การพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) ที่เชื่อมโยงภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และชุมชน

แผนงานอาหารปลอดภัย

by dezine @March,15 2016 11.55 ( IP : 202...17 )

รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 59-ข-013
งวดที่ 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)

ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) ที่เชื่อมโยงภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และชุมชน

กิจกรรมผลงาน
(ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี)
ผลสรุปที่สำคัญประเมินผล คุณภาพกิจกรรม
4321
เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอควนกาหลง และเกษตรกรศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.รูปแบบในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการและปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของตลาดนัดสินค้าเกษตร

วันที่ 9 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • คุณวรภัทร  ไผ่แก้ว นำเสนอเรื่องรูปแบบในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการและปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของตลาดนัดสินค้าเกษตร  โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 ท่าน

คุณวรภัทร  ไผ่แก้ว นำเสนอเรื่องรูปแบบในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการและปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานของตลาดนัดสินค้าเกษตร  ให้กับเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอควนกาหลง และเกษตรกร โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 24 ท่าน เพื่อให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการปรับระบบการดำเนินงานของสหกรณ์ประชารัฐ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้า และสัมภาษณ์ข้อมูลตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้าที่จำหน่ายภายในตลาดเกษตร ม.อ. และสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้บริหารตลาดเกษตร ม.อ. ในวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 15.00-17.00 น.  ณ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ 

เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  จังหวัดสงขลา เยี่ยมชม เก็บตัวอย่างสินค้าที่จำหน่ายภายในตลาดเกษตร ม.อ. และสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้บริหารตลาดเกษตร ม.อ. ในวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 15.00-17.00 น.  ณ ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1

วันที่ 23 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

คุณวรภัทร  ไผ่แก้วดำเนินกิจกรรมให้ความรู้วิธีการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ. มีเกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1จำนวน  45 ท่าน

เกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 1 จำนวน 45 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมได้ความรู้ารบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย เพื่อนำไปปรับใช้ในการดำเนินโครงการส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ ปี 2559 เพื่อใช้ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้ตรงกับความต้องการของตลาด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 2

วันที่ 28 มีนาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • คุณวรภัทร  ไผ่แก้วดำเนินกิจกรรมให้ความรู้วิธีการบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ.
  • มีเกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 2 จำนวน  39 ท่าน
  • เกษตรกร และเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์ จังหวัด สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา รุ่นที่ 2 จำนวน  39 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมได้ความรู้ารบริหารจัดการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัย เพื่อนำไปปรับใช้ในการดำเนินโครงการส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ ปี 2559 เพื่อใช้ในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้ตรงกับความต้องการของตลาด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

จัดฝึกอบรมโครงการเรียนรู้สู่โลกกว้างกับอัจฉริยะ

วันที่ 7 เมษายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • น้องนักเรียนโรงเรียนอัจฉริยะ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมสอนวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาล้างจาน และการทำปุ๋ยหมักของตลาดเกษตร ม.อ. พร้อมให้นักเรียนปฏิบัติจริง
  • น้องนักเรียนโรงเรียนอัจฉริยะ จำนวน 60 คน เข้าร่วมกิจกรรมสอนวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาล้างจาน และการทำปุ๋ยหมักของตลาดเกษตร ม.อ. พร้อมให้นักเรียนปฏิบัติจริง เพื่อเด็กนักเรียนได้เรียนรู้กิจกรรมนอกห้องเรียน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมทำความเข้ากับเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 12 เมษายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประชุมที่ห้อง 122 คณะทรัพยากรธรรมชาติ
โดยมีนางวรภัทร  ไผ่แก้วเป็นผู้ดำเนินการประชุม มีเกษตรกรและบุคลากรเข้าร่วมจำนวน 20 ท่าน

เกษตรกรในเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน และบุคลากรในคณะทรัพยากรธรรมชาติ เข้าร่วมจำนวน 20 ท่าน ได้ทำการปรึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ

  • แนวทางการดำเนินการโครงการMaะching Model ระหว่างผู้ผลิตและผู้ต้องการผลผลิต

  • การเพาะปลูกและจัดส่งผลผลิตสู่โรงคัดแยก

  • ศึกษาดูงานเพื่อนำมาจัดตั้งโรงคัดแยกผลผลิต และการตรวจสอบสินค้าเกษตร ให้ได้มาตรฐาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจเยี่ยมแปลงเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 30 เมษายน 2559 เวลา 07:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

วันที่ 30 เมษายน 2559 เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเกษตรกรในเครือข่ายจำนวน 20 ราย ร่วมเดินทางลงพื้นที่เพาะปลูกดังนี้

  • แปลงคุณคำนึง  สร้อยสีมาก และเกษตรกรในพื้นที่ อ.สทิงพระ จ.สงขลา

  • แปลงคุณทรงยศ  ศิวิไลกุล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

  • แปลงคุณควง  ประทุมทอง ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

เกษตรกรภายในกลุ่มได้ศึกษาเรียนรู้แลกเปลี่ยนวิธีการเพาะปลูกพืชในรูปแบบต่างๆ

  • แปลงของคุณคำนึงเป็นแปลงผักติดทะเลขนาด 2 ไร่ ตลอดระยะเวลา 6 ปี พี่คำนึงเล่าว่า ต้องซื้อขี้ไก่มาใส่ จนกลายเป็นดินสีดำ ที่ร่วนซุย ง่ายต่อการไถ พรวน ยกแปลง  สามารถปลูกผักปลอดภัย เป็นอาชีพเลี้ยงทั้งครอบครัวได้อย่างมั่นคง พี่คำนึงพาไปเยี่ยมชมสวนเครือข่าย ชื่อพี่พร  ที่ปลูกกล้วยน้ำว้าพื้นเมืองของสทิงพระ ในพื้นที่ 5 ไร่ พี่พรปลูกกล้วยยาวสองแถวตลอดแนว โดยขุดบ่อน้ำเป็นระยะๆ ด้านข้างเพื่อปลูกต้นกระจับ

  • แปลงผักไฮโดรโปนิกส์ ของคุณทรงยศ  ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนมาปลูกผักบนแคร่ครึ่งหนึ่ง ทำแปลงเกษตรในโรงเรือนหลังบ้าน  โรงเรือนสะอาด ใช้ระบบน้ำแบบสเปรย์พ่นโดยตั้งเวลาอัตโนมัติ  การปลูกผักบนโต๊ะทำให้จัดการได้ง่าย สะดวกสบาย และไม่ยุ่งยาก เพียงแต่ต้องลงทุนค่อนข้างสูงในครั้งแรก

  • แปลงของคุณควง ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ ที่เข้าไปค่อนข้างลึกพอสมควร  ไปถึงต้องตกใจเพราะคลองชลประทานแห้งไม่เหลือน้ำเลย  คุณควงบอกว่า น้ำเริ่มหมดมา 1 อาทิตย์แล้ว อีกสัก 5 วัน ต้นไม้ในสวนคงตายหมดเพราะขาดน้ำ  ไม่เคยคิดว่าในหาดใหญ่จะขาดแคลนน้ำขนาดนี้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ศึกษาดูงานต้นแบบการเพาะปลูกผัก และโรงคัดแยกสินค้าเกษตร

วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 07:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เดินทางไปศึกษาดูงานวันที่ 10-13 พ.ค. 2559 โดยมีกำหนดการดังนี้ 10  พฤษภาคม  2559 - ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ (จันกะผัก) - โครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย 11  พฤษภาคม  2559 - โครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย - ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม  ต.ท่าตอน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ - ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 12  พฤษภาคม  2559 - โรงคัดบรรจุโครงการหลวงแม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 13  พฤษภาคม  2559 - แปลงผักออแกนิคโอ้กะจู๋ จ.เชียงใหม่

วันที่ 10  พฤษภาคม  2559

  • ศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ (จันกะผัก) เรียนรู้วิธีการเพาะต้นกล้า การอนุบาลต้นกล้า การเพาปลูก การทำโรงเรือนในรูปแบบต่างๆ การหมักปุ๋ย การตกแต่งสินค้าเกษตรเพื่อจำหน่าย

  • ศึกษาดูงานโครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เรียนรู้วิธีการผสมดินเพาะเมล็ด การเก็บเกี่ยวผลผลิต การตกแต่งผลผลิตเพื่อส่งโรงคัดแยก

วันที่ 11  พฤษภาคม  2559

  • ศึกษาดูงานโครงการขยายผลโครงการหลวงแม่สลอง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เรียนรู้วิธีการนำต้นกล้าลงดิน

  • ศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม(โรงคัดแยกผลิตผล)  ต.ท่าตอน อ.แม่อาย จ.เชียงใหม่ เรียนรู้การดำเนินงานรับผลผลิตจากเกษตรกร การแยกเกรดสินค้าเกษตรเบื้องต้น การเก็บรักษาผลผลิต

  • ศึกษาดูงานศูนย์พัฒนาโครงการหลวงห้วยลึก อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ เรียนรู้วิธีการบริหารจัดการร่วมกับเกษตรกรในเครือข่าย การเพาะเมล็ด การปลูกพืชแบบออแกนิค การบริหารจัดการโรงคัดแยกผลิตผล

วันที่ 12  พฤษภาคม  2559

  • ศึกษาดูงานโรงคัดบรรจุโครงการหลวงแม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เรียนรู้ความเป็นมาของโครงการหลวง การดำเนินงานโรงคัดแยกผลผลิตขนาดใหญ่ที่มีกำลังการผลิตได้สูงสุด 100 ตันต่อวัน การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผลิตผลก่อนจำหน่าย และเรือนจำหน่ายผลผลิตของโครงการหลวง

วันที่ 13  พฤษภาคม  2559

  • ศึกษาดูงานแปลงผักออแกนิคโอ้กะจู๋ จ.เชียงใหม่ เรียนรู้วิธีการเพาะเมล็ด การปลูก การทำโรงเรือนแบบอย่างง่าย การหมักปุ๋ย การทำระบบน้ำ การตกแต่งและจำหน่ายผักออแกนิคในรูปแบบสลัดและสเต็ก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมเตรียมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างตลาดเกษตร ม.อ.กับ เกษตรกรจังหวัดเชียงราย

วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีเกษตรกร จำนวน 18 ราย เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ และอาจารย์เข้าร่วมจำนวน 5 ราย

  • ทบทวนคาวมรู้ สรุปบทเรียนการทำการเกษตรปลอดสารพิษ
  • วางแผนการจัดกิจกรรม และจัดเตรียมสถานที่ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากจังหวัดเชียงราย ในวันที่ 21-23/6/2559
  • วางแผนการทำแปลงสาธิตคนปลูกผักอินทรีย์  Matching Model  (ขั้นต้น) บนพื้นที่ของคณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • ได้หนดให้แปลงปลูกผักปลอดสารพิษ บ้านคุณทรงยศ สุวรรณานนท์ เกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านพรุ อ.หาดใหญ่  เป็นแปลงที่ 1 ที่จำให้คณะศึกษาดูงานเข้าชม  และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันที่ วันที่ 22  มิถุนายน
  • ได้หนดให้ดูงานที่แปลงผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง  สร้อยสีมาก เกษตรกรผู้ปลูกผักจำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ.  ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านดีหลวง อำเภอสทิงพระ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันที่ วันที่ 23  มิถุนายน
  • ได้หนดให้คณะศึกษาดูงาน"การจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ตลาดนัดต้นแบบ" พร้อมนำเสนอความเป็นมาของตลาดเกษตร ม.อ.  ซึ่งมีระยะเวลากว่า 15 ปี มีการบริหารจัดการ การพัฒนา การส่งเสริมผู้จำหน่ายผักผลไม้ การส่งเสริมเกษตรกผู้ปลูกผักปลอดสารพิษ ในวันที่ 22 มิถุนายน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เสวนาขยายผล"เรื่องการปลูกและคัดแยกผักโครงการหลวง"

วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

คณาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าคณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมรับฟังเวทีกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ จำนวน 70 ท่าน โดยมีผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนดังนี้ 1. ดร.เทวี มณีรัตน์  2.ดร.อดิเรก รักคง 3. นายสิน พรหมเทพ  4.นางวรภัทร ไผ่แก้ว  5.นายพงศ์เทพ ศรีเอียด

จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้"เรื่องการปลูกและคัดแยกผักโครงการหลวง" เพื่อนำมาต่อยอดในการทำโรงคัดแยกผักของ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มีคณาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าคณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมรับฟังจำนวน 70 ท่าน โดยมีผู้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนดังนี้ 1. ดร.เทวี มณีรัตน์  2.ดร.อดิเรก รักคง 3. นายสิน พรหมเทพ  4.นางวรภัทร ไผ่แก้ว  5.นายพงศ์เทพ ศรีเอียด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนการทำMatching Model ระหว่างตลาดเกษตร ม.อ.กับ นักธุรกิจ เกษตรกรจังหวัดเชียงราย

วันที่ 21 มิถุนายน 2559 เวลา 08:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 21 มิถุนายน ตลาดเกษตร ม.อ.ได้จัดบูทหน้าห้องแถลงข่าวการเซ็น Mou และห้องการเจรจาทางธุรกิจ เป็นนิทรรศการโครงการ Matching Model เครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน ตลาดเกษตร ม.อ.
  • วันที่ 22  มิถุนายน คณะดูงานจากจังหวัดเชียงรายเดินทางไปเยี่ยมชมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ ณ บ้านคุณทรงยศ สุวรรณานนท์ เกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านพรุ อ.หาดใหญ่
  • วันที่ 22  มิถุนายน(ช่วงบ่าย) ศึกษาดูงาน"การจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ตลาดนัดต้นแบบ" โดยมีท่านคณบดีผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต และคุณวรภัทร  ไผ่แก้ว  ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้การต้อนรับ
  • วันที่ 23  มิถุนายน ศึกษาดูงานที่แปลงผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง  สร้อยสีมาก เกษตรกรผู้ปลูกผักจำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ.  ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านดีหลวง อำเภอสทิงพระ
  • วันที่ 21 มิถุนายน ตลาดเกษตร ม.อ.ได้จัดบูทหน้าห้องแถลงข่าวการเซ็น Mou และห้องการเจรจาทางธุรกิจ เป็นนิทรรศการโครงการ Matching Model เครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน ตลาดเกษตร ม.อ. นำเสนอขั้นตอนการปลูกผักปลอดสารพิษ การเผาแกลบดำ การเตรียมดิน การทำปุ๋ยหมัก การใช้แมลงในธรรมชาติควบคุมศัตรูพืช แปลงปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อที่จะส่งมอมผักปลอดสารพิษ Matching กับผู้ผลิตอาหาร เช่น โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหาร เป็นต้น

  • วันที่ 22  มิถุนายน คณะดูงานจากจังหวัดเชียงรายเดินทางไปเยี่ยมชมแปลงปลูกผักปลอดสารพิษ ณ บ้านคุณทรงยศ สุวรรณานนท์ เกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านพรุ อ.หาดใหญ่ แปลงผักของคุณทรงยศ ทำการปลูกผักในโรงเรือนขนาดใหญ่ มีการแบ่งพื้นที่การเพาะปลูกออกเป็น 3 รูปแบบ
    ส่วนที่ 1 เป็นการปลูกผักบนโต๊ะ แบบไฮโดรโปนิกส์ มีผักหลากหลายชนิด เช่น คะน้า กวางตุ้ง ขึ้นฉ่าย กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค และผักสลัดชนิดอื่นๆ ส่วนที่ 2 เป็นการปลูกผักในกระถาง เช่น มะเขือเทศ เมล่อน บรอกโคลี
    ส่วนที่ 3 เป็นการปลูผักบนโต๊ะโดยใช้ดินและใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก มีผักจำพวกแครอท คะน้าเห็ดหอม คะน้าใบหยิก จิงจูฉ่าย ผักกาด และผักสลัดชนิดต่างๆ การปลูกผักของคุณทรงยศทั้งหมดไม่ได้ใช้ยากำจัดศัตรูพืช แต่จะใช้สารจำพวกจุลินทรีย์ เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมาดูแลแปลงผัก เช่น ใช้เชื้อราบิวเวอเรียในการควบคุมแมลงศัตรูพืช  ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อรา ภายในแปลงของคุณทรงยศได้วางระบบการเพาะปลูก การให้น้ำ  การดูแลวัชพืช การควบคุมโรคพืชไว้เป็นอย่างดีง่ายต่อการจัดการ ทำให้คณะศึกษาดูงานให้ความสนใจเป็นอย่างมาก

  • วันที่ 22  มิถุนายน(ช่วงบ่าย) ศึกษาดูงาน"การจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ตลาดนัดต้นแบบ" โดยมีท่านคณบดีผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต และคุณวรภัทร  ไผ่แก้ว  ผู้จัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้การต้อนรับพร้อมนำเสนอความเป็นมาของตลาดเกษตร ม.อ.  ซึ่งมีระยะเวลากว่า 15 ปี มีการบริหารจัดการ การพัฒนา การส่งเสริมผู้จำหน่าย การส่งเสริมผู้ใช้บริการ การส่งเสริมเกษตรกร ปัญหาในการดำเนินงาน  และความสำเร็จของตลาดเกษตร ม.อ. ตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน

  • วันที่ 23  มิถุนายน ศึกษาดูงานที่แปลงผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง  สร้อยสีมาก เกษตรกรผู้ปลูกผักจำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ.  ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ บ้านดีหลวง อำเภอสทิงพระ  เมื่อคณะศึกษาดูงานจากเชียงรายเดินทางมาถึงบ้านดีหลวงมีคณะบุคคลต่างๆให้การต้อนรับจำนวนมาก เช่น นายอนุสร  ตันโชติกุล  นายอำเภอสทิงพระ  กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน  ชาวบ้านในตำบลดีหลวง และมี ผศ.ดร.ปราโมทย์  แก้ววงศ์ศรี  รองคณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติร่วมให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงาน  แปลงผักของคุณคำนึง เป็นแปลงผักปลอดสารพิษ 100 %  ปลูกพืชผักหลากหลายชนิดผสมผสานกัน เช่น ถั่วฝักยาว มะเขือยาว  อัญชัน หัวไชเท้า กวางตุ้งดอก คะน้า ผักบุ้ง ผักโขมแดง  ผักโขมเขียว  แตงกวา กะเพรา และพืชผักอื่นๆอีกจำนวนมาก คณะศึกษาดูงานทุกคนตื่นเต้นกับการเยี่ยมชมแปลงครั้งนี้  พี่คำนึงได้ต้อนรับทุกคนด้วยลูกตาลโตนดอ่อน ปอกกันสดๆบริเวณหน้าแปลง และเมื่อเดินลงมาจะพบกับแปลงผักที่ทอดเป็นแนวยาวสีเขียวตัดกับสีแดงของผักโขมแดง สวยสดุดสายตาของทุกคนที่เยี่ยมชม  พร้อมคำเชื้อเชิญของพี่คำนึงให้ทุกคนลองเก็บถั่วฝักยาวและแตงกวามาลองชิม ทำให้ทุกคนได้พบกับความหวานกรอบอร่อยของผักปลอดสารพิษที่เก็บด้วยมือตนเอง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

จัดกิจกรรม การตลาดสร้างรายได้ เพิ่มกำไร ใส่ใจผู้บริโภค

วันที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ช่วงเช้าคุณวรภัทร  ไผ่แก้ว จัดกิจกรรมให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำตลาดอย่างยั่งยืน
  • นำคณะศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • มีผู้จำหน่ายและเจ้าหน้าที่ สำนักงานเทศบาลตำบลกำแพงเพชร เข้าร่วมจำนวน 50 ท่าน
  • ช่วงเช้าคุณวรภัทร  ไผ่แก้ว จัดกิจกรรมให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำตลาดอย่างยั่งยืน
  • นำคณะศึกษาดูงานต้นแบบจริง อย่างตลาดเกษตร ม.อ.
  • มีผู้จำหน่ายและเจ้าหน้าที่ สำนักงานเทศบาลตำบลกำแพงเพชร เข้าร่วมจำนวน 50 ท่าน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลาเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลา จำนวน 16 ท่านเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ (นายวิชัย โภชนกิจ) และพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสงขลา จำนวน 16 ท่านเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ. โดยมี ผศ.ทวีศักดิ์  นิยมบัณฑิต ให้การต้อนรับ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมการเลี่ยงไส้เดือนเพื่อผลิตรปุ๋ย และทบทวนความรู้การปลูกผักโดยชีววิธี

วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดฝึกอบรมวิธีการเลี่ยงใส้เดือนดิน
  • อบรมทบทวนความรู้ในการใช้ชีววิธีในการปลูกพืช

เกษตรกรในเครือข่ายจำนวน 24 ท่าน เข้าร่วมฝึกอบรมจากอาจารย์ ดร.เทวี มณีรัต เรื่องวิธีการเลี้ยงใส้เดือนดิน เพื่อกำจัดขยะเปียกในครัวเรือน และการผลิตปุ๋ยเพื่อปลูกผัก พร้อมทบทวนความรู้ในการใช้หลักชีววิธีในการป้องกันศัตรูและดูแลพืชผัก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

น้องๆชุมชนแออัดจันทร์วิโรจน์ เรียนรู้การทำเกษตรวิถีพอเพียง ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 16 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • น้องๆจากชุมชนแออัดจันทร์วิโรจน์จำนวน 25 คนเข้าร่วมกิจกรรม ทำบุ๋ยหมัก เผาแกลบดำ ทำดินผสม ปลูกผัก
  • ผู้จำหน่าย และเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ.จำนวน 25 คนร่วมกันจัดกิจกรรม
  • น้องๆจากชุมชนแออัดจันทร์วิโรจน์จำนวน 25 คนเรียนรู้การทำการเกษตรวิถีพอเพียง การทำปุ๋ยหมัก การเผาแกลบดำ การทำดินผสม การปลูกผัก
  • ผู้จำหน่าย และเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ.จำนวน 25 คนร่วมกันจัดกิจกรรม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมวางแผนการทำแปลงสาธิตคนปลูกผักอินทรีย์ Matching Model

วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 18:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ดำเนินจัดการประชุมเครือข่ายเกษตรกร ในวันที่ 22 กรกฎาคม ณ ห้องคลินิกเกษตรและเทคโนโลยี ตลาดเกษตร ม.อ. มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 22 คน โดยมีคุณวรภัทร์  ไผ่แก้ว และ ดร.เทวี  มณีรัตน์ เป็นผู้ดำเนินการประชุม

สรุปบทเรียนการทำแปลงเกษตรอินทรีย์ หลังจากเริ่มดำเนินทำแปลงสาธิตมาระยะ 1ครึ่ง  สรุปปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น เกิดปัญหามีหนอนระบาดในพืชกะหล่ำ ทำให้เกรงว่าจะไม่สามารถแก้ไขให้มีผลผลิตทัน ระบบน้ำบางส่วนยังไม่เพียงพอ  แรงดันน้ำต่ำไป  ผักน้ำเต้าขาควายมีแมลงเต่าแตงระบาด พืชกะหล่ำมีเชื้อราระบาด หัวไชเท้าโตเร็วเกินไป เป็นต้น  ในที่ประชุมจึงค้นหาแนวทางแก้ไขร่วมกันและดำเนินการแก้ไขทันที่ในวันที่ 23 กรกฎาคม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

แปลงสาธิตคนปลูกผักอินทรีย์ Matching Model

วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ดำเนินการออกแบบแปลงสาธิต นำเสนอการทำแปลงปลูกพืชผักในรูปแบบต่างๆ วางแผนการเพาะปลูกพืชผัก ดอกไม้ เพื่อให้มีผลผลิต และมีความสวยงามในช่วงระยะเวลาวันที่ 12-21 สิงหาคม 2559
  • เตรียมอุปกรณ์ในการทำแปลงผักในรูปแบบต่างๆตามแผนที่กำหนด และจัดเตรียมวัสดุเพาะปลูก เช่นแกลบดำ ขุยมะพร้าว มูลสัตว์ ดินผสม เป็นต้น
  • ปลูกพืชผักตามระยะเวลาในแผนการที่ร่วมกันออกแบบ ให้เหมาะสมกับสภาพแปลง และชนิดพืช
  • ร่วมกันดูแล รดน้ำ  เฝ้าระวังศัตรูพืชต่างๆ  และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินงาน
  • ตกแต่งแปลงเพาะปลูกให้สวนงามต้อนรับผู้ศึกษาดูงานการทำการเกษตรแบบอินทรีย์
  • จำหน่ายผลิตผลทางการเกษตร ของเกษตรกรในเครือข่ายในบริเวณหน้าแปลง
  • ภายในแปลงจัดให้มีวิทยากรประจำแต่ละจุด 1.จุดเผาแกลบ  ทำดินผสม  2.จุดแนะนำการใช้ชีวินทรีย์ในการปลูกพืช

จัดทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดภัย ใช้วิธีชีวินทรีย์ แต่ละวันจะมีเกษตรกรประจำจุดคอยอธิบายให้ความรู้ให้กับผู้สนใจ โดยได้แบ่งพื้นที่การเพาะปลูกออกเป็นส่วนๆดังนี้

  • แปลงสาธิตการปลูกผักบนโต๊ะ เป็นวิธีการปลูกพืชแนวใหม่ เพื่อแก้ปัญหาสำหรับการปลูกในพื้นที่จำกัด ไม่มีพื้นดิน หรือมีสภาพดินไม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก การปลูกบนโต๊ะสามารถผสมดินได้ตามความเหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด  การเพาะปลูกลักษณะนี้สามารถปลูกผักได้ทุกชนิด เช่น ผักสลัด ผักไทย ผักพื้นบ้าน ผลไม้บางชนิด (แคนตาลูป แตงจีน) ถ้าท่านมาถึงแล้วแนะนำให้เข้าไปชมโต๊ะปลูกผักเหนาะซึ่งมีผักหลายชนิดปลูกบนโต๊ะเดียวกัน

  • แปลงสาธิตการปลูกผักผสมผสาน ปลูกผักบนพื้นดินหลากหลายชนิดตั้งแต่
    ผักตระกูลกะหล่ำ คือ กะหล่ำปลี บล๊อคโคลี่ กะหล่ำดอก
    ผักอายุสั้น คือ คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง และผักโขม
    และผักอายุยาว คือ กะเพรา โหระพา และพริก
    ซึ่งผักทั้งหมดในทุกแปลงเน้นการปลูกโดยชีววิธี ผลิตผักปลอดภัยโดยไม่ใช้สารกำจัดศัตรูพืช

  • แปลงสาธิตพีระมิดผัก เป็นการปลูกผสมผสานระหว่างผักและดอกไม้ โดยตัวชั้นพีระมิดมี 4 ชั้น ในแต่ละชั้นปลูกผักสลัด กรีนโอ๊ค เรดโอ๊คสลับกัน มีวงกลมวงในล้อมด้วยดอกดาวเรืองฝรั่งเศส 2 สี ปลูกสลับกับบานชื่น 2 สี  สำหรับวงกลมวงนอกล้อมด้วยผักสลัด

  • แปลงสาธิตสกายวอล์คสะพานน้ำเต้าขาควาย ประกอบด้วย (1.) ตัวสะพาน ความยาวตัวสะพาน 20 เมตร ความกว้าง 3 เมตร และความสูง 1.7 เมตร  (2.) พื้นสะพาน ที่ทำจากไม้ไผ่ขัดสาน (3.) กระถางดอกไม้และผักกลางสะพาน  (4.) ค้างน้ำเต้าขาควาย มีโครงเป็นรูปทรงต่างๆ ที่ยึดติดกับตัวสะพาน สำหรับให้เถาของน้ำเต้าขาควายได้ปีนป่าย และเมื่อถึงคราวออกลูก ในแต่ละรูปทรงก็เป็นที่ยึดเกาะและตัวลูกห้อยลงมาให้เราได้มองลูกของน้ำเต้าใกล้ชิด  (5.) สำหรับตีนสะพานส่วนเป็นพื้นดิน ปลูกต้นผักโขม 2 สี สลับกัน
  • ศาลาใบเหรง ศาลาใบเหรง “เหรง” เป็นพืชตระกูลปาล์ม สามารถพบได้มากในพื้นที่ภาคใต้  การนำใบมามุงหลังคาสามารถทำได้โดย    ไม่ต้องใช้ตะปูหรือลวดเลย ศาลานี้ทำเพื่อเป็นที่พักร้อนหลังจากเสร็จจากลงแปลง เป็นที่เก็บอุปกรณ์การเกษตร สารชีวินทรีย์  เตรียมเพาะเมล็ด และเป็นโรงผสมดิน ลานดินบริเวณหน้าศาลาใบเหรงเป็นจุดเผาแกลบ เพื่อใช้ผสมดินเพาะปลูก  และควันไฟจากการเผาสามารถช่วยไล่แมลงได้อีกทางหนึ่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุม "สงขลาเกษตรสุขภาพ เกษตรคุณภาพ เกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือกและนวัตกรรมการเกษตร"

วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

การประชุมเริ่มตั้งแต่เวลา 9.00 น. ณศาลากลางจังหวัดสงขลาและลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร

  • ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ชีแจงแผนการพัฒนา การส่งเสริมเกษตรกรในจังหวัดสงขลา
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ บรรยายแนะนำการบริหารจัดการเวลา การแบ่งสัดส่วนพื้นที่แปลงปลูกพืช
  • ดร.ทัศนี ขาวเนียม บรรยายการเตรียมแปลงดิน การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเหยื่อ
  • ดร.เทวี มณีรัตน์ บรรยายแนะนำวิธีการกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการชีวินทรีย์
  • ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า ท๊อปซุปเปอร์มาเก็ต แม็กโคร บิ๊กซี โลตัส โอเดี่ยนแฟชั่นมอลล์ ชีแจ้งการรับผักเข้าจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า และตอบข้อซักถาม

การประชุมเริ่มตั้งแต่เวลา 9.00 น. ณ ศาลากลางจังหวัดสงขลา  และลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรโดยแบ่งออกเป็นช่วงเช้าและช่วงบ่าย

ช่วงเช้า - ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ชี้แจงแผนการพัฒนา การส่งเสริมเกษตรกรในจังหวัดสงขลา - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ บรรยายแนะนำการบริหารจัดการเวลา การแบ่งสัดส่วนพื้นที่แปลงปลูกพืช - ดร.ทัศนี ขาวเนียม บรรยายการเตรียมแปลงดิน การขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - ดร.เทวี มณีรัตน์ บรรยายแนะนำวิธีการกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธีการชีวินทรีย์

ช่วงบ่าย - ท่านผู้ว่าราชการสรุปบทเรียนให้กับเกษตรกร กิจกรรมการการสนันสนุนเกษตรกรในจังหวัดสงขลาที่กำลังจะดำเนินงาน - ผู้บริหารห้างสรรพสินค้า ท๊อปซุปเปอร์มาเก็ต แม็กโคร บิ๊กซี โลตัส โอเดี่ยนแฟชั่นมอลล์ ชี้แจ้งการรับผักเข้าจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า และตอบข้อซักถามจากเกษตรกร - ร่วมลงนาม MOU ความร่วมมือจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร - เกษตรกรแต่ละพื้นที่ แต่ละชนิดพืชรวมกลุ่มกันปรึกษา แนวทางการทำการตลาดรวมกันในโอกาศต่อไป (กลุ่มกล้วยหอมทอง กลุ่มสมาทฟาร์มเมอร์ กลุ่มปลูกผักไฮโดร กลุ่มปลูกมะม่วงเบา ,พิมเสน กลุ่มไม้ผล  กลุ่มอ้อยคั้นน้ำ )

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เกษตรกรในอำเภอสทิงพระ ศึกษาดูงานแปลงผักปลอดภัยของคุณคำนึง สร้อยสีมาก และตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

กลุ่มแม่บ้าน ตลาดตำบลคูขุด  และผู้จำหน่ายในอำเภอสทิงพระจำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานการแปลงผักปลอดภัยของคุณคำนึง สร้อยสีมาก และศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้า ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

กลุ่มแม่บ้าน ตลาดตำบลคูขุด และผู้จำหน่ายในอำเภอสทิงพระจำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานการแปลงผักปลอดภัยของคุณคำนึง สร้อยสีมาก และศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้า ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

จัดอบรมหลักสุขาภิบาลอาหาร การเลิกใช้โฟมพื่อพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหาร ให้กับตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่ ห้างอาเซียนพลาซ่าและโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่

วันที่ 27 กันยายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • คุณวรภัทร  ไผ่แก้วจัดอบรมหลักสุขาภิบาลอาหาร การเลิกใช้โฟมและการบริหารจัดการตลาดเพื่อพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหาร ให้กับตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่ ห้างอาเซียนพลาซ่าและโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 ท่าน จัดขึ้น ณ ห้องประชุมห้างอาเซียนพลาซ่า
  • คุณวรภัทร  ไผ่แก้วจัดอบรมหลักสุขาภิบาลอาหาร การเลิกใช้โฟมและการบริหารจัดการตลาด เพื่อพัฒนายกระดับสถานที่จำหน่ายอาหาร ให้กับตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่ ห้างอาเซียนพลาซ่าและโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 ท่าน จัดขึ้น ณ ห้องประชุมห้างอาเซียนพลาซ่า

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

บรรยายความเป็นมาของชุมชนตลาดเกษตร ม.อ. ให้กับนักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ

วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ  ม.อ.หาดใหญ่ จำนวน 50 คนเข้าร่วมรับฟังความหมาย ประวัติและคุณค่าของตลาดเกษตร ม.อ. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา พลวัตของภูมิปัญญาท้องถิ่น บทบาทของคนรุ่นใหม่ในการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • คุณวรภัทร  ไผ่แก้ว บรรยายให้นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ  ม.อ.หาดใหญ่ จำนวน 50 คนเข้าร่วมรับฟังความหมาย ประวัติและคุณค่าของตลาดเกษตร ม.อ. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา พลวัตของภูมิปัญญาท้องถิ่น บทบาทของคนรุ่นใหม่ในการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น  และศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุม Matching Model เกษตรกรในเครือข่ายกับผู้จำหน่ายอาหารในตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 10 - 12 ตุลาคม เก็บรวบรวมความสามารถในการเพาะปลูกผักของเกษตรกร และเครือข่ายเกษตรกร
  • วันที่ 10 - 12 ตุลาคมเก็บรวบรวมความต้องการผักของผู้จำหน่ายอาหารว่าง และอาหารคาว
  • ประชุมรอบที่ 1 ตั้งแต่ เวลา 9.00 - 12.00 น. มีผู้จำหน่ายผักผลไม้เข้าร่วมจำนวน 48 ราย  ร่วมกันกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยของการผลิตผัก-ผลไม้
  • ประชุมรอบที่ 2 ตั้งแต่เวลา 13.00- 16.30 น. มีผู้จำหน่ายเข้าร่วมจำนวน 152 ราย ร่วมกันจับคู่ซื้อขายผักปลอดภัย กำหนดราคาล่วงหน้าตลอดปี กำหนดวันเวลาในการจัดส่งผัก
  • เกษตรกรผู้จำหน่ายผัก-ผลไม้ ตกลงเพาะปลูกพืชให้กับผู้จำหน่ายอาหารว่างและอาหารคาว และทำการจับคู่เป็นพันธสัญญาระหว่างกัน  โดยได้กำหนดราคาซื้อขายล่วงหน้าเป็นราคาเดียวตลอดปี  พร้อมกำหนดปริมาณคาวมต้องการผัก  การจัดส่งผักแต่ละชนิดล่วงหน้า 1 ปี

  • มาตรฐานผัก-ผลไม้ ตลาดเกษตร ม.อ.เกิดจากการกำหนดร่วมกัน

1.ผัก-ผลไม้อมยิ้ม(สีส้ม) พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ผ่านการล้างหรือลดสารตกค้างแล้ว)

2.ผัก-ผลไม้ยิ้มแย้ม(สีเขียว)  พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน  ,  ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q)

3.ผัก-ผลไม้ยิ้มแฉ่ง(สีเงิน)  พืชผักไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด ใช่ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช

4.ผัก-ผลไม้หัวเราะ(สีทอง) พืชผักไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

คณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก12โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลาเกษตร ม.อ.

วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

คณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก 12 โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน รวมจำนวน 60 ท่าน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลาดเกษตร ม.อ.

คณะอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครูจาก 12 โรงเรียน ตชด พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบุคลากรจากกรมชลประทาน รวมจำนวน 60 ท่าน ศึกษาดูงานเทคโนโลยีการปลูกพิช ผัก และเทคโนโลยีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของตลาดเกษตร ม.อ.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ประสบการณ์ในการนำไปสู่การเรียนการสอนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทั่วประเทศ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี ศึกษาดูงานกิจกรรมของเครือข่ายตลาดเกษตร ม.อ.และเยียมชมมแปลงผักของเกษตรกรและโต๊ะปลูกของเครือข่ายเกษตรกรฯ

วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี จำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานแปลงปลูกผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง  สร้อยสีมาก ในอำเภอสทิงพระ และร่วมปลูกผักบนโต๊ะ พร้อมศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าเกษตร ณ ตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 17 ตุลาคม เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตร และเกษตรกรอำเภอนาทวี จำนวน 16 ท่าน ศึกษาดูงานแปลงปลูกผักปลอดสารพิษของคุณคำนึง  สร้อยสีมาก ในอำเภอสทิงพระ และร่วมปลูกผักบนโต๊ะ พร้อมศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าเกษตร ณ ตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อให้เครือข่ายเกษตรกรโครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชอาหารในพื้นที่ป่าชุมชนทุ่งหัวเมืองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามวาระจังหวัดสงขลา (ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

การยางแห่งประเทศไทย เขตภาคใต้ตอนล่าง ศึกษาดูงานเรื่องการจัดการทั้งระบบ ของตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 13:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • คณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทย เขตภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 13 ท่าน ร่วมศึกษาดูงาน  โดยมี ผศ.ทวีศักดิ์  นิยมบัณฑิตเป็นผู้ถ่ายทอดการบริหารจัดการทั้งระบบของตลาดเกษตร ม.อ.
  • คณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทย เขตภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 13 ท่าน ร่วมศึกษาดูงาน  โดยมี ผศ.ทวีศักดิ์  นิยมบัณฑิตเป็นผู้ถ่ายทอดการบริหารจัดการทั้งระบบ ปัญหา อุปสรรค ความสำเร็จของตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมการตรวจสารปนเปื้อนผลผลิตทางการเกษตร

วันที่ 27 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่  จำนวน 3 ท่านสอนวิธีการตรวจสารเคมีตกค้างในพืช ผัก ผลไม้ และวิธีการตรวจสารบอแรกซ์  สารฟอกขาว  สารกันรา สารอะฟลาทอกซิน การตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ ให้กับเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 5 ราย
  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ ตรวจหาสารเคมีตกค้างในพืช ผัก ผลไม้ และวิธีการตรวจสารบอแรกซ์  สารฟอกขาว  สารกันรา สารอะฟลาทอกซิน การตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ  ให้กับเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำความรู้และวิธีการไปตรวจหาสารตกค้างในตลาดเกษตร ม.อ. ต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายจำนวน 4 แปลง และของเครือข่ายเกษตรกรจำนวน 2 แปลง
  • ตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกำหนดมาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้
  1. ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น)
    2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q)
    3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

โดยเมื่อววันที่ 12 พฤศจิกายน ได้เริ่มดำเนินการลงพื้นที่แปลงเพาะปลูกของเกษตรกร

  • แปลงคุณอนุวัต ลัภกิตโร บ้านแม่ทอม ตำบลบางกล่ำ ร้านจำหน่ายผักปันสุข มีการปลูกต้นหอม วอเตอร์เกรต มะนาว มะระ แก่นตะวัน พริก ภายในแปลงมีการหมักปุ๋ยปลา หมักปุ๋ยอีเอ็ม หมักยากำจัดแมลง ทำน้ำส้มควันไม้ เลี้ยงไก่ไข่แบบอินทรีย์ เลี้ยงกิ่งกือให้ย่อยทะลายปาล์มมาเป็นปุ๋ย ซึ่งผักทั้งหมดที่คุณอนุวัตปลูกยื่นขอเป็นระดับหัวเราะทั้งหมด นอกจากนี้แล้วคุณอนุวัต ยังมีเครือข่ายเกษตรกรอีกหลายราย เช่น คุณอนุชิต(ขอเป็นระดับผักหัวเราะ) ปลูกผักโขมแดง ผักโขมเขียว คะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาดขาว ถั่วฝักยาว ผักหวาน แมงลัก โหรพา กระเจี๊ยบเขียว มะระขี้นก  และของคุณภิรมย์(ผักยิ้มแฉ่ง) ปลูกผักปูเล่ พริก ข้าวโพด กะเพรา ผักเหรียง ถั่วพลู ถั่วฝักยาว มะระ ใบเตย
  • แปลงคุณนรินทร์  ศรีสังข์ ตำบลคลองแห ปลูกมะระจีน แตงกวา ถั่วฝักยาว บัวบก มะละกอ กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ มะนาว ผักทั้งหมดใช้เป็นปุ๋ยอินทรี ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงและยาฆ่าหญ้า  คุณนรินทร์ยื่นขอเป็นผักหัวเราะทั้งหมด

  • แปลงคุณอรุณ  หมัดบิลเฮด(บังดำ) ตำบลคูเต่า  ปลูกอ้อย ผักน้ำ ผักกูด คะน้า ผักบุ้ง ขจร  ชมจันทร์ แปลงของบังดำได้ปรับเปลี่ยนจากการปลูกใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด(ระดับยิ้มแฉ่ง) มาเป็นผักหัวเราะไม่ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทุกชนิด ภายในแปลงมีการทำปุ๋ยหมักปลา และอีเอ็ม

  • แปลงคุณประสิน  นวนละออง ตำบลคลองอุ่ตะเภา  ร้านสลัดตาหวาน ปลูกผักระบบไฮโดรโปนิกส์ แบบใช้ปุ๋ยน้ำ ไม่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช(มาตราฐานผักระดับยิ้มแฉ่ง)  มีปลูกผักกรีนโอ๊ค  เรดโอ๊ค  บัตเตอร์เฮด ฟีเลย์ เรดคลอรอล คุณประสินใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าในการควบคุมโรค มีการวัดค่าPH และมีการจดบันทึกวัดค่าความเข้มข้นของปุ๋ยอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่ให้ผักมีไนเตรตตกค้างเกินค่ามาตรฐาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมผู้จำหน่ายสินค้าตลาดเกษตรกร ณ สำนักงานเกษตร จ. สงขลา

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ตลาดเกษตร ม. อ. ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดสงขลา จัดกิจกรรมเชิงบูรณาการความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร และการให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหารให้กับเกษตรกรในจังหวัดสงขลาจำนวน 25 ราย
  • ตลาดเกษตร ม. อ. ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดสงขลา จัดกิจกรรมเชิงบูรณาการความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร และการให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหารให้กับเกษตรกรในจังหวัดสงขลาจำนวน 25 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล สร้างเคือข่ายระบบตลาดครบวงจร (โอเดียน)

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. เก็บข้อมูลความต้องการใช้ผัก ของผู้จำหน่ายอาหารในห้างโอเดียนแฟชั่นมอล์บริเวณชั้น 5 จำนวน 11 ร้านจำหน่ายสินค้า  และร้านจำหน่ายอาหารตามสั่งให้กับนักท่องเที่ยว บนถนนเสน่หานุสรณ์
  • เจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. ได้เก็บข้อมูลความต้องการใช้ผัก ของผู้จำหน่ายอาหารในห้างโอเดียนแฟชั่นมอล์บริเวณชั้น 5 จำนวน 11 ร้านจำหน่ายสินค้า  และร้านจำหน่ายอาหารตามสั่งให้กับนักท่องเที่ยว บนถนนเสน่หานุสรณ์  ผู้ประกอบการส่วนใหญ่สนใจผักอินทรีย์เนื่องจากผักมีราคาสูงกว่าท้องตลาด ทำให้ผู้ประกอบการมีต้นทุนเพิ่มขึ้น และมีผู้ประกอบการบางส่วนให้การสนใจขอกลับไปทบทวนความเป็นไปได้ในการรับผักอินทรีย์มาประกอบอาหารจำหน่าย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  • ผักอินทรีย์มีราคาสูงกว่าท้องตลาดทั่วไป ทำให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารให้ความสนใจในการซื้อไปประกอบอาหารน้อย / ต้องสำรวจค้นหาผู้ประกอบการที่ให้การสนใจผักอินทรีย์ต่อไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 15:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายเครือข่ายเกษตรกรจำนวน 1 ราย 2 แปลง

  • ลงพื้นที่ตรวจแปลงคุณจีรวรรณ  ทะสะระ  ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่  แปลงผักคุณจีราวรรณ ปลูกผักบุ้ง มะระ แตงกวา ถั่วฝักยาว บวบเหลี่ยว  ถั่วลิสง บัวบก ถั่วฝักยาว ข้าวโพดหวาน มันเทศ ผักโขม โหรพา ข่า เห็ด ผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง  ทั้งนี้คุณจีรวรรณมีการเลี้ยงสัตว์เศรฐกิจ ไก่ไข่ นกกระทา วัวเนื้อ มีทำนา  มีกรีดยาง เป็นการเกษตรแบบครบวงจร สามารถสร้างรายได้ได้หลายช่อทาง สามารถนำมูลสัตว์มาทำปุ๋ยได้ นอกจากนี้ยังมี การหมักEM การเลี้ยงใส้เดือนเพื่อทำปุ๋ยโดยเฉาะอีกด้วย 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร

วันที่ 16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ตลาดเกษตร ม.อ. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร โดยเก็บตัวอย่างสินค้าเมื่อวันที่12/12/59 เพื่อตรวจหาสาร ฟอร์มาลีน สารกันรา  และสารฟอกขาว

ตลาดเกษตร ม.อ. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร โดยเก็บตัวอย่างสินค้าเมื่อวันที่12/12/59 เพื่อตรวจหาสาร ฟอร์มาลีน สารกันรา  และสารฟอกขาว ผลการตรวจไม่พบสารปนเปื้อน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 17 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยจำนวน 24 ท่านเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานการทำการเกาตรปลอดภัย
  • ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืชของคุณจีรวรรณ ทะสะระ ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ และแปลงคุณทรงยศ  สุวรรณานนท์ ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่
  • คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยจำนวน 24 ท่านเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงาน
  • แปลงผักคุณจีราวรรณ ปลูกผักบุ้ง มะระ แตงกวา ถั่วฝักยาว บวบเกลี่ยว  ถั่วลิสง มะพร้าว เพาะเห็ด  และมีการเลี้ยงสัตว์เศรฐกิจ ไก่ไข่ นกกระทา วัวเนื้อ  การทำการเกษตรของคุณจีรวรรณ จะทำแบบครบวงจร มีการเลี้ยงใส้เดือนเพื่อทำปุ๋ย  เลี้ยงไก่ไข่เพื่อจำหน่ายไข่ และนำมูลมาทำปุ๋ย รวมถึงเลี้ยงวัวเนื้อเพื่อจำหน่าย และนำมูลมาทำปุ๋ยให้กับผักในแปลงปลูก  การทำการเกษตรในลักษณะนี้ทำให้คุณจีรวรรณมีรายได้จากหลายช่องทาง  ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ได้ให้คณะศึกษาดูงานได้ทำแปลงปลูกผักบุ้ง เพื่อเรียนรู้วีธีการทำการเกษตร ด้วย
  • แปลงผักคุณทรงยศ สุวรรณานนท์ เกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านพรุ อ.หาดใหญ่ แปลงผักของคุณทรงยศ ทำการปลูกผักในโรงเรือนขนาดใหญ่ มีการแบ่งพื้นที่การเพาะปลูกออกเป็น ส่วนที่ 1 เป็นการปลูกผักในกระถาง เช่น มะเขือเทศ เมล่อน บรอกโคลี ส่วนที่ 2 เป็นการปลูผักบนโต๊ะโดยใช้ดินและใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก มีผักจำพวกแครอท คะน้าเห็ดหอม คะน้าใบหยิก จิงจูฉ่าย ผักกาด และผักสลัดชนิดต่างๆ การปลูกผักของคุณทรงยศทั้งหมดไม่ได้ใช้ยากำจัดศัตรูพืช แต่จะใช้สารจำพวกจุลินทรีย์ เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมาดูแลแปลงผัก เช่น ใช้เชื้อราบิวเวอเรียในการควบคุมแมลงศัตรูพืช  ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อรา ภายในแปลงของคุณทรงยศได้วางระบบการเพาะปลูก การให้น้ำ  การดูแลวัชพืช การควบคุมโรคพืชไว้เป็นอย่างดีง่ายต่อการจัดการ ทำให้คณะศึกษาดูงานให้ความสนใจเป็นอย่างมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

วันที่ 17 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายจำนวน 4 แปลง
  • ตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกำหนดมาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค โดยเมื่อววันที่ 17 ธันวาคม 2559 ได้เริ่มดำเนินการลงพื้นที่แปลงเพาะปลูกของเกษตรกร
  • แปลงคุณทรงยศปลูกผัก สลัดแก้ว เรดโอ๊ค กรีนโอ๊ค คะน้า บล็อกโคลี่ แครอท กล่ำปลี ผักกาดหอม ซึ่งผักทั้งหมดยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ ภายในแปลงของคุณทรงยศ  มีการทำปุ๋ยหมัก การเพาะเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า
  • แปลงผักคุณวันวิสาข์  ทองอ่อน ปลูกผักระบบไฮโดรโปนิก มีผักกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด ฟิลเล่ ซึ่งผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแย้ม และภายในฟาร์มมีการเพาะเลี้ยงใส้เดือนเพื่อนำมูลไส้เดือนมาทำเป็นน้ำหมัก ใส่ให้กับผักที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตดี แข็งแรง ทนต่อโรค
  • แปลงผลไม้ของคุณเรวดี  จินดามณี ปลูกทุเรียนหมอนทอง ชะนี ก้านยาว กระดุมทอง ทุเรียนบ้าน ลองกอง ลางสาด มังคุด มะม่วงเบา มะนาว สะตอข้าว ข้าวโพด จำปาดะ กล้วยชนิดต่างๆ ผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง และมีพริกขี้หนูสวน หน่อไม้ไผ่ตง ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ
  • แปลงคุณคณิต พุทธกูล ปลูกต้นหม่อนขายผลสด ผักหวาน พริก ถั่วพู ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง  และมีต้นกล้วยหิน กล้วยน้ำว้า เงาะ มะนาว ผักกูด สะตอ หน่อไม้ มะเขือพวง ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ และภายในแปลงปลูกมีการทำน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก
  • แปลงคุณนริน รอดเรือง  ปลูกผักสลัด คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ผักบุ้ง แตงกวา มะเขือ มะนาว บวบ พริก มะเขือพวงกล้วย ชะอม ดอกแค ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ ส่วนฟักทอง ฟักเขียว ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง และมะม่วง  มะละกอ แตงโม  ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแย้ม  ทั้งนี้ภายในแปลงเพาะปลูกของคุณนริน มีการทำดินผสม การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชนิดต่างๆด้วย 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรจำนวน 8 ราย ในพื้นที่ ม.7 , ม.11  ต.ท่าชะมวง และต.เขาพระ อำเภอรัตภูมิ และในพื้นที่ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่  จังหวัดสงขลา ประกอบด้วยแปลงปลูกผัก ผลไม้ เสวรส เห็ด พริก ผักเหรียง มะนาว หล้วยหอม ไผ่ และโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตามแฟ้มข้อมูลตรวจแปลงเกษตรกร 1 ตลาดเกษตร ม.อ.
  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรจำนวน 8 ราย ในพื้นที่ ม.7 , ม.11  ต.ท่าชะมวง และต.เขาพระ อำเภอรัตภูมิ และในพื้นที่ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่  จังหวัดสงขลา ประกอบด้วยแปลงปลูกผัก ผลไม้ เสวรส เห็ด พริก ผักเหรียง มะนาว หล้วยหอม ไผ่ และโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตามแฟ้มข้อมูลตรวจแปลงเกษตรกร 1 ตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 15 รายเข้าอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร  และเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 2 รายเข้ารับผึกอบรมการเป็นเทรนเนอร์ให้เกษตรกรผู้ที่ต้องการผ่านมาตรฐานPrimary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP

ตัวแทนเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 15 รายเข้าอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร  และเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 2 รายเข้ารับผึกอบรมการเป็นเทรนเนอร์ให้เกษตรกรผู้ที่ต้องการผ่านมาตรฐานPrimary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กองกิจการนักศึกษา ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ผู้อำนวยการกองกิจการนักศึกษา และบุคลากรกองกิจ ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำรูปแบบ แนวคิด วิธีการไปปรั้บใช้ในการจัดตั้งตลาดภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ผู้อำนวยการกองกิจการนักศึกษา และบุคลากรกองกิจ ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำรูปแบบ แนวคิด วิธีการไปปรั้บใช้ในการจัดตั้งตลาดภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายจำนวน 1 แปลง 
  • ได้กำหนดมาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

  • ลงพื้นที่ตรวจแปลงคุณวัชระพงศ์ ขุนจันทร์ แปลงปลูกเป็นโรงเรือนแบบปิดปลูกเมล่อนญี่ปุ่น และมะเขือเทศ ซึ่งยืนขอเป็นระดับผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q)  ทั้ง 2 ชนิด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

โรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร ตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เปิดรับผลผลิตอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก(ที่ผ่านการตรวจแปลงแล้ว)
  • ตัดแต่งผลผลิต และบรรจุภัณฑ์ ผักปลอดสารพิษเพื่อจำหน่าย
  • สุ่มตัวอย่างสินค้าเกษตร เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง
  • ส่งผักจำหน่ายให้กับผู้บริโภค โดยจัดส่งให้ร้านทรัพช้อป คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • โรงการแยกผลผลิตทางการเกษตร เปิดรับผลผลิตผักอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก นำมาคัดเลือกตัดแต่งผลผลิตให้มีคุณภาพ และใส่บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม เพื่อวางจำหน่ายให้กับผู้บริโภค ทั้งนี้เกษตรกรผู้ปลูก ต้องผ่านการตรวจสอบแปลงเพาะปลูกจากเจ้าหน้าที่  และสินค้าเกษตรเมื่อนำเข้าสู่โรงคัดแยกผลิตผลจะมีการสุ่มตัวอย่างสินค้าเกษตร เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง อีกหนึ่งครั้งเพื่อเป็นการยืนยันถึงคุณภาพความปลอดภัยของสินค้าเกษตร และเมื่อผ่านการตัดแต่งและการบรรจุภัณฑ์เรียบร้อยแล้วจะส่งผักจำหน่ายให้กับผู้บริโภค โดยจัดจำหน่ายในร้านทรัพช้อป คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ค่าตอบแทนลงบัญชีและค่าตอบแทนลงข้อมูลในเว็บไซต์

วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์
  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์ตามความเป็นจริง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร

วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร
  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตรที่ส่งมายัง โรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร ตลาดเกษตร ม.อ. สม่ำเสมอ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร การให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้กับผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา 

บรรยายให้ความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร การให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้เป็นตลาดที่ประสบความสำเร็จ  ให้กับผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุม Matching Model ส่งผักจากเกษตรกรให้กับผู้จำหน่ายอาหารโดยตรง

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมผู้จำหน่ายโซนอาหารว่าง อาหารคาว และเกษตรกรรวมจำนวน 90 ราย ณ ห้อง 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสรุปปัญหา และแนวทางแก้ไขในการทำการ Matchang ผักปลอดภัยระหว่างผู้จำหน่ายและเกษตรกร และเพิ่มการจับคู่รับ-ส่ง ผลผลิตรผักปลอดภัยให้มีปริมาณมากยิ่งขึ้น
  • ประชุมผู้จำหน่ายโซนอาหารว่าง อาหารคาว และเกษตรกรรวมจำนวน 90 ราย ณ ห้อง 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสรุปปัญหา และแนวทางแก้ไขในการทำการ Matchang ผักปลอดภัยระหว่างผู้จำหน่ายและเกษตรกร และเพิ่มการจับคู่รับ-ส่ง ผลผลิตรผักปลอดภัยให้มีปริมาณมากยิ่งขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมการดูแลผลิตผลทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 16 ก.พ.60 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลผลิตรหลังการการเก็บเกี่ยว เพื่อให้สามารถยืดอายุผลผลิตรให้ยาวนานขึ้น ลดอัตราการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว บรรยายโดย ดร.อดิเรก รักคง ผู้เชี่ยวชาญสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  กิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมจำนวน 30 ราย
  • วันที่ 16 ก.พ.60 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลผลิตรหลังการการเก็บเกี่ยว เพื่อให้สามารถยืดอายุผลผลิตรให้ยาวนานขึ้น ลดอัตราการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว บรรยายโดย ดร.อดิเรก รักคง ผู้เชี่ยวชาญสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีเกษตรกรร่วมจำนวน 30 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักสลัดคอส ผักสลัดแก้ว ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักสลัดเรดโอ๊ค และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ร้านทัศปัน ซึ่งจำหน่ายอาหารตามสั่ง ขนมปัง อาหารว่าง เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักสลัดคอส ผักสลัดแก้ว ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักสลัดเรดโอ๊ค และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ร้านทัศปัน ซึ่งจำหน่ายอาหารตามสั่ง ขนมปัง อาหารว่าง เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ศูนย์จำหน่ายอาหารห้างห้างสยามนครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
  • จัดส่งผักจำหน่าย(ขายปลีก) ผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับข้าราชการ พนักงาน ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้
  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ศูนย์จำหน่ายอาหารห้างห้างสยามนครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
  • จัดส่งผักจำหน่าย(ขายปลีก) ผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับข้าราชการ พนักงาน ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้

เพิ่มช่องทางให้กับผู้ประกอบการสามารถเลือกรับผักปลอดภัยมาประกอบอาหาร และทำให้ผู้บริโภคมีอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เกษตรกรจากนิคมพึ่งตนเอง อ.รัตภูมิ ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ. และการเข้าร่วมเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ โครงการ Matching Model ตลาดเกษตร ม.อ.

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เกษตรกรในพื้นที่อำเภอรัตภูมิจำนวน 8 ราย ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย และการเข้าร่วมโครงการ Matching Model ของตลาดเกษตร ม.อ. และพร้อมกับได้ศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ.
  • เกษตรกรในพื้นที่อำเภอรัตภูมิจำนวน 8 ราย ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย และเข้าร่วมโครงการ Matching Model ปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อจัดส่งให้โรงคัดแยกผักตลาดเกษตร ม.อ. และพร้อมกับได้ศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงเช้า คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ทิพากร ลงพื่นที่แปลงผักอินทรีย์ และพริกปลอดภัย ในพื่นที่ ต.ทุ่งลุง พร้อมแนะนำให้ความรู้การทำแปลงผัก การใส่ปุ๋ย การดูแลแมลงศัตรูพืช กับเกษตรกร

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงบ่าย คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ เดินทางมาพบปะกับเกษตรกรผู้จำหน่ายผักปลอดภัยในตลาดเกษตร ม.อ.  และศึกษาการทำการตลาดของตลาดเกษตร ม.อ.

  • วันที่ 25 ก.พ. 60 คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับเกษตรกร คณาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติ ณ ห้อง 122 คณะทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 50 ท่าน

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงเช้า คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ทิพากร ลงพื่นที่แปลงผักอินทรีย์ และพริกปลอดภัย ในพื่นที่ ต.ทุ่งลุง พร้อมแนะนำให้ความรู้การทำแปลงผัก การใส่ปุ๋ย การดูแลแมลงศัตรูพืช กับเกษตรกร

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงบ่าย คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ เดินทางมาพบปะกับเกษตรกรผู้จำหน่ายผักปลอดภัยในตลาดเกษตร ม.อ.  และศึกษาการทำการตลาดของตลาดเกษตร ม.อ.

  • วันที่ 25 ก.พ. 60 คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับเกษตรกร คณาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติ ณ ห้อง 122 คณะทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 50 ท่าน

ทำให้เกษตรกรในโครงการได้รับความรู้ เทคการปลูกผักอินทรีย์ เกิดความมั่นใจในการเพาะปลูก การขยายพื้นที่เพาะปลูก การทำการตลาดในการจำหน่ายผักอินทรีย์ปลอดสารพิษมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 14:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

สภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วมด้านการเกษตร เกษตรกร เกษตรจังหวัด หอการค้าจังหวัด มหาวิทยาลัยบูรพา และเจ้าหน้าที่ สสส. ในโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี  จำนวน 45 ท่าน ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการ และการสร้างเครือข่ายเกษตรกร ของตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

สภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วมด้านการเกษตร เกษตรกร เกษตรจังหวัด หอการค้าจังหวัด มหาวิทยาลัยบูรพา และเจ้าหน้าที่ สสส. ในโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี  จำนวน 45 ท่าน ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการ และการสร้างเครือข่ายเกษตรกร ของตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

เพื่อทราบถึงรูปแบบการบริหารจัดการ ประวัติความเป็นมา และอุปสรรคการดำเนินงาน เครือข่ายเกษตรกร และตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำไปปรับใช้ในการจัดการตลาดสินค้าเกษตรจังหวัดจันทบุรี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-