในพื้นที่เข้าร่วมประชุมและแจ้งว่าทางโณงเรียนได้ทำการเกษตรในโรงเรียนโดยได้รบงบประมาณจากเอกชน

  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจาก รพ.สต มีข้อมูลด้านสุขภาพ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

13. จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลสิงหนคร

วันที่ 19 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

-

ลักษณะกิจกรรม

 

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ผลที่เกิดขึ้น

 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

 

14. อบรมแนวคิดการทำเกษตรปราณีตให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน

วันที่ 22 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกษตรกรที่อยู่ในกำกับดูแลของสำนักงานจังหวัดสงขลาและสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลามีความรู้ความเข้าใจแนวคิดการทำเกษตร 1 ไร่ 1 แสน

ลักษณะกิจกรรม

09:00-09:10 น. ชี้แจงการดำเนินโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุมชนจังหวัดสงขลา โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รองผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ                                   นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี  สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ

09:10-09:20 น.  ชี้แจงการดำเนินกิจกรรมเกษตรผสมผสานตามรอยเท้าพ่อ 1 ไร่ ได้หลายแสน โดย ผู้แทนจากสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา

09:20-10:20 น. บรรยายแนวคิดการทำเกษตรปราณีต 1 ไร่ 1 แสน โดย ผศ. ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ

10:20-10:30 น. กรณีศึกษาการทำเกษตรผสมผสานครบวงจรและการทำตลาดข้าวอินทรีย์ อนันต์ปันรักโดย คุณอรณพ สุวรรณโณ กลุ่มข้าวอนันต์ปันรัก

10:30-11:45 น. ระดมความคิดเห็นการดำเนินการทำเกษตรปราณีตให้ประสบความสำเร็จ โดย ดร.กอบชัย วรพิมพงษ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ

11:45-12:00 น. สรุปผลการระดมความคิดเห็นและปิดการประชุม

เป้าหมายที่ตั้งไว้

09:00-09:10 น. ชี้แจงการดำเนินโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชุมชนจังหวัดสงขลา โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รองผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ 09:10-09:20 น. ชี้แจงการดำเนินกิจกรรมเกษตรผสมผสานตามรอยเท้าพ่อ 1 ไร่ ได้หลายแสน โดย ผู้แทนจากสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา 09:20-10:20 น. บรรยายแนวคิดการทำเกษตรปราณีต 1 ไร่ 1 แสน โดย ผศ. ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ 10:20-10:30 น. กรณีศึกษาการทำเกษตรผสมผสานครบวงจรและการทำตลาดข้าวอินทรีย์ อนันต์ปันรักโดย คุณอรณพ สุวรรณโณ กลุ่มข้าวอนันต์ปันรัก 10:30-11:45 น. ระดมความคิดเห็นการดำเนินการทำเกษตรปราณีตให้ประสบความสำเร็จ โดย ดร.กอบชัย วรพิมพงษ์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ 11:45-12:00 น. สรุปผลการระดมความคิดเห็นและปิดการประชุม

ผลที่เกิดขึ้น

  • เกษตรกรมีความเข้าใจในแก่นแท้ของการทำเกษตร 1 ไร่ 1 แสน
  • หน่วยงานราชการเล็งเห็นความสำคัญและมีความสนใจที่จะดำเนินการเรื่องเกษตร 1 ไร่ 1 แสน เช่น นายอำเภอบางกล่ำที่มีความสนใจเป็นอย่างยิ่งที่จะให้เกษตรกรในพื้นที่ของตัวเองทำการเกษตรแบบผสมผสาน ก่อให้เกิดรายได้
  • เกษตรกรในแต่ละพื้นที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ไขปัญหาให้ตรงกับบริบทของพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
15. จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารระดับตำบลเชิงแส

วันที่ 25 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

-

ลักษณะกิจกรรม

-

เป้าหมายที่ตั้งไว้

-

ผลที่เกิดขึ้น

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
16. จัดทำแผนปฎิบัติการบูรณาการด้านอาหารตำบลรัตภูมิ

วันที่ 26 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

-

ลักษณะกิจกรรม

-

เป้าหมายที่ตั้งไว้

-

ผลที่เกิดขึ้น

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
17. อบรมโปรแกรม thai school lunch

วันที่ 28 เมษายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

  1. มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานอาหารกลางวันในโรงเรียน หลักการประเมินและการปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารกลางวัน
  2. สามารถใช้โปรแกรม INMU-SchoolLunch ในการกาหนดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพในโรงเรียน

ลักษณะกิจกรรม

08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน

09.00 น. -10.30 น. หลักการกาหนดมาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน         - มาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน         - คะแนนคุณภาพสารอาหาร         - เกณฑ์การประเมินคุณภาพสารอาหารผ่านรายวัน / สัปดาห์

10.30 น. -12.00 น. หลักการจัดสารับ อาหารกลางวัน หมุนเวียน

13.00 น. - 15.30 น. หลักการประเมินและปรับปรุงคุณค่าอาหาร กลางวันโรงเรียน - ฐานข้อมูลต่างๆ; กลุ่มเมนูอาหารต่างๆ

เป้าหมายที่ตั้งไว้

08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 น. -10.30 น. หลักการกาหนดมาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน - มาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียน - คะแนนคุณภาพสารอาหาร - เกณฑ์การประเมินคุณภาพสารอาหารผ่านรายวัน / สัปดาห์ 10.30 น. -12.00 น. หลักการจัดสารับ อาหารกลางวัน หมุนเวียน 13.00 น. - 15.30 น. หลักการประเมินและปรับปรุงคุณค่าอาหาร กลางวันโรงเรียน - ฐานข้อมูลต่างๆ; กลุ่มเมนูอาหารต่างๆ

ผลที่เกิดขึ้น

  • ครูผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมจำนวน 45 โรงเรียน จำนวน 80 คน
  • เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการ เช่น กองการศึกษาเข้าร่วมจำนวน 2 อำเภอจำนวน 3 คน
  • ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการเพิ่มมากขึ้นและสามารถนำโปรแกรมการจัดการอาหารกลางวันไปปรับใช้ในโรงเรียนของตนเองได้

-ครูผู้ดูแลเด็ก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
18. ศึกษาดูงานโครงการหลวงจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่

วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาวิธีการดำเนินงานของโครงกรหลวงและนำมาปรับใช้ในการทำ Matching model ในภาคใต้

ลักษณะกิจกรรม

  • ดูงานศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ

  • ดูงานพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ดอยแม่สลอง อำเภอปม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย

  • ดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
  • ดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
  • ดูงานร้านโอ้กะจู๋

เป้าหมายที่ตั้งไว้

10 พ.ค 59 ศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาพันธ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ 10 พ.ค 59 ศึกษาดูงานพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 11 พ.ค 59 ศึกษาดูงานพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน), ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม, ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่

ผลที่เกิดขึ้น

  • จากการดูงานที่ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิรินั้น เกษตรกรผู้เข้าร่วมดูงานได้รับความความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดเก็บเมล็ดพันธ์ การขยายเมล็ดพันธ์พืช การดำเนินโครงการทั้ง 4 โครงการคือ โครงการผลิตเมล็ดพันธ์พระราชทาน โครงการบ้านรชนี้มีรักปลูกผักกินเอง โครงการซอยนี้มีรักปลูกผักแบ่งปัน และโครงการผลิตเมล็ดพันธ์พระราชทานเพื่อนช่วยเพื่อน ทำให้เกษตรกรและเจ้าหน้าที่ที่เข้าร่วมดูงานเกิดแรงบันดาลใจในการกลับมาผลิตเมล็ดพันธ์พืชไว้เองเพื่อให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร

  • จากการศึกษาดูงานโครงการขยายผลโครงการหลวงดอยแม่สลอง เกษตรกรและผู้เข้าร่วมดูงานได้ร่วมฟังบรรยายและร่วมเพาะเมล็ดพันธ์พืช ขั้นตอยการเก็บเกี่ยว ขั้นตอนการจัดส่งวัตถุดิบไปส่งที่โครงการขยายผลหมอกจ๋ามเพื่อนำส่งผลิตผลไปยังโครงการหลวงที่เชียงใหม่เพื่อรอการจำหน่าย

  • จากการศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋ามเกษตรกรและผู้เข้าน่สมดูงานได้ร่วมฟังบรรยายและเลือกซื้อสินค้า และจากการบรรยายพบว่า ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋ามได้ดำเนินการพัฒนาและส่งเสริมพืชผัก พืชไร่ และไม้ผล โดยมีการส่งเสริมการปลูกผัก งานส่งเสริมเห็ดหอม และการส่งเสริมไม้ผล

  • จากการศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก เกษตรกรและผู้เข้าร่วมดูงานได้ร่วมฟังบรรยายพบว่า โครงการนี้ดำเนินการจัดพื้นที่ทำกินให้แก่ชาวเขาเผ่าแม้ว กะเหรี่ยง และคนเมืองใน บริเวณพื้นที่ โดยทำการส่งเสริม วิจัย และเพาะพันธุ์ให้แก่เกษตรกร ผลิตผล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
19. ประชุมแลกเปลี่ยนตำบลบูรณาการฯ

วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดการดำเนินการด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการที่สมวัย ให้เกิดขึ้นท้องถิ่น

ลักษณะกิจกรรม

  • นำเสนอการดำเนินงานของท้องถิ่นเก่าคือ เทศบาลตำบลชะแล้ และองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู
  • ผศ.ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิให้ข้อเสนอแนะ
  • ดร.เพ็ญ สุขมาก บรรยายเรื่อง “แผนที่ปลา” เพื่อให้แต่ละท้องถิ่นนำไปปรับใช้

เป้าหมายที่ตั้งไว้

08:30-09:00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม 09:00-09:20 น. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ กล่าวถึงความเป็นมาของโครงการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเพื่อสุขภาพประชาชนจังหวัดสงขลา 09:20-09:40 น. องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู นำเสนอการดำเนินงานเมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาและแผนการดำเนินงานที่จะทำต่อ 09:40-10:00 น. เทศบาลตำบลชะแล้ นำเสนอการดำเนินงานเมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาและแผนการดำเนินงานที่จะทำต่อ 10:00-10:10 น. เทศบาลเมืองสิงหนคร นำเสนอแผนการปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการด้านอาหารในพื้นที่เทศบาลเมืองสิงหนคร 10:10-10:20 น. เทศบาลตำบลเชิงแส นำเสนอแผนการปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการด้านอาหารในพื้นที่เทศบาลตำบลเชิงแส 10:20-10:30 น. องค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ นำเสนอแผนการปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการด้านอาหารในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ 10:30-11:00 น. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ให้ข้อคิดเห็นการนำเสนอแผนปฎิบัติการฯของแต่ท้องถิ่น 11:00-11:45 น. ดร. เพ็ญ สุขมาก บรรยายเรื่อง “แผนที่ปลา” เพื่อให้แต่ละท้องถิ่นนำไปปรับใช้ 11:45-12:00 น. สรุปและปิดการประชุม

ผลที่เกิดขึ้น

  • องค์การบริหารส่วนตำบลควนรูและเทศบาลตำบลชะแล้ ได้นำเสนอการปฏิบัติงานของตัวเองในปีที่ผ่านมา
  • เทศบาลที่เข้าร่วมโครงการใหม่ คือองค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ เทศบาลตำบลเชิงแส และเทศบาลเมืองสิงหนคร เกิดความเข้าใจกระบวนการทำงาน และมีแนวทางการดำเนินการด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการที่สมวัย ให้เกิดขึ้นท้องถิ่น โดยให้มีการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน เกิดการกระจายอาหาร จากชุมชนไปสู่โรงเรียน โรงพยาบาลและตลาดชุมชน
  • แต่ละท้องถิ่นถูกกระตุ้นให้เกิด การประยุกต์ใช้โปรแกรมการจัดการอาหารกลางวัน (INMU Thai school Lunch) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน โดยสามารถวางแผนการจัดเมนูอาหารได้ล่วงหน้า
  • จัดให้มีการพัฒนาศักยภาพท้องถิ่นตำบลบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ ให้มีความพร้อมการจัดทำแผนที่ระบบอาหารชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
20. ประชุมพัฒนาศักยภาพตำบลบูรณาการด้านอาหารและโภชนาการ เรื่องการจัดทำแผนที่ระบบอาหารชุมชน

วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อให้แต่ละเครือข่ายเกิดการเรียนรู้เรื่องการจัดทำแผนที่อาหาร

ลักษณะกิจกรรม

  • นักศึกษาปริญญาโทสอบป้องกันวิทยานิพนธ์เรื่องรูปแบบความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ควนรูและชะแล้
  • นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาร่วมระดมสมองและหาแนวทางการพัฒนา
  • เรียนรู้การจัดทำแผนที่ด้วย Google map

เป้าหมายที่ตั้งไว้

- นักศึกษาปริญญาโทสอบป้องกันวิทยานิพนธ์เรื่องรูปแบบความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ควนรูและชะแล้ - นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาร่วมระดมสมองและหาแนวทางการพัฒนา - เรียนรู้การจัดทำแผนที่ด้วย Google map

ผลที่เกิดขึ้น

  • องค์การบริหารส่วนตำบลควนรูและเทศบาลตำบลชะแล้ทราบข้อมูลผลจากการศึกษารูปแบบความมั่นคงทางอาหาร จากการรายงานผลวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโท

  • แต่ละท้องถิ่นเกิดการเรียนรู้เรื่อวการจัดเก็บข้อมูล

  • ท้องถิ่นทราบข้อมูลพื้นฐานของตัวเอง


    -ท้องถิ่นสามารถนำข้อมูลที่มีเป็นประเด็นตั้งต้นในการต่อยอด ขยายผล ไปสู่เรื่องอื่นๆ


    -เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างท้องถิ่น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
21. ระดมสมองเพื่อให้ได้แผนงาน/โครงการ แผนทรัพยากรมนุษย์ครั้งที่ 2

วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ได้แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์

ลักษณะกิจกรรม

 

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ผลที่เกิดขึ้น

 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

 

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

 

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

 

22. จังหวัดนครศรีธรรมราชดูงานตำบลบูรณาการตำบลควนรู

วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00

วัตถุประสงค์

เพื่อขยายผลตำบลบูรณาการจากจังหวัดสงขลาสูาจังหวัดนครศรีธรรมราช

ลักษณะกิจกรรม

  • ฟังบรรยายสรุปจากนายกองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู
  • ดูงานการใช้โปรแกรมการจัดากรอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ Thai school lunch ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูกรัก

  • ดูงานการทำเกษตรผสมสาน ณ สวนของ ดาบตำรวจเจริญ

  • รับประทานอาหารกลางวันแบบปิ่่นโตสายใยรักชุมชน ณ ศูนย์การเรียนรู้หนองเสาธง

  • ดูงานการทำเกษตรปราณีตในครัวเรือน ของนายสวัสดิ์ สุวรรณรัตน์

เป้าหมายที่ตั้งไว้

ดูงานตำบลบูรณาการ ณ องค์การบริหาร่วนตำบลควนรู

ผลที่เกิดขึ้น

  • ท้องถิ่นที่มาจากนครศรีธรรมราชเกิดความรู้ ความเข้าใจ และแนวคิดในการดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จจากองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู

  • ผู้เข้าร่วมเกิดแรงบันดาลใจในการพัฒนาท้องถิ่นตัวเอง

  • เกิดระบบความเชื่อมโยงในการขยายงานความมั่นคงทางอาหารจากจังหวัดสงขลาสู่จังหวัดนครศรีธรรมราช

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)

ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก

5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

 

6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ

มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน

 

7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ

สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้

ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)

 

8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ