รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 59-ข-031
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 30 เมษายน 2560
1. ชื่อโครงการ การพัฒนานโยบายพืชร่วมยางที่มาจากการจัดสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด
2. รหัสโครงการ รหัสสัญญา 59-ข-031 ระยะเวลาโครงการ 22 มกราคม 2568 - 22 มกราคม 2568
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 กันยายน 2559 ถึงเดือน 28 กุมภาพันธ์ 2560
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. วิเคราะห์เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายพืชร่วมยาง | วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายพืชร่วมยาง ลักษณะกิจกรรมวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับพืชร่วมยาง 1. สถานการณ์ ปัญหาและผลกระทบจากระบบการทำสวนยางพาราของประเทศไทย 2. การจัดการปัญหายางพาราโดยนโยบายรัฐ 3. ทฤษฎีการดำรงชีพอย่างยั่งยืนเพื่อการขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยาง 4. ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง |
เป้าหมายที่ตั้งไว้วิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับพืชร่วมยาง 1. สถานการณ์ ปัญหาและผลกระทบจากระบบการทำสวนยางพาราของประเทศไทย 2. การจัดการปัญหายางพาราโดยนโยบายรัฐ 3. ทฤษฎีการดำรงชีพอย่างยั่งยืนเพื่อการขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยาง 4. ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยางผลที่เกิดขึ้นเกิดร่างเอกสารวิชาการวิเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายพืชร่วมยาง ซึ่งเอกสารที่วิเคราะห์จะเป็นเอกสารตั้งต้นในการนำไปจัดสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. วิเคราะห์เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบายพืชร่วมยาง | วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรมทีมวิจัยเสนอวิธีการขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยางเป็น 4 แนวทาง ดังนี้ 1) ชูนโยบายพืชร่วมยางเป็นแกนควบคู่กับการพัฒนายางพาราทั้งระบบ 2) สร้างสานึกรักพืชร่วมยางให้กับประชาชน นักเรียน และเจ้าหน้าที่รัฐ 3) ให้ความรู้แก่เกษตรกรและขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยาง 4) สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการจัดการความรู้ด้านพืชร่วมยาง โดยแนวทางการขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยางทั้ง 4 แนวทาง ดังกล่าว |
เป้าหมายที่ตั้งไว้- วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา - ศึกษาสาเหตุของปัญหา - ศึกษาแนวทางการจัดการปัญหายางพาราโดยนโยบายรัฐ - แนวคิดทฤษฎีการขับเคลื่อนการปลูกพืชร่วมยาง - ศึกษาปัจจัยเอื้อ/ ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมการปลูกพืชรผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. จัดเวทีสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายพืชร่วมยาง | วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00วัตถุประสงค์- ลักษณะกิจกรรม- |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ