รหัสโครงการ 56-00721
สัญญาเลขที่ 56-000488
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 13 มิถุนายน 2556
1. ชื่อโครงการ บูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา (โครงการหลัก)
2. รหัสโครงการ 56-00721 รหัสสัญญา 56-000488 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2556 - 30 เมษายน 2557
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 พฤษภาคม 2556 ถึงเดือน 14 มิถุนายน 2556
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. ประชุมเรื่องอุทยานอาหารกับเทศบาลคอหงส์ | วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เวลา 14:00วัตถุประสงค์ประชุมกับผู้บริหารเทศบาลคอหงส์เพื่อหาสถานที่ตั้งอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ ลักษณะกิจกรรมผู้บริหารเทศบาล ประกอบด้วย ว่าที่ ร.ต. ชาญนิตย์ ชุมชื่น และนายฉลอง พัฒโน รองนายกเทศมนตรี ร่วมกับชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารเทศบาลคอหงส์ ร่วมแสดงความคิดคิดถึงแนวทางการจัดตั้งอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ ซึ่งผู้บริหารเทศบาลมีความเห็นว่าอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพจะเป็นตลาดต้นแบบที่จะจัดการความปลอดภัยอาหารในชุมชน ในโรงเรียน ซึ่งเทศบาลพร้อมให้การสนับสนุน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ผู้บริหารเทศบาล ประกอบด้วย ว่าที่ ร.ต. ชาญนิตย์ ชุมชื่น และนายฉลอง พัฒโน รองนายกเทศมนตรี ร่วมกับชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารเทศบาลคอหงส์ ร่วมแสดงความคิดคิดถึงแนวทางการจัดตั้งอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพผลที่เกิดขึ้นผู้บริหารเทศบาลได้ร่วมกันกำหนดพื้นที่ในการตั้งอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพจำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่บริเวณริมคลองชลประทานติดกับถนนทวีรัตน์ ริมคลอง ร.5 และริมคลองหลังเทศบาลคอหงษ์ ซึ่งผู้บริหารเทศบาลคอหงส์ ได้กำหนดให้วันที่ 13 พ.ค. 56 ให้ทางเจ้าหน้าที่ สจรส. ม.อ. ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้บริหารเทศบาล ร่วมกันดูสถานที่ในการจัดตั้งอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. ประชุมคณะทำงานโครงการฯประจำเดือน พ.ค. 56 | วันที่ 18 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00วัตถุประสงค์1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน และร่วมกันออกแบบวิธีการดำเนินงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการฯ 2.เรียนรู้การจัดทำรายงานผ่านเว็บไซต์ www.consumersouth.org ลักษณะกิจกรรม1.คณะทำงานโครงการฯ เข้าร่วมประชุมจำนวน 40 คน โดยได้ออกแบบวิธีการทำงาน การบริหารจัดการด้าการเงิน 2.คณะทำงานโครงการฯ ได้เรียนรู้การจัดทำรายงานและได้วางแผนการทำงานผ่านเว็บไซต์ www.consumersouth.org |
เป้าหมายที่ตั้งไว้1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน และร่วมกันออกแบบวิธีการดำเนินงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการฯ 2.เรียนรู้การจัดทำรายงานผ่านเว็บไซต์ www.consumersouth.orgผลที่เกิดขึ้น1.เกิดแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายฯ
โดยเครือข่ายได้ให้ความเห็นว่าควรจัดทำคู่มือการดำเนินงานโครงการย่อย
2.การประชุมคณะทำงานประจำเดือนควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ที่นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงาน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. ประชุมชี้แจงโครงการตำบลควนรู | วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรมประกอบด้วย 1. การชี้แจงภาพรวมโครงการบูรณการด้านอาหารของ จ.สงขลา โดย เภสัชกรสมชาย ละอองพันธุ์ 2. การหารือแนวทางการข้อตกลงร่วมกันระหว่างพื้นที่กับคณะทำงานกลางของโครงการ 3.วางแผนการทำกิจกรรมของพื้นที่ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้เป็นการหารือร่วมระหว่างคณะทำงานบริหารโครงการและคณะทำงานในพื้นที่ตลอดจนภาคีเครือข่าย มีจำนวนผู้เข้าร่วมอย่างน้อย 30 คนผลที่เกิดขึ้น
ทางที่ประชุมฯได้ตกลงร่วมกันให้แต่งตั้งเป็นหนังสือราชการ จาก องค์การบริหารส่วนตำบล 2.แนวทางการดำเนินกิจกรรมของพื้นที่ ต.ควนรู ทางผู้เข้าร่วมประชุมฯเห็นร่วมกันว่า ควรเร่งดำเนินการประเมินเบื้องต้น(Baseline Evaluation)ของสถานการณ์เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร ภาวะโภชนาการและอาหารที่มีคุณภาพเพื่อโภชนาการที่สมวัย และนำมาทำเวทีประชาคมของชุมชนเพื่อร่วมกันเติมเต็มข้อมูลเพิ่มทั้ง 3 ประเด็น จากผู้เข้าร่วมกิจกรรม และจึงร่วมกันวางแผนการดำเนินกิจกรรมของพื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.คณะทำงานพื้นที่ยังขาดความหลากลาย เช่น ควรนัดประชุมผู้รับผิดชอบของทุกแผนงานย่อย เพื่อร่วมกันชี้แจงโครงการร่วมกัน (ในวันที่ร่วมประชุมนั้นมีเฉพาะแผนงานโภชนาการเพียงอย่างเดียว) แนวทางแก้ไขปัญหา: จะมีการแต่งตั้งคณะทำงานและจัดประชุมประชาคมของพื้นที่ 2.ความล่าช้าในการประเมินเบื้องต้นของ 3 ส่วน คือ ความมั่นคงทางด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และ โภชนาการ ส่งผลให้การคิดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาขาดข้อมูลรองรับ แนวทางการแก้ไข :คณะบริหารจัดการโครงการกลางจะเร่งประสานกับเครือข่ายนักวิชาการ เพื่อพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประเมินเบื้องต้น ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.เภสัชกร สมชาย ละอองพันธุ์ ผู้ประสานงานกลาง |
||||
4. ประชุมปรับแผนเขาพระ ควนเนียง | วันที่ 28 พฤษภาคม 2556 เวลา 14:00วัตถุประสงค์ประชุมทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการระหว่างกลุ่มเกษตรกรเขาพระและเกษตรควนเนียง ลักษณะกิจกรรมเครือข่ายเกษตรกรตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ และเครือข่ายเกษตรกรควนเนียง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา เข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ซึ่งคุณกำราบ พานทอง ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการ และรูปแบบการบริหารจัดการของโครงการ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินโครงการและปรับรายละเอียดกิจกรรมผลที่เกิดขึ้นเครือข่ายเกษตรกรที่เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย 1. คุณกำราบ พานทอง 2. คุณอภินันต์ ชนะคช 3.คุณฤทธิ เพ็ชรปาน กลุ่มปุ๋ยอินทรย์ควนเนียง 4. คุณหุ้น สุวรรณมณี ประธานกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ 5 คุณสุวัชชัย หนูนวล กลุ่มคนรักปากบาง 6. คุณประดิษฐ พัฒโน ควนเนียง 7. คุณอภินันท์ หมัดหลี เกษตรธาตุสี่ 8. คุณประสาน เส็นหลัก เครือข่ายเกษตรสี่ยอ กิจกรรมรวมรวบพันธุ์ไม้ประจำจังหวัด 9. คุณเสกสิทธ์ เครือข่ายกษตรธาตุสี่ 10 คุณภูมิปัญญา หมัดหลี คุณกำราบได้สรุปแนวคิดความมั่นคงทางอาหารให้กับเครือข่ายเกษตรเห็นความสำคัญของการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารของชุมชน โดยให้ความคิดเห็นว่าชุมชนจะต้องเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น สำหรับแผนกิจกรรมปฏิบัติการชุมชนและการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านความมั่นคงทางอาหารในตำบลเขาพระและตำบลควนเนียง จะมีวิธีการทำงาน ดังนี้
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
5. ประชุมพัฒนาระบบฐานข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร | วันที่ 4 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบฐานข้อมูลของแผนงานความมั่นคงทางอาหารที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเล แหล่งน้ำตามธรรมชาติ พันธุ์ปลาน้ำจืด พันธุ์ไก่พื้นเมือง พันธุ์ไม้พื้นเมือง สมุนไพร และตำรับอาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับตำรับอาหารในคาบสมุทรสทิงพระ ลักษณะกิจกรรมออกแบบระบบฐานข้อมูลของแผนงานความมั่นคงทางอาหารที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเล แหล่งน้ำตามธรรมชาติ พันธุ์ปลาน้ำจืด พันธุ์ไก่พื้นเมือง พันธุ์ไม้พื้นเมือง สมุนไพร และตำรับอาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับตำรับอาหารในคาบสมุทรสทิงพระ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ออกแบบระบบฐานข้อมูลของแผนงานความมั่นคงทางอาหารที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรทางทะเล แหล่งน้ำตามธรรมชาติ พันธุ์ปลาน้ำจืด พันธุ์ไก่พื้นเมือง พันธุ์ไม้พื้นเมือง สมุนไพร และตำรับอาหาร ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับตำรับอาหารในคาบสมุทรสทิงพระผลที่เกิดขึ้นรูปแบบระบบฐานของแผนงานความมั่นคงทางอาหาร ประกอบด้วยฐานข้อมูล 1.ทรัพยากรทางทะเล
2.แหล่งน้ำ / พันธุ์สัตว์น้ำ
3.ตำรับอาหาร /ภูมิปัญญา
4.แหล่งปลูกผัก / เครือข่ายเกษตรกร ข้อเสนอการจัดทำฐานข้อมูล
1.ตำบลเชิงแสเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์อื่น ๆ ในพื้นที่นอกจากไก่พื้นเมือง
3.พื้นที่จะนะ อยากให้มีเวทีวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการ โดยเอาข้อมูลเดิม เกี่ยวกับพันธุ์ปลา ความสัมพันธ์ในเชิงเศรษฐกิจเกี่ยวกับรายได้ในชุมชน, ช่วงเวลาในการประกอบอาชีพประมง (ทิศทางลม, สีของน้ำ) เครื่องมือประมง โจทย์ ทำอย่างไรข้อมูลที่มีอยู่แล้วมีความน่าถือ สรุปแนวทางการทำระบบฐานข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร 1.ควรมีเครื่องมือประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร 1.1ด้านทรัพยากรทางทะเล (จะนะ) 1.2น้ำจืด ปลาน้ำจืด (เชิงแส) 1.3 พื้นที่เกษตร ที่นา พันธุ์ข้าว (เชิงแส) 1.4 ปศุสัตว์ ไก่พื้นเมือง วัว หมู (เชิงแส)
2.1 เด็ก และเยาวชน 2.2 ชาวบ้าน
2.4 นักศึกษา 3.ข้อมูลที่ดำเนินการจัดเก็บ 3.1เก็บข้อมูลโดยตรง ได้แก่ ข้อมูลที่มีอยู่ในพื้นที่ ข้อมูลที่หายไปแล้ว 3.2 เก็บข้อมูลโดยอ้อม ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้สารเคมี อุปกรณ์เครื่องมือที่ทำลายทรัพยากร กิจกรรม กติกา ทรัพยากรเกี่ยวกับน้ำ ดิน 3.3 เก็บข้อมูลตำรับอาหาร ได้แก่ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สภาวะความเจ็บป่วยเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในชุมชน รณรงค์การกินขนมพื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน สูตรเครื่องแกง (สมุนไพรในพื้นที่)
4.1เครื่องมือเก็บข้อมูล 4.2 สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารในชุมชนของจังหวัด สงขลา คือ ฐานข้อมูล แผนที่ความมั่นคงทางอาหาร 4.3 นโยบายความมั่นคงทางอาหาร
5.1.ตัวชี้วัดทางตรง 5.2.ตัวชี้วัดทางอ้อม 5.3.ข้อมูลที่เก็บ รายได้ / ระยะทาง (การทำมาหากิน) 5.4.พืช / สัตว์ (แต่ละชนิด) 5.5.ระยะเวลา (เก็บข้อมูลย้อนหลังระยะเวลา5 ปี 10 ปี15 ปี 20 ปี (ในแต่ละช่วงเวลา การเกิดวิกฤต มีนโยบาย หรือ การพัฒนา เกิดอะไรขึ้นและมีผลอย่างไรกับความมั่นคงทางอาหาร ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
6. คุยกับอาจารย์ภานุ เรื่องอุทยานอาหาร | วันที่ 4 มิถุนายน 2556 เวลา 17:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้1. สำรวจทำเลที่ตั้งอุทยานอาหารในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. ประชุมหารือรูปแบบการบริหารจัดการอุทยานอาหารผลที่เกิดขึ้น1) การกำหนดพื้นที่การใช้สอยโดยดูจากลักษณะพื้นที่ที่คาดว่าจะใช้ดำเนินการ ซึ่งมีการประมาณการว่าจะสามารถจัดตั้งร้านค้าต่าง ๆ ได้ประมาณ 16 ร้าน โดยร้านค้าต่างๆ จะประกอบไปด้วย ร้านมินิมาร์ทที่รวมผลิตภัณฑ์ของดี 14 จังหวัด ร้านอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเฉพาะ (โรคความดัน/โรคเบาหวาน/โรคไต) ร้านอาหารคุณภาพโภชนาการสมวัย เป็นต้น และอาจจะมีมุมสำหรับรับบริจาคและร้านที่จะจำหน่ายสิ่งของที่ได้รับการบริจาคมา (Charity Shop) 2) มีข้อสรุปร่วมกันว่าควรจะมีจัดตั้งกองทุนเพื่อบริหารจัดการอุทยานอาหาร โดยมีทั้งชุดคณะกรรมที่ปรึกษา และคณะกรรมการบริหารกองทุน รวมทั้งหาผู้จัดการอุทยานอาหาร และพนักงานประจำร้านมินิมาร์ท ปัญหา/แนวทางแก้ไขการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไปจำเป็นจะต้องรอความแน่นอนในเรื่องทำเลที่ตั้งอุทยานอาหารก่อนจึงดำเนินการต่อได้ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ไม่มี ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ไม่มี ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
7. นัดพี่หมีคุยเรื่อง website consumersouth.org | วันที่ 7 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00วัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงระบบรายงานในเว็บไซต์ consumersouth.org ลักษณะกิจกรรมออกแบบระบบรายงานในเว็บไซต์ consumersouth.orgร่วมกับโปรแกรมเมอร์ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ปรับปรุงระบบรายงานในเว็บไซต์ cpnsumersouth.org ให้สามารถเข้าถึงได้ง่ายผลที่เกิดขึ้น1.ปรับปรุงระบบรายงาน โดยจัดหมวดแผนงานออกเป็นประเด็นหลักและมีโครงการย่อยๆอยู่ในหมวดแผนงานหลัก 2.ปรับหน้าเว็บไซต์โดยให้ปฏิทินกิจกรรมปรากฎในหน้าเมนูหลัก 3.ปรับหน้าหลักของเว็บไซต์ให้ระบบรายงานกิจกรรมของโครงการย่อยปรากฎในหน้าแรก 4.เพิ่มเมนูรายชื่อพี่เลี้ยงในเว็บไซต์ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
8. ประชุมชี้แจงโครงการในตำบลชะแล้ | วันที่ 9 มิถุนายน 2556 เวลา 14.00 น.วัตถุประสงค์ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา ให้กับคณะทำงานของตำบลชะแล้ 2.เพื่อจัดตั้งคณะทำงานตำบลชะแล้เพื่อขับเคลื่อนการทำงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวั ลักษณะกิจกรรมคณะทำงานตำบลชะแล้ จำนวน 20 คนร่วมประชุมรับทราบแนวทางการทำงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา |
เป้าหมายที่ตั้งไว้คณะทำงานตำบลชะแล้ จำนวน 20 คนร่วมประชุมรับทราบแนวทางการทำงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลาผลที่เกิดขึ้น1.เกิดแนวทางความร่วมมือการทำงานในระดับพื้นที่ โดยมี ดร.อมาวสี จากวิทยาลัยพยาบาลพระราชชนนีสงขลา ซึ่งอาจารย์มีความยินดีในการผลักดันกิจกรรมร่วมกับตำบลชะแล้ 2.แกนนำตำบลชะแล้จะจัดประชุมทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการฯอีกครั้งกับผู้บริหารท้องถิ่นพร้อมกับแต่งตั้งคณะทำงานดำเนินโครงการในระดับตำบลชะแล้ 3.ออกแบบกิจกรรมในโครงการให้สนับสนุนการดำเนินโครงการเดิมในระดับพื้นที่ทั้ง 3 ด้าน คือ ความมั่นคงทางอาหาร ,อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
9. ประชุมแผนสื่อสารกับพี่ชัยวุฒิ | วันที่ 13 มิถุนายน 2556 เวลา 10:00วัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันปรึกษาหารือแนวทางในการดำเนินงานแผนงานการสื่อสารสาธารณะ ลักษณะกิจกรรมคณะทำงานโครงการร่วมกันปรึกษาหารือการแนวทางการทำงานในแต่ละประเด็นของแผนงานการสื่อสารสาธารณะใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่
1.การสร้างเครือข่ายด้านสื่อสารสาธารณะ จ.สงขลา |
เป้าหมายที่ตั้งไว้คณะทำงานโครงการและผู้รับผิดชอบการทำงานแผนสื่อสารร่วมกันปรึกษาหารือการแนวทางการทำงานของแผนงานการสื่อสารสาธารณะผลที่เกิดขึ้นข้อสรุปสำหรับแนวทางการดำเนินงานแผนงานการสื่อสารสาธารณะใน 4 ประเด็น มีดังนี้ 1. การสร้างเครือข่ายสื่อซึ่งมีทั้งการประชุมทำความเข้าใจกับสื่อ การพัฒนาคลังข้อมูล/คลังเสียงสาธารณะ และเวทีนโยบายสาธารณะซึ่งอาจจะจัดออกมาในรูปแบบเวทีทางอากาศ 2. การนำเสนอประเด็นสุขภาวะอาหาร (ความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย) เพื่อการรับรู้ในวงกว้าง โดยจะดำเนินการพัฒนาแคมเปน (Campain) ซึ่งแต่ละแผนงานต้องร่วมกันเลือกประเด็นเป้าหมายที่ชัดเจนให้ได้ก่อน แผนงานสื่อจึงจะสามารถดำเนินงานต่อได้ ซึงจะเลือกเพียงปีละประเด็นเพื่อให้ง่ายต่อการจดจำของสาธารณชน โดยจะขอมติจากที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานที่กำลังจะประชุมวันที่ 15 มิถุนายนนี้ สำหรับการพัฒนาสื่อจะต้องคิดกันอีกครั้งว่าจะพัฒนาในรูปแบบใด ซึ่งอาจจะไม่ใช่รูปแบบการ์ตูนแอนนิเมชั่น 3. การบูรณาการระบบข้อมูลด้านสุขภาวะด้านอาหาร เป็นการประสานการทำงานร่วมกัน และนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าสนใจ ซึ่งในเบื้องต้นจะดำเนินการผ่านทางเว็บไซต์หลักที่จะทำการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน ได้แก่ เว็บไซต์ www.consumersouth.org และเว็บไซต์ http://banbanradio.com 4. ตลาดนัดความรู้ ซึ่งจะมีการผลักดันนโยบายสาธารณะด้านสุขภาวะอาหารผ่านกระบวนการสมัชชาพิจารณ์ เป้าหมายวางไว้จะดำเนินการช่วงท้ายก่อนปิดโครงการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ