รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่
งวดที่ 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ชื่อโครงการ การนำรูปแบบอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพโดยมีต้นแบบจากตลาดเกษตร ม.อ. ไปสู่ตลาดในชุมชน
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอควนกาหลง และเกษตรกรศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.รูปแบบในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการและปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของตลาดนัดสินค้าเกษตร | วันที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
คุณวรภัทร ไผ่แก้ว นำเสนอเรื่องรูปแบบในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการและปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของตลาดนัดสินค้าเกษตร ให้กับเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอควนกาหลง และเกษตรกร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 ท่าน เพื่อให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปรับระบบการดำเนินงานของสหกรณ์ประชารัฐ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้า และสัมภาษณ์ข้อมูลตลาดเกษตร ม.อ. ตลาดนัดต้นแบบ | วันที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้าที่จำหน่ายภายในตลาดเกษตร ม.อ. และสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้บริหารตลาดเกษตร ม.อ. ในวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 15.00-17.00 น. ณ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ |
เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้าที่จำหน่ายภายในตลาดเกษตร ม.อ. และสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้บริหารตลาดเกษตร ม.อ. ในวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 15.00-17.00 น. ณ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
อบรมการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1 | วันที่ 23 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำคุณวรภัทร ไผ่แก้วดำเนินกิจกรรมให้ความรู้วิธีการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ. มีเกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1จำนวน 45 ท่าน |
เกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1 จำนวน 45 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมได้ความรู้ารบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย เพื่อนำไปปรับใช้ในการดำเนินโครงการส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ ปี 2559 เพื่อใช้ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้ตรงกับความต้องการของตลาด ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
อบรมการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 2 | วันที่ 28 มีนาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดฝึกอบรมโครงการเรียนรู้สู่โลกกว้างกับอัจฉริยะ | วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตรวจเยี่ยมแปลงเกษตรกรผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. ต้นทางการผลิตสินค้า | วันที่ 30 เมษายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำวันที่ 30 เมษายน 2559 เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเกษตรกรในเครือข่ายจำนวน 20 ราย ร่วมเดินทางลงพื้นที่เพาะปลูกดังนี้
|
เกษตรกรภายในกลุ่มได้ศึกษาเรียนรู้แลกเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกพืชในรูปแบบต่างๆ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เสวนาขยายผลการดูงาน"เรื่องการปลูก แลโรงคัดแยกผักโครงการหลวง" | วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำคณาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าคณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมรับฟังเวทีกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ จำนวน 70 ท่าน โดยมีผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนดังนี้ 1. ดร.เทวี มณีรัตน์ 2.ดร.อดิเรก รักคง 3. นายสิน พรหมเทพ 4.นางวรภัทร ไผ่แก้ว 5.นายพงศ์เทพ ศรีเอียด |
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้"เรื่องการปลูกและคัดแยกผักโครงการหลวง" เพื่อนำมาต่อยอดในการทำโรงคัดแยกผักของ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มีคณาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าคณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมรับฟังจำนวน 70 ท่าน โดยมีผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนดังนี้ 1. ดร.เทวี มณีรัตน์ 2.ดร.อดิเรก รักคง 3. นายสิน พรหมเทพ 4.นางวรภัทร ไผ่แก้ว 5.นายพงศ์เทพ ศรีเอียด ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตัวแทนองค์กรภาครัฐและภาคธุรกิจจากจังหวัดเชียงราย ศึกษาดูงานตลาดสินค้าเกษตรต้นแบบ | วันที่ 22 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตัวแทนองค์กรภาครัฐและภาคธุรกิจจากจังหวัดเชียงราย ศึกษาดูงานแปลงเกษตรปลอดภัย ต้นแบบผู้ผลิตผักปลอดภัยตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 23 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การตลาดสร้างรายได้ เพิ่มกำไร ใส่ใจผู้บริโภค เทศบาลตำบลกำแพงเพชร | วันที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลาเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ. ตลาดต้นแบบการบริหารจัดการ | วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลา จำนวน 16 ท่านเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ. |
ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลา จำนวน 16 ท่านเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ. โดยมี ผศ.ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต ให้การต้อนรับ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้องๆชุมชนแออัดจันทร์วิโรจน์ เรียนรู้การทำเกษตรวิถีพอเพียง ณ ตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 16 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
แปลงสาธิตคนปลูกผักอินทรีย์ ถ่ายทอดวิธีการปลูกพืชปลอดสารพิษของเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
จัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดภัย ใช้วิธีชีวินทรีย์ แต่ละวันจะมีเกษตรกรประจำจุดคอยอธิบายให้ความรู้ให้กับผู้สนใจ โดยได้แบ่งพื้นที่การเพาะปลูกออกเป็นส่วนๆดังนี้
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตลาดเกษตร ม.อ. เข้าร่วม โครงการ "สงขลาเกษตรสุขภาพ เกษตรคุณภาพ เกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือกและนวัตกรรมการเกษตร" และ ลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า | วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำการประชุมเริ่มตั้งแต่เวลา 9.00 น. ณศาลากลางจังหวัดสงขลาและลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร
|
การประชุมเริ่มตั้งแต่เวลา 9.00 น. ณ ศาลากลางจังหวัดสงขลา และลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรโดยแบ่งออกเป็นช่วงเช้าและช่วงบ่าย ช่วงเช้า - ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ชี้แจงแผนการพัฒนา การส่งเสริมเกษตรกรในจังหวัดสงขลา - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ บรรยายแนะนำการบริหารจัดการเวลา การแบ่งสัดส่วนพื้นที่แปลงปลูกพืช - ดร.ทัศนี ขาวเนียม บรรยายการเตรียมแปลงดิน การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - ดร.เทวี มณีรัตน์ บรรยายแนะนำวิธีการกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการชีวินทรีย์ ช่วงบ่าย - ท่านผู้ว่าราชการสรุปบทเรียนให้กับเกษตรกร กิจกรรมการการสนันสนุนเกษตรกรในจังหวัดสงขลาที่กำลังจะดำเนินงาน - ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า ท๊อปซุปเปอร์มาเก็ต แม็กโคร บิ๊กซี โลตัส โอเดี่ยนแฟชั่นมอลล์ ชี้แจ้งการรับผักเข้าจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า และตอบข้อซักถามจากเกษตรกร - ร่วมลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร - เกษตรกรแต่ละพื้นที่ แต่ละชนิดพืชรวมกลุ่มกันปรึกษา แนวทางการทำการตลาดรวมกันในโอกาศต่อไป (กลุ่มกล้วยหอมทอง กลุ่มสมาทฟาร์มเมอร์ กลุ่มปลูกผักไฮโดร กลุ่มปลูกมะม่วงเบา ,พิมเสน กลุ่มไม้ผล กลุ่มอ้อยคั้นน้ำ ) ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
กลุ่มแม่บ้าน ผู้จำหน่าย ตลาดตำบลคูขุด และเกษตรกรในอำเภอสทิงพระ ศึกษาดูงานแปลงผักปลอดภัย และการจัดตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำกลุ่มแม่บ้าน ตลาดตำบลคูขุด และผู้จำหน่ายในอำเภอสทิงพระจำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานการแปลงผักปลอดภัยของคุณคำนึง สร้อยสีมาก และศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้า ณ ตลาดเกษตร ม.อ. |
กลุ่มแม่บ้าน ตลาดตำบลคูขุด และผู้จำหน่ายในอำเภอสทิงพระจำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานการแปลงผักปลอดภัยของคุณคำนึง สร้อยสีมาก และศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้า ณ ตลาดเกษตร ม.อ. ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดอบรมหลักสุขาภิบาลอาหาร การเลิกใช้โฟมพื่อพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหาร ให้กับตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่ ห้างอาเซียนพลาซ่าและโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ | วันที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมกับกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารกับผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการร้านอาหารในโรงเรียน รวมทั้งบุคลากรในโรงเรียน รวมจำนวน 150 คน โดยจัดอบรมที่ห้างอาเชียนพลาซ่า หาดใหญ่ |
ร่วมกับเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ร่วมกันประเมินร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โดยลงพื้นที่เก็บข้อมูลทางกายภาพก่อนให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร และผู้ประกอบการในโรงเรียน เข้ารับการอบรมความรู้เรื่องการจัดการสุขาภิบาลอาหารในวันที่ 27 กันยายน 2559 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
บรรยายความเป็นมาของชุมชนตลาดเกษตร ม.อ. ให้กับนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ | วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
คณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก12โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลาเกษตร ม.อ. | วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำคณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก 12 โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน รวมจำนวน 60 ท่าน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลาดเกษตร ม.อ. |
คณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก 12 โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน รวมจำนวน 60 ท่าน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของตลาดเกษตร ม.อ.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ในการนำไปสู่การเรียนการสอนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทั่วประเทศ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี ศึกษาดูงานกิจกรรมของเครือข่ายตลาดเกษตร ม.อ.และเยี่ยมชมมแปลงผักของเกษตรกรและโต๊ะปลูกของเครือข่ายเกษตรกรฯ | วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี จำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานแปลงปลูกผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง สร้อยสีมาก ในอำเภอสทิงพระ และร่วมปลูกผักบนโต๊ะ พร้อมศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าเกษตร ณ ตลาดเกษตร ม.อ. |
วันที่ 17 ตุลาคม เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี จำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานแปลงปลูกผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง สร้อยสีมาก ในอำเภอสทิงพระ และร่วมปลูกผักบนโต๊ะ พร้อมศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าเกษตร ณ ตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้เครือข่ายเกษตรกรโครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชอาหารในพื้นที่ป่าชุมชนทุ่งหัวเมืองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามวาระจังหวัดสงขลา (ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา) ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การยางแห่งประเทศไทย เขตภาคใต้ตอนล่าง ศึกษาดูงานเรื่องการจัดการทั้งระบบ ของตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ
|
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |