การพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) ที่เชื่อมโยงภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และชุมชน

แผนงานอาหารปลอดภัย

by dezine @March,15 2016 11.55 ( IP : 202...17 )
รายละเอียดโครงการ
ข้อตกลงเลขที่ 59-ข-013
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบตลาดครบวงจร (Matching Model) ที่เชื่อมโยงภาคธุรกิจ ภาควิชาการ และชุมชน
ชุดโครงการ แผนงานอาหารปลอดภัย
ผู้รับผิดชอบโครงการ คุณวรภัทรไผ่แก้ว
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2559 - 31 มกราคม 2560
งบประมาณ 600,000.00 บาท
พี่เลี้ยงติดตามสนับสนุนโครงการ
  • wannawanna(Trainer)
  • kemineekeminee(Owner)
  • worapatworapat(Owner)
  • พงศ์เทพพงศ์เทพ(Owner)
  • hamidahamida(Owner)
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ
  • พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งผลิตผลสู่โรงคัดแยก
  • ก่อตั้งโรงคัดแยกผลผลิต และศูนย์ตรวจสอบผลผลิตทางการเกษตรที่ได้มาตรฐาน
กิจกรรมสำคัญ
  • การก่อตั้งโรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร
  • สร้างศูนย์ตรวจสอบผลผลิตทางการเกษตร ก่อนจำหน่าย
  • ออกแบบตราผลิตภัณฑ์ และออกแบบบรรจุภัณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย

เกษตรกรในเครือข่ายธุรกิจเกษตรชุมชน และเกษตรกรผู้ปลูกผักปลอดภัยจังหวัดสงขลา

พื้นที่ดำเนินการ
สถานภาพโครงการ กำลังดำเนินโครงการ

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 2 มีนาคม 2560 17:05:20
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:43:11 น.

ชื่อกิจกรรม : เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ

  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo เกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศเกษตรกรในเครือข่ายฯแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์กับเกษตรกร ระดับประเทศ
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อสร้างความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการปลูกผักอินทรีย์ จากเกษตรกรผู้ประสบความสำเร็จ

กิจกรรมตามแผน

  • เชิญคุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ทิพากร เจ้าของฟาร์มผักอินทรีย์ เชียงดาวฟาร์ม และดำรงตำแหน่งรองประธานฝ่ายเกษตรอินทรีย์และเกษตรแปรรูป สมาพันธุ์ SME ไทย  จังหวัดเชียงใหม่  มาแลกเปลี่ยนความรู้การทำผักอินทรีย์ ให้กับเกษตรกรในโครงการ Matching Model  ของตลาดเกษตร ม.อ. เป็นระยะเวลา 2 วัน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงเช้า คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ทิพากร ลงพื่นที่แปลงผักอินทรีย์ และพริกปลอดภัย ในพื่นที่ ต.ทุ่งลุง พร้อมแนะนำให้ความรู้การทำแปลงผัก การใส่ปุ๋ย การดูแลแมลงศัตรูพืช กับเกษตรกร

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงบ่าย คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ เดินทางมาพบปะกับเกษตรกรผู้จำหน่ายผักปลอดภัยในตลาดเกษตร ม.อ.  และศึกษาการทำการตลาดของตลาดเกษตร ม.อ.

  • วันที่ 25 ก.พ. 60 คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับเกษตรกร คณาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติ ณ ห้อง 122 คณะทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 50 ท่าน

ผลตามแผน

  • เกษตรกรในโครงการได้รับความรู้ เทคการปลูกผักอินทรีย์ สร้ามความมั่นใจในการเพาะปลูก การขยายพื้นที่เพาะปลูก การทำการตลาดในการจำหน่ายผักอินทรีย์ปลอดสารพิษมากขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงเช้า คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ทิพากร ลงพื่นที่แปลงผักอินทรีย์ และพริกปลอดภัย ในพื่นที่ ต.ทุ่งลุง พร้อมแนะนำให้ความรู้การทำแปลงผัก การใส่ปุ๋ย การดูแลแมลงศัตรูพืช กับเกษตรกร

  • วันที่ 24 ก.พ. 60  ช่วงบ่าย คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ เดินทางมาพบปะกับเกษตรกรผู้จำหน่ายผักปลอดภัยในตลาดเกษตร ม.อ.  และศึกษาการทำการตลาดของตลาดเกษตร ม.อ.

  • วันที่ 25 ก.พ. 60 คุณเสริมพงศ์  ทรรปณ์ ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ ร่วมกับเกษตรกร คณาจารย์คณะทรัพยากรธรรมชาติ ณ ห้อง 122 คณะทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 50 ท่าน

ทำให้เกษตรกรในโครงการได้รับความรู้ เทคการปลูกผักอินทรีย์ เกิดความมั่นใจในการเพาะปลูก การขยายพื้นที่เพาะปลูก การทำการตลาดในการจำหน่ายผักอินทรีย์ปลอดสารพิษมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
5,400.00 0.00 22,050.00 0.00 0.00 0.00 27,450.00
24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 14:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 3 มีนาคม 2560 11:00:42
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:42:26 น.

ชื่อกิจกรรม : โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ

  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  • photo โครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมตามแผน

สภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วมด้านการเกษตร เกษตรกร เกษตรจังหวัด หอการค้าจังหวัด มหาวิทยาลัยบูรพา และเจ้าหน้าที่ สสส. ในโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการ และการสร้างเครือข่ายเกษตรกร ของตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

สภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วมด้านการเกษตร เกษตรกร เกษตรจังหวัด หอการค้าจังหวัด มหาวิทยาลัยบูรพา และเจ้าหน้าที่ สสส. ในโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี  จำนวน 45 ท่าน ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการ และการสร้างเครือข่ายเกษตรกร ของตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • ได้ทราบถึงรูปแบบการบริหารจัดการ ประวัติความเป็นมา และอุปสรรคการดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำไปปรับใช้ในการจัดการตลาดสินค้าเกษตรจังหวัดจันทบุรี

ผลที่เกิดขึ้นจริง

สภาเกษตรกรจังหวัดจันทบุรี ประกอบด้วยผู้มีส่วนร่วมด้านการเกษตร เกษตรกร เกษตรจังหวัด หอการค้าจังหวัด มหาวิทยาลัยบูรพา และเจ้าหน้าที่ สสส. ในโครงการพัฒนาต้นแบบส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้สู่เมืองแห่งสุขภาวะดี จ.จันทบุรี  จำนวน 45 ท่าน ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการ และการสร้างเครือข่ายเกษตรกร ของตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ และเยี่ยมชมตลาดเกษตร ม.อ.

เพื่อทราบถึงรูปแบบการบริหารจัดการ ประวัติความเป็นมา และอุปสรรคการดำเนินงาน เครือข่ายเกษตรกร และตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำไปปรับใช้ในการจัดการตลาดสินค้าเกษตรจังหวัดจันทบุรี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,200.00 0.00 2,500.00 0.00 0.00 0.00 4,700.00
22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 2 มีนาคม 2560 16:34:18
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:39:07 น.

ชื่อกิจกรรม : เกษตรกรจากนิคมพึ่งตนเอง อ.รัตภูมิ ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ. และการเข้าร่วมเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ โครงการ Matching Model ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • ขยายเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ โครงการ Matching Model ตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมตามแผน

  • ประชุมหาความร่วมมือการเป็นเครือข่ายเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อส่งผักเข้าโครงการ Matching Model ตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เกษตรกรในพื้นที่อำเภอรัตภูมิจำนวน 8 ราย ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย และการเข้าร่วมโครงการ Matching Model ของตลาดเกษตร ม.อ. และพร้อมกับได้ศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • เกษตรกรผู้เข้าร่วมได้ทราบแนวทางการรับผักปลอดสารพิษในโครงการMatching Model ตลาดเกษตร ม.อ. และส่งผักเข้าร่วมโรงการ เพื่อให้เครือข่ายมีผักปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรในพื้นที่อำเภอรัตภูมิจำนวน 8 ราย ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์เพื่อจำหน่าย และเข้าร่วมโครงการ Matching Model ปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อจัดส่งให้โรงคัดแยกผักตลาดเกษตร ม.อ. และพร้อมกับได้ศึกษาดูงานการจำหน่ายสินค้าผักปลอดภัย ของตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 2,600.00 0.00 0.00 0.00 4,600.00
21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 2 มีนาคม 2560 16:18:37
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 2 มีนาคม 2560 16:24:23 น.

ชื่อกิจกรรม : Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

กิจกรรมตามแผน

  • จัดส่งผักปลอดภัยในตราตลาดเกษตร ม.อ. ให้จำหน่ายอาหารในพื้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ศูนย์จำหน่ายอาหารห้างห้างสยามนครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
  • จัดส่งผักจำหน่าย(ขายปลีก) ผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับข้าราชการ พนักงาน ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้

ผลตามแผน

  • เพิ่มช่องทางให้กับผู้ประกอบการสามารถเลือกรับผักปลอดภัยมาประกอบอาหาร และทำให้ผู้บริโภคมีอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ศูนย์จำหน่ายอาหารห้างห้างสยามนครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
  • จัดส่งผักจำหน่าย(ขายปลีก) ผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ผักโขม ชุ่นฉ่าย ผักสลัดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค สลัดแก้ว และแตงกวาปลอดภัย ให้กับข้าราชการ พนักงาน ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้

เพิ่มช่องทางให้กับผู้ประกอบการสามารถเลือกรับผักปลอดภัยมาประกอบอาหาร และทำให้ผู้บริโภคมีอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2560 11:14:31
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 17 มีนาคม 2560 09:21:51 น.

ชื่อกิจกรรม : Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • Matching Model ผักปลอดสารพิษส่งตรงให้กับร้านจำหน่ายอาหารในอำเภอหาดใหญ่

กิจกรรมตามแผน

  • จัดส่งผักปลอดภัยในตราตลาดเกษตร ม.อ. ให้จำหน่ายอาหารในพื้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักสลัดคอส ผักสลัดแก้ว ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักสลัดเรดโอ๊ค และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ร้านทัศปัน ซึ่งจำหน่ายอาหารตามสั่ง ขนมปัง อาหารว่าง เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์

ผลตามแผน

  • เพิ่มช่องทางให้กับผู้ประกอบการสามารถเลือกรับผักปลอดภัยมาประกอบอาหาร และทำให้ผู้บริโภคมีอาหารที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • จัดส่งผักปลอดภัยระดับผักอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย ผักสลัดคอส ผักสลัดแก้ว ผักสลัดกรีนโอ๊ค ผักสลัดเรดโอ๊ค และแตงกวาปลอดภัย ให้กับ ร้านทัศปัน ซึ่งจำหน่ายอาหารตามสั่ง ขนมปัง อาหารว่าง เป็นประจำทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2560 11:10:51
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 2 มีนาคม 2560 16:12:09 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุม Matching Model ส่งผักจากเกษตรกรให้กับผู้จำหน่ายอาหารโดยตรง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อจับคู่การรับส่งผักปลอดภัยเพือเป็นวัสถุดิบในการประกอบอาหารเพื่อจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

  • จัดกิจกรรมประชุมผู้จำหน่ายในโซนอาหารว่าง อาหารคาว กับเกษตรกรผู้ปลูกผักปลอดภัย เพื่อสรุปปัญหาในการซื้อ-ขาย ผักปลอดภัยในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา และเพิ่มการจับคู่รับส่งผักปลอดภัยให้มีปริมาณมากขึ้น

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • ประชุมผู้จำหน่ายโซนอาหารว่าง อาหารคาว และเกษตรกรรวมจำนวน 90 ราย ณ ห้อง 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสรุปปัญหา และแนวทางแก้ไขในการทำการ Matchang ผักปลอดภัยระหว่างผู้จำหน่ายและเกษตรกร และเพิ่มการจับคู่รับ-ส่ง ผลผลิตรผักปลอดภัยให้มีปริมาณมากยิ่งขึ้น

ผลตามแผน

  • เพิ่มความปลอดภัยให้กับอาหารคาว อาหารว่างทีมีสวนผสมเป็นผักมากขึ้น  ผู้บริโภคมีความมั่นใจในเลือกซื้ออาหาร และได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพปลอดภัยต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ประชุมผู้จำหน่ายโซนอาหารว่าง อาหารคาว และเกษตรกรรวมจำนวน 90 ราย ณ ห้อง 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสรุปปัญหา และแนวทางแก้ไขในการทำการ Matchang ผักปลอดภัยระหว่างผู้จำหน่ายและเกษตรกร และเพิ่มการจับคู่รับ-ส่ง ผลผลิตรผักปลอดภัยให้มีปริมาณมากยิ่งขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 12:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2560 11:12:22
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:35:10 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมการดูแลผลิตผลทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อเพิ่มความรู้ และพัฒนาความสามารถในการดูแลผลผลิตรหลังการเก็บเกี่ยว ของเกษตรกร

กิจกรรมตามแผน

  • อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลผลิตรหลังการการเก็บเกี่ยว โดย ดร.อดิเรก รักคง ผู้เชี่ยวชาญสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • วันที่ 16 ก.พ.60 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลผลิตรหลังการการเก็บเกี่ยว เพื่อให้สามารถยืดอายุผลผลิตรให้ยาวนานขึ้น ลดอัตราการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว บรรยายโดย ดร.อดิเรก รักคง ผู้เชี่ยวชาญสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  กิจกรรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมจำนวน 30 ราย

ผลตามแผน

  • เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว สามารถยืดอายุผลผลิตให้อยู่ในสภาพสดเป็นเวลานาน เพื่อเพิ่มระยะเวลาความสามารถในการจำหน่าย ลดความสูญเสียที่เกิดจากการขนส่ง การเก็บรักษา และการจำหน่ายสินค้า ของเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • วันที่ 16 ก.พ.60 เวลา 13.00 น.- 16.00 น. ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผลผลิตรหลังการการเก็บเกี่ยว เพื่อให้สามารถยืดอายุผลผลิตรให้ยาวนานขึ้น ลดอัตราการสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยว บรรยายโดย ดร.อดิเรก รักคง ผู้เชี่ยวชาญสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีเกษตรกรร่วมจำนวน 30 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
3,200.00 0.00 31,600.00 0.00 0.00 0.00 34,800.00
27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:33:52
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 15:41:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.ผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมตามแผน

สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลานำผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

บรรยายให้ความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร การให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้กับผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา 

ผลตามแผน

  • เกษตรกรทราบถึงความสำคัญของหลัดสุขขาภิบาลอาหาร และได้รับความรู้และเทคนิกในการจำหน่ายสินค้าเกษตร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

บรรยายให้ความรู้ในการจำหน่ายสินค้าเกษตร การให้ความสำคัญกับการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. ให้เป็นตลาดที่ประสบความสำเร็จ  ให้กับผู้จำหน่ายสินค้าตลาดนัดเกษตรกรยะลา 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28 ธันวาคม 2559 เวลา 12:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2560 18:35:31
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:46:16 น.

ชื่อกิจกรรม : โรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร ตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

ศูนย์กลางคัดแยก และบรรจุภัณฑ์ผลผลิตผักอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก ส่งจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

กิจกรรมตามแผน

  • เปิดรับผลผลิตอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก(ที่ผ่านการตรวจแปลงแล้ว)
  • ตัดแต่งผลผลิต และบรรจุภัณฑ์ ผักปลอดสารพิษเพื่อจำหน่าย
  • สุ่มตัวอย่างสินค้าเกษตร เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง
  • ส่งผักจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • วันที่ 28 ธันวาคม 2559 เปิดรับผลผลิตอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก(ที่ผ่านการตรวจแปลงแล้ว)
  • ตัดแต่งผลผลิต และบรรจุภัณฑ์ ผักปลอดสารพิษเพื่อจำหน่าย
  • สุ่มตัวอย่างสินค้าเกษตร เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง
  • ส่งผักจำหน่ายให้กับผู้บริโภค โดยจัดส่งให้ร้านทรัพช้อป คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ผลตามแผน

  • เกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์สามารถจำหน่ายผักได้ราคา เหมาะสมกับคุณภาพของสินค้า
  • ส่งเสริมให้เกษตรกรในเครือข่ายปลูกผักอินทรีย์ปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น และมีรายได้เพิ่มากขึ้น
  • เพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อผักปลอดภัย และเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้บริโภค

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • โรงการแยกผลผลิตทางการเกษตร เปิดรับผลผลิตผักอินทรีย์ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ปลูก นำมาคัดเลือกตัดแต่งผลผลิตให้มีคุณภาพ และใส่บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสม เพื่อวางจำหน่ายให้กับผู้บริโภค ทั้งนี้เกษตรกรผู้ปลูก ต้องผ่านการตรวจสอบแปลงเพาะปลูกจากเจ้าหน้าที่  และสินค้าเกษตรเมื่อนำเข้าสู่โรงคัดแยกผลิตผลจะมีการสุ่มตัวอย่างสินค้าเกษตร เพื่อตรวจหาสารเคมีตกค้าง อีกหนึ่งครั้งเพื่อเป็นการยืนยันถึงคุณภาพความปลอดภัยของสินค้าเกษตร และเมื่อผ่านการตัดแต่งและการบรรจุภัณฑ์เรียบร้อยแล้วจะส่งผักจำหน่ายให้กับผู้บริโภค โดยจัดจำหน่ายในร้านทรัพช้อป คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 25,000.00 205,766.00 0.00 0.00 230,766.00
28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:31:48
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:34:29 น.

ชื่อกิจกรรม : ค่าตอบแทนลงบัญชีและค่าตอบแทนลงข้อมูลในเว็บไซต์

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • รายงานผลกิจกรรมและจัดทำรายการบัญชีการเงิน

กิจกรรมตามแผน

  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์

ผลตามแผน

  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์ มีรายละเอียดและรูปภาพประกอบ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • จัดทำรายการบัญชีและรายผลการปฏิบัติงานลงเว็บไซต์ตามความเป็นจริง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
5,940.00 0.00 0.00 0.00 0.00 60.00 6,000.00
28 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:48:12
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:56:25 น.

ชื่อกิจกรรม : ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร

  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร
  • photo ห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรห้องปฏิบัติการตรวจสารปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ ในการตรวจสารปนเปื้ิอน

กิจกรรมตามแผน

  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตร

ผลตามแผน

  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตรที่ส่งมายัง โรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร ตลาดเกษตร ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
  • ตรวจหาสารเคมีในผลผลิตทางการเกษตรที่ส่งมายัง โรงคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร ตลาดเกษตร ม.อ. สม่ำเสมอ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 35,036.00 0.00 0.00 35,036.00
23 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 21 มกราคม 2560 12:44:53
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:28:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ป้ายรับรองมาตรฐานการเพาะปลูกพืชแต่ละแปลง

กิจกรรมตามแผน

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจประเมิณแปลงเกษตรกรผู้ปลูกผัก เพื่อให้ป้ายมาตรฐานการเพาะปลูกผักในระดับต่างๆตามที่กำหนดไว้

มาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายจำนวน 1 แปลง 

ผลตามแผน

  • สามารถระบุมาตรฐานการปลูกผักของเกษตรกรแต่ละรายได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้กำหนดมาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

  • ลงพื้นที่ตรวจแปลงคุณวัชระพงศ์ ขุนจันทร์ แปลงปลูกเป็นโรงเรือนแบบปิดปลูกเมล่อนญี่ปุ่น และมะเขือเทศ ซึ่งยืนขอเป็นระดับผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q)  ทั้ง 2 ชนิด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 3,300.00
21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:06:02
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:19:33 น.

ชื่อกิจกรรม : อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

  • photo อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตรอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร
  • photo อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตรอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร
  • photo อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตรอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร
  • photo อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตรอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร
  • photo อบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตรอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อทราบหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

กิจกรรมตามแผน

เจ้าหน้าที่และเกษตรกรเข้าอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ตัวแทนเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 15 รายเข้าอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร  และเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 2 รายเข้ารับผึกอบรมการเป็นเทรนเนอร์ให้เกษตรกรผู้ที่ต้องการผ่านมาตรฐานPrimary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP

ผลตามแผน

  • เจ้าหน้าที่ และเกษตรกร ทราบหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ตัวแทนเกษตรกรในตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 15 รายเข้าอบรมเรื่องมาตรฐาน Primary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP สินค้าเกษตร  และเจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. จำนวน 2 รายเข้ารับผึกอบรมการเป็นเทรนเนอร์ให้เกษตรกรผู้ที่ต้องการผ่านมาตรฐานPrimary ThaiGAP และมาตราฐาน ThaiGAP

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
21 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:26:17
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:34:26 น.

ชื่อกิจกรรม : กองกิจการนักศึกษา ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo กองกิจการนักศึกษา ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.กองกิจการนักศึกษา ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมตามแผน

ผู้อำนวยการกองกิจการนักศึกษา และบุคลากรกองกิจ ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ผู้อำนวยการกองกิจการนักศึกษา และบุคลากรกองกิจ ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำรูปแบบ แนวคิด วิธีการไปปรั้บใช้ในการจัดตั้งตลาดภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ผลตามแผน

  • ได้ทราบถึงรูปแบบการบริหารจัดการ ประวัติความเป็นมา และอุปสรรคการดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำไปปรับใช้ในการจัดตั้งตลาด

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ผู้อำนวยการกองกิจการนักศึกษา และบุคลากรกองกิจ ม.อ. วิทยาเขตปัตตานี ศึกษาดูงานการบริหารจัดการตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อนำรูปแบบ แนวคิด วิธีการไปปรั้บใช้ในการจัดตั้งตลาดภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 10:00:50
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 10:02:43 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ป้ายรับรองมาตรฐานการเพาะปลูกพืชแต่ละแปลง

กิจกรรมตามแผน

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจประเมิณแปลงเกษตรกรผู้ปลูกผัก เพื่อให้ป้ายมาตรฐานการเพาะปลูกผักในระดับต่างๆตามที่กำหนดไว้

มาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรจำนวน 8 ราย ในพื้นที่ ม.7 , ม.11  ต.ท่าชะมวง และต.เขาพระ อำเภอรัตภูมิ และในพื้นที่ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่  จังหวัดสงขลา ประกอบด้วยแปลงปลูกผัก ผลไม้ เสวรส เห็ด พริก ผักเหรียง มะนาว หล้วยหอม ไผ่ และโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตามแฟ้มข้อมูลตรวจแปลงเกษตรกร 1 ตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

  • สามารถระบุมาตรฐานการปลูกผักของเกษตรกรแต่ละรายได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรจำนวน 8 ราย ในพื้นที่ ม.7 , ม.11  ต.ท่าชะมวง และต.เขาพระ อำเภอรัตภูมิ และในพื้นที่ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่  จังหวัดสงขลา ประกอบด้วยแปลงปลูกผัก ผลไม้ เสวรส เห็ด พริก ผักเหรียง มะนาว หล้วยหอม ไผ่ และโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ตามแฟ้มข้อมูลตรวจแปลงเกษตรกร 1 ตลาดเกษตร ม.อ.

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 4,300.00
17 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 21 มกราคม 2560 11:17:51
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:38:01 น.

ชื่อกิจกรรม : คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.

  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.
  • photo คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • ผู้บริโภคได้พบปะกับเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดภัยได้โดยตรง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภค
  • ผู้ศึกษาดูงานได้ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรแบบปลอดภัย ไม่เป็นอันตรากับผู้ซื้ ผู้ปลูก และสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมตามแผน

คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืช ผู้จำหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยจำนวน 24 ท่านเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานการทำการเกาตรปลอดภัย
  • ศึกษาดูงานแปลงปลูกพืชของคุณจีรวรรณ ทะสะระ ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ และแปลงคุณทรงยศ  สุวรรณานนท์ ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่

ผลตามแผน

  • ผู้ศึกษาดูงานเข้าใจถึงวีธีการเพาะปลูกผักปลอดภัย เข้าใจถึงความยากง่ายของเกษตรกร
  • เกษตรกรได้สร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้บริโภค
  • ผู้ศึกษาดูงานสามารถนำวิธีการเพาะปลูกกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • คณะผู้บริหารและพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยจำนวน 24 ท่านเข้าร่วมโครงการศึกษาดูงาน
  • แปลงผักคุณจีราวรรณ ปลูกผักบุ้ง มะระ แตงกวา ถั่วฝักยาว บวบเกลี่ยว  ถั่วลิสง มะพร้าว เพาะเห็ด  และมีการเลี้ยงสัตว์เศรฐกิจ ไก่ไข่ นกกระทา วัวเนื้อ  การทำการเกษตรของคุณจีรวรรณ จะทำแบบครบวงจร มีการเลี้ยงใส้เดือนเพื่อทำปุ๋ย  เลี้ยงไก่ไข่เพื่อจำหน่ายไข่ และนำมูลมาทำปุ๋ย รวมถึงเลี้ยงวัวเนื้อเพื่อจำหน่าย และนำมูลมาทำปุ๋ยให้กับผักในแปลงปลูก  การทำการเกษตรในลักษณะนี้ทำให้คุณจีรวรรณมีรายได้จากหลายช่องทาง  ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ได้ให้คณะศึกษาดูงานได้ทำแปลงปลูกผักบุ้ง เพื่อเรียนรู้วีธีการทำการเกษตร ด้วย
  • แปลงผักคุณทรงยศ สุวรรณานนท์ เกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบ้านพรุ อ.หาดใหญ่ แปลงผักของคุณทรงยศ ทำการปลูกผักในโรงเรือนขนาดใหญ่ มีการแบ่งพื้นที่การเพาะปลูกออกเป็น ส่วนที่ 1 เป็นการปลูกผักในกระถาง เช่น มะเขือเทศ เมล่อน บรอกโคลี ส่วนที่ 2 เป็นการปลูผักบนโต๊ะโดยใช้ดินและใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก มีผักจำพวกแครอท คะน้าเห็ดหอม คะน้าใบหยิก จิงจูฉ่าย ผักกาด และผักสลัดชนิดต่างๆ การปลูกผักของคุณทรงยศทั้งหมดไม่ได้ใช้ยากำจัดศัตรูพืช แต่จะใช้สารจำพวกจุลินทรีย์ เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมาดูแลแปลงผัก เช่น ใช้เชื้อราบิวเวอเรียในการควบคุมแมลงศัตรูพืช  ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อรา ภายในแปลงของคุณทรงยศได้วางระบบการเพาะปลูก การให้น้ำ  การดูแลวัชพืช การควบคุมโรคพืชไว้เป็นอย่างดีง่ายต่อการจัดการ ทำให้คณะศึกษาดูงานให้ความสนใจเป็นอย่างมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 4,300.00
17 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 21 มกราคม 2560 11:48:21
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 12:59:11 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ป้ายรับรองมาตรฐานการเพาะปลูกพืชแต่ละแปลง

กิจกรรมตามแผน

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจประเมิณแปลงเกษตรกรผู้ปลูกผัก เพื่อให้ป้ายมาตรฐานการเพาะปลูกผักในระดับต่างๆตามที่กำหนดไว้

มาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายจำนวน 4 แปลง

ผลตามแผน

  • สามารถระบุมาตรฐานการปลูกผักของเกษตรกรแต่ละรายได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ตลาดเกษตร ม.อ.ร่วมกำหนดมาตรฐานผักขึ้นใหม่เพื่อให้ง่ายต่อการแยกประเภทความปลอดภัย โดยกำหนดดังนี้ 1.ผักอมยิ้ม = พืชผักจากท้องตลาดทั่วไป (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผักต่างถิ่น) 2.ผักยิ้มแย้ม = พืชผักปลอดภัยทราบแห่ลงที่ผลิตชัดเจน / ผักได้รับมาตรฐาน GAP (Q) 3.ผักยิ้มแฉ่ง = พืชผักปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมีในการบำรุงพืช  แต่ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงทุกชนิด 4.ผักหัวเราะ = พืชผักปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี / ผักอินทรีย์ / ผักออร์แกนิค โดยเมื่อววันที่ 17 ธันวาคม 2559 ได้เริ่มดำเนินการลงพื้นที่แปลงเพาะปลูกของเกษตรกร
  • แปลงคุณทรงยศปลูกผัก สลัดแก้ว เรดโอ๊ค กรีนโอ๊ค คะน้า บล็อกโคลี่ แครอท กล่ำปลี ผักกาดหอม ซึ่งผักทั้งหมดยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ ภายในแปลงของคุณทรงยศ  มีการทำปุ๋ยหมัก การเพาะเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า
  • แปลงผักคุณวันวิสาข์  ทองอ่อน ปลูกผักระบบไฮโดรโปนิก มีผักกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค บัตเตอร์เฮด ฟิลเล่ ซึ่งผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแย้ม และภายในฟาร์มมีการเพาะเลี้ยงใส้เดือนเพื่อนำมูลไส้เดือนมาทำเป็นน้ำหมัก ใส่ให้กับผักที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตดี แข็งแรง ทนต่อโรค
  • แปลงผลไม้ของคุณเรวดี  จินดามณี ปลูกทุเรียนหมอนทอง ชะนี ก้านยาว กระดุมทอง ทุเรียนบ้าน ลองกอง ลางสาด มังคุด มะม่วงเบา มะนาว สะตอข้าว ข้าวโพด จำปาดะ กล้วยชนิดต่างๆ ผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง และมีพริกขี้หนูสวน หน่อไม้ไผ่ตง ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ
  • แปลงคุณคณิต พุทธกูล ปลูกต้นหม่อนขายผลสด ผักหวาน พริก ถั่วพู ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง  และมีต้นกล้วยหิน กล้วยน้ำว้า เงาะ มะนาว ผักกูด สะตอ หน่อไม้ มะเขือพวง ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ และภายในแปลงปลูกมีการทำน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก
  • แปลงคุณนริน รอดเรือง  ปลูกผักสลัด คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ผักบุ้ง แตงกวา มะเขือ มะนาว บวบ พริก มะเขือพวงกล้วย ชะอม ดอกแค ยื่นขอเป็นระดับหัวเราะ ส่วนฟักทอง ฟักเขียว ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง และมะม่วง  มะละกอ แตงโม  ยื่นขอเป็นระดับยิ้มแย้ม  ทั้งนี้ภายในแปลงเพาะปลูกของคุณนริน มีการทำดินผสม การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชนิดต่างๆด้วย 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 3,300.00
16 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 11:59:22
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560 12:02:38 น.

ชื่อกิจกรรม : สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร

  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  • photo สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารภายในตลาดเกษตร ม.อ.

กิจกรรมตามแผน

ตลาดเกษตร ม.อ. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร(เก็บตัวอย่างวันที่ 14/12/59) สุ่มหาสาร ฟอร์มาลีน สารกันรา  และสารฟอกขาว

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ตลาดเกษตร ม.อ. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร โดยเก็บตัวอย่างสินค้าเมื่อวันที่12/12/59 เพื่อตรวจหาสาร ฟอร์มาลีน สารกันรา  และสารฟอกขาว

ผลตามแผน

  • เฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารภายในตลาดเกษตร ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ตลาดเกษตร ม.อ. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร โดยเก็บตัวอย่างสินค้าเมื่อวันที่12/12/59 เพื่อตรวจหาสาร ฟอร์มาลีน สารกันรา  และสารฟอกขาว ผลการตรวจไม่พบสารปนเปื้อน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
15 ธันวาคม 2559 เวลา 15:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 21 มกราคม 2560 12:30:32
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:29:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน
  • photo ตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐานตรวจประเมินแปลงเกษตรกร เพื่อให้ป้ายมาตรฐาน

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ป้ายรับรองมาตรฐานการเพาะปลูกพืชแต่ละแปลง

กิจกรรมตามแผน

  • เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจประเมิณแปลงเกษตรกรผู้ปลูกผัก เพื่อให้ป้ายมาตรฐานการเพาะปลูกผักในระดับต่างๆตามที่กำหนดไว้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เจ้าหน้าที่คณะทรัพยากรธรรมชาติลงพื้นที่ตรวจแปลงปลูกพืชของเกษตรกรผู้จำหน่ายเครือข่ายเกษตรกรจำนวน 1 ราย 2 แปลง

ผลตามแผน

  • สามารถระบุมาตรฐานการปลูกผักของเกษตรกรแต่ละรายได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ลงพื้นที่ตรวจแปลงคุณจีรวรรณ  ทะสะระ  ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่  แปลงผักคุณจีราวรรณ ปลูกผักบุ้ง มะระ แตงกวา ถั่วฝักยาว บวบเหลี่ยว  ถั่วลิสง บัวบก ถั่วฝักยาว ข้าวโพดหวาน มันเทศ ผักโขม โหรพา ข่า เห็ด ผักทั้งหมดขอเป็นระดับยิ้มแฉ่ง  ทั้งนี้คุณจีรวรรณมีการเลี้ยงสัตว์เศรฐกิจ ไก่ไข่ นกกระทา วัวเนื้อ มีทำนา  มีกรีดยาง เป็นการเกษตรแบบครบวงจร สามารถสร้างรายได้ได้หลายช่อทาง สามารถนำมูลสัตว์มาทำปุ๋ยได้ นอกจากนี้ยังมี การหมักEM การเลี้ยงใส้เดือนเพื่อทำปุ๋ยโดยเฉาะอีกด้วย 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 3,300.00
22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยพงศ์เทพพงศ์เทพเมื่อ 14 ธันวาคม 2559 16:24:51
Project owner
แก้ไขโดย พงศ์เทพ เมื่อ 14 กรกฎาคม 2560 09:24:49 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล สร้างเคือข่ายระบบตลาดครบวงจร (โอเดียน)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

  • จัดเก็บข้อมูลความต้องการสินค้าเกษตร อินทรีย์ ปลอดภัย

กิจกรรมตามแผน

สำรวจข้อมูลความต้องการผักปลอดสา่รพิษจากเครือข่ายเกษตรกร  พื้นที่ห้องโอเดียน และย่านการค้าใกล้เคียง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. เก็บข้อมูลความต้องการใช้ผัก ของผู้จำหน่ายอาหารในห้างโอเดียนแฟชั่นมอล์บริเวณชั้น 5 จำนวน 11 ร้านจำหน่ายสินค้า  และร้านจำหน่ายอาหารตามสั่งให้กับนักท่องเที่ยว บนถนนเสน่หานุสรณ์

ผลตามแผน

  • เก็บข้อมูล ชนิด จำนวน ระยะเวลาการออกจ่ายตลาด การขนส่ง และราคาของผักที่นำมาประกอบอาหาร และสอบถามความต้องการใช้ผักอินทรีย์เพื่อประกอบอาหารจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เจ้าหน้าที่ตลาดเกษตร ม.อ. ได้เก็บข้อมูลความต้องการใช้ผัก ของผู้จำหน่ายอาหารในห้างโอเดียนแฟชั่นมอล์บริเวณชั้น 5 จำนวน 11 ร้านจำหน่ายสินค้า  และร้านจำหน่ายอาหารตามสั่งให้กับนักท่องเที่ยว บนถนนเสน่หานุสรณ์  ผู้ประกอบการส่วนใหญ่สนใจผักอินทรีย์เนื่องจากผักมีราคาสูงกว่าท้องตลาด ทำให้ผู้ประกอบการมีต้นทุนเพิ่มขึ้น และมีผู้ประกอบการบางส่วนให้การสนใจขอกลับไปทบทวนความเป็นไปได้ในการรับผักอินทรีย์มาประกอบอาหารจำหน่าย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  • ผักอินทรีย์มีราคาสูงกว่าท้องตลาดทั่วไป ทำให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารให้ความสนใจในการซื้อไปประกอบอาหารน้อย / ต้องสำรวจค้นหาผู้ประกอบการที่ให้การสนใจผักอินทรีย์ต่อไป
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 1,800.00 0.00 0.00 0.00 3,300.00

แสดงความคิดเห็นสำหรับบุคคลทั่วไป (สำหรับพี่เลี้ยงโครงการ กรุณาส่งรายงานพี่เลี้ยง)

กรุณาป้อน Username / Password ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้กับเว็บไซท์แห่งนี้ หรือ สมัครเป็นสมาชิกของเว็บไซท์
Bold Italic Underline Left Center Right Ordered List Bulleted List Horizontal Rule Page break Hyperlink Text Color :) Quote
คำแนะนำ เว็บไซท์นี้สามารถเขียนข้อความในรูปแบบ มาร์คดาวน์ - Markdown Syntax:
  • วิธีการขึ้นบรรทัดใหม่โดยไม่เว้นช่องว่างระหว่างบรรทัด ให้เคาะเว้นวรรค (Space bar) ที่ท้ายบรรทัดจำนวนหนึ่งครั้ง
  • วิธีการขึ้นย่อหน้าใหม่ซึ่งจะมีการเว้นช่องว่างห่างจากบรรทัดด้านบนเล็กน้อย ให้เคาะ Enter จำนวน 2 ครั้ง