บูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา (โครงการหลัก)

แผนงานบริหารจัดการ

by wanna @June,03 2013 14.30 ( IP : 202...129 )
รายละเอียดโครงการ
ข้อตกลงเลขที่ 56-000488
รหัสโครงการ 56-00721
ชื่อโครงการ บูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา (โครงการหลัก)
ชุดโครงการ แผนงานบริหารจัดการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2556 - 30 เมษายน 2557
งบประมาณ 0.00 บาท
พี่เลี้ยงติดตามสนับสนุนโครงการ
  • twoseadjtwoseadj(Trainer)
  • wannawanna(Owner)
  • Nongluk RuklengNongluk Rukleng(Owner)
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ

วัตถุประสงค์หลัก

  1. พัฒนาศักยภาพคนบนฐานของพื้นที่อันจะทำให้เกิดชุมชนที่เข้มแข็ง
  2. พัฒนารูปแบบการจัดการความมั่นคงทางอาหาร
  3. พัฒนารูปแบบการจัดการด้านอาหารปลอดภัย
  4. เพื่อบูรณาการงานโภชนาการ และอาหารคุณภาพ โภชนาการสมวัย กับงานความมั่นคงทางอาหาร และอาหารปลอดภัย
  5. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือการบูรณการด้านอาหารในระดับจังหวัด
  6. เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะระดับพื้นที่เกี่ยวกับสุขภาวะด้านอาหาร

วัตถุประสงค์ย่อยและตัวชี้วัด

1. พัฒนารูปแบบการจัดการความมั่นคงทางอาหาร

  1. เกิดรูปแบบการพัฒนาแหล่งผลิตอาหารที่แสดงถึงความมั่นคงทางอาหารใน 4  แหล่งผลิตได้แก่ พืชผักผลไม้  ประเภทเนื้อสัตว์ อาหารทะเล  อาหารน้ำจืด
  2. เกิดศูนย์เรียนรู้เกี่ยวกับความมั่นคงด้านอาหารอย่างน้อยจำนวน 5 แห่ง
  3. เกิดระบบข้อมูลด้านอาหารที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
  4. มีแผนระยะสั้น กลาง และระยะยาวในการเพิ่มจำนวนแหล่งผลิตอาหาร
  5. มีการเพิ่มขึ้นของเครือข่ายด้านความมั่นคงทางอาหาร อย่างน้อยจำนวน 5 เครือข่าย
  6. เกิดนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการความมั่นคงทางอาหารในประเด็น
    • การอนุรักษ์ทรัพยากรแหล่งอาหารทางทะเล
    • การกำหนดกติกาชุมชนด้านการอนุรักษ์-ขยายพันธุ์ปลา
    • การเปลี่ยนสวนยางเป็นป่ายาง และการจัดทำธนาคารต้นไม้ชุมชนบัญญัติไว้ในธรรมนูญสุขภาพลุ่มน้ำรัตภูมิ
    • นโยบายสาธารณะด้านการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา

จากตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้นจะสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนอาหารเพื่อสุขภาวะของ สสส. ดังนี้

  1. เกิดต้นแบบและศูนย์เรียนรู้ของการจัดการพื้นที่และชุมชนที่มีระบบการผลิตและการกระจายอาหารที่ยั่งยืน ในประเด็นหลักได้แก่ แหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ประมงพื้นบ้านและเกษตรยั่งยืน
  2. เกิดระบบส่งเสริมการตลาดของผลิตผลการเกษตรที่ยั่งยืน เพื่อให้กระจายและเข้าถึงผู้บริโภคได้กว้างขวางขึ้น
  3. เกิดกลไกแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อการเสริมสร้าง ฟื้นฟู ขยายฐานทรัพยากรอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพ

2. พัฒนารูปแบบการจัดการด้านอาหารปลอดภัย

  1. เกิดพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบด้านอาหารปลอดภัยในลักษณะอุทยานอาหารใน 2 บริบท คือ บริบทเมือง (ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่) และบริบทชนบท (ในพื้นที่ครัวใบโหนด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา) อันเป็นพื้นที่บูรณาการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายให้เกิดเกษตรที่ปลอดภัยเอื้อต่อสุขภาวะของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค การแปรรูปอาหารที่ใช้พลังงานต่ำ การพัฒนาและเผยแพร่เมนูชูสุขภาพ ช่องทางจำหน่ายและตลาดอาหารสุขภาพ-ตลาดสีเขียว
  2. พัฒนาระบบข้อมูลด้านอาหารปลอดภัยสำหรับใช้ทำงานและประกอบการตัดสินใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  3. เกิดกลไกด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 2 แห่ง ประกอบด้วย กลไกการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย ชดเชยความเสียหาย เฝ้าระวัง ติดตามความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ
  4. เกิดกลไกด้านคุ้มครองผู้บริโภคในลักษณะเครือข่ายผู้บริโภค จำนวน 16 อำเภอ ประกอบด้วย กลไกการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย ชดเชยความเสียหาย เฝ้าระวัง ติดตามความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ
  5. เกิดมาตรการควบคุมการจำหน่ายและบริการอาหารไม่ปลอดภัยและมาตรการส่งเสริมอาหารสุขภาวะในสถานศึกษา สถานที่ราชการ สถานประกอบการ ตลาดสด แผงลอย และร้านอาหาร

จากตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้นจะสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนอาหารเพื่อสุขภาวะของ สสส. ดังนี้

  1. เกิดแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย แหล่งจำหน่ายอาหารปลอดภัย และค่านิยมในการบริโภคอาหารปลอดภัย
  2. เกิดกลไกแบบบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อให้เกิดเกษตรที่ปลอดภัยเอื้อต่อสุขภาวะของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค การแปรรูปอาหารที่ใช้พลังงานต่ำ การพัฒนาและเผยแพร่เมนูชูสุขภาพ ช่องทางจำหน่ายและตลาดอาหารสุขภาพ-ตลาดสีเขียว
  3. เกิดมาตรการควบคุมการจำหน่ายและบริการอาหารไม่ปลอดภัยและมาตรการส่งเสริมอาหารสุขภาวะในสถานศึกษา สถานที่ราชการ สถานประกอบการ ตลาดสด แผงลอย และร้านอาหาร

3. พัฒนารูปแบบโภชนาการ และอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัย

  1. เกิดรูปแบบโภชนาการสมวัยในระดับท้องถิ่น 2 แห่ง ในเทศบาลตำบลชะแล้  อำเภอสิงหนคร และ องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อ.รัตภูมิ จังหวัดสงขลา
  2. ร้อยละ 50 ของศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ.สงขลา นำนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่ประเด็นการปรับประยุกต์ใช้แบบแผนโภชนาการสมวัย
  3. เกิดระบบการติดตามภาวะโภชนาการในแต่ละช่วงวัย จากการดำเนินงานวิจัยติดตามพฤติกรรมการบริโภค (Cohort-Study)
  4. เกิดการรวบรวมตำรับอาหารท้องถิ่นในจังหวัดสงขลาที่เอื้อต่อโภชนาการ
  5. เกิดการรวบรวมตำรับสมุนไพรและอาหารที่เป็นยาในจังหวัดสงขลา
  6. เกิดรูปแบบการทดแทนขนมเด็กด้วยขนมพื้นบ้านที่เอื้อต่อโภชนาการ

จากตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้นจะสอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนอาหารเพื่อสุขภาวะของ สสส. ดังนี้

  1. ร้อยละ80 ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่สนับสนุนโดย สสส.ได้บริโภคผักและผลไม้ในมื้ออาหารที่จัดไว้อย่างพอเพียงตามปริมาณมาตรฐาน
  2. เกิดแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่นำร่องเพื่อนำเอาข้อมูลทางวิชาการไปเป็นฐานเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนมาตรการและนโยบาย และการรณรงค์สร้างค่านิยมในสังคม
กิจกรรมสำคัญ

แผนที่ 1 แผนงานความมั่นคงด้านอาหาร

  1. ปฏิบัติการชุมชน และการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 4 พื้นที่ ประกอบด้วย

    1. ศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ
    2. เครือข่ายชุมชนตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์
    3. สถาบันศานติธรรม  จ.สงขลา พื้นที่ ต.เขาพระ อ. รัตภูมิ จ.สงขลา , พื้นที่ ต.ควนเนียง อ.รัตภูมิ จ.สงขลา , ศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบก
  2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะกับการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ

แผนงานที่ 2 แผนงานอาหารปลอดภัย

  1. การพัฒนาอุทยานอาหารในเขตเมือง
  2. การพัฒนาศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคในลักษณะเครือข่ายผู้บริโภค

แผนงานที่ 3 แผนงานโภชนาการ และอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัย

  1. ปฏิบัติการเพื่อการบูรณาการด้านอาหาร(Intervention) ในพื้นที่นำร่อง 2 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา , เทศบาลตำบลชะแล้ อ.สิงหนคร จ.สงขลาและพื้นที่เปรียบเทียบ 2 แห่ง อบต.ท่าหิน อ.สทิงพระ และ อบต.รัตภูมิ จ.สงขลา
  2. การติดตามผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคและสถานการณ์สุขภาวะระยะยาว Cohort Study ในพื้นที่ทดลองได้แก่ตำบลควนรู อ.รัตภูมิ, เทศบาลตำบลชะแล้ พื้นที่ควบคุม อบต.ท่าหิน อ.สทิงพระ , อบต.รัตภูมิ อ.ควนเนียง จ.สงขลา
  3. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.บ่อดาน อ.สทิงพระ จ.สงขลา
  4. การวิจัย เรื่อง อาหารเป็นยาสมุนไพร: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา (Food as herbal medicine: A case study of Songkhla province) โดย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

แผนงานที่ 4 แผนงานการสื่อสารสาธารณะ

กลุ่มเป้าหมาย

โรงเรียน, โรงแรม, คนทั่วไป, ผู้ป่วยเฉพาะโรค,องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
สถานภาพโครงการ ดำเนินการเสร็จสิ้น

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
28 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557 11:04:15
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 30 กรกฎาคม 2557 16:14:39 น.

ชื่อกิจกรรม : การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา

  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo การประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลาการประชุมเชิงปฎิบัติการ การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอาหารจังหวัดสงขลาให้เป็นรูปธรรม

กิจกรรมตามแผน

08.30-09.30 น.ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม/ชุมนิทรรศการผลงานกระทรวงวิทยาศาสตร์

09.30-10.00 น. พิธีเปิด

09.30-09.40 น. กล่าวต้อนรับโดยผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

09.40-09.45 น. กล่าวรายงานโดย นางนิตยา พัฒนรัชต์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์

09.45-10.00 น. กล่าวเปิดโดย ดร.สุทธิเวช ต.แสงจันทร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10.00-10.20 น. ถ่ายภาพหมู่และพักรับประทานอาหารว่าง ชมนิทรรศการผลงานกระทรวงวิทยาศาสตร์

10.20-11.10 น. นำเสนอกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย โดยนายชายกร สินธุสัย นักวิชาการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) กระทรวงวิทยาศาสตร์

11.10-12.00 น. นำเสนอแนวทางยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00-15.00 น. ประชุมกลุ่มย่อยระหว่างกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่กับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและหน่วยงานเครือข่าย แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว กลุ่มที่ 2 การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร กลุ่มที่ 3 การผลิตปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการเพาะปลูกให้เกษตรกร กลุ่มที่ 4 การเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยของอาหารแปรรูป

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา โดยนายพิรศิญจ์ พันเพ็ง กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม

  • นางนิตยา พัฒนรัชต์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์ กล่าวรายงาน

  • ดร.สุทธิเวช ต.แสงจันทร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวเปิดงาน

  • นายชายกร สินธุสัย นำเสนอกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย

  • ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ นำเสนอแนวทางยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • ประชุมกลุ่มย่อยระหว่างกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่กับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและหน่วยงานเครือข่าย แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่

  • กลุ่มที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว
  • กลุ่มที่ 2 การจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร
  • กลุ่มที่ 3 การผลิตปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการเพาะปลูกให้เกษตรกร
  • กลุ่มที่ 4 การเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยของอาหารแปรรูป

ผลตามแผน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมหลายหน่วยงาน เช่น สำนักงานจังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เป็นต้น รวมไปถึง ภาคประชุาสังคม และเครือข่ายต่างๆ ได้เข้ามาร่วมกันอย่างครึกครื้น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุมดังกล่าวให้ความสนใจกับการจัดงานเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกิจกรรมกลุ่มย่อยระหว่างกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่กับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้ง 4 กลุ่ม คือ กลุ่มการเพิ่มประสิทธิภาพข้าว กลุ่มการจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร กลุ่มการผลิตปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนให้เกษตรกร และ กลุ่มการเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยของอาหารแปรรูป โดยวิทยากรและเลขาแต่ละกลุ่มจะได้สรุปงานและนำส่งให้แก่ ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำภูมิภาคภาคใต้ เพื่อนำไปเป็นข้อมูลสนับสนุนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอาหารจังหวัดสงขลาต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
6 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 10 มิถุนายน 2557 10:21:44
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 16:13:08 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • photo ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลในการการจัดทำยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

นายขจรศักดิ์ เจิรญโสภา หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลาเป็นประธานในการประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม คือ

  • ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

-หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ สำนักงานจังหวัดสงขลา

  • ผู้แทนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา

  • ผู้แทนจากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสงขลา

  • ผู้แทนจากสำนักงานเกษตรจังหวัดสงขลา

และตัวแทนจากแผนงานบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ

ผลตามแผน

ได้ร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทางสำนักงานจังหวัดสงขลาจะรวบรวมข้อมูลที่ได้จากแต่ละหน่วยงาน และจะทำการ SWOT ข้อมูลพร้อมกับประชุมร่วมกับแต่ละหน่วยงาน เพื่อวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28 พฤษภาคม 2557 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 10 มิถุนายน 2557 10:45:36
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 22 มิถุนายน 2557 22:33:17 น.

ชื่อกิจกรรม : คณะกรรมการบริหารโครงการฯ

  • photo คณะกรรมการบริหารโครงการฯคณะกรรมการบริหารโครงการฯ
  • photo คณะกรรมการบริหารโครงการฯคณะกรรมการบริหารโครงการฯ
  • photo คณะกรรมการบริหารโครงการฯคณะกรรมการบริหารโครงการฯ
  • photo คณะกรรมการบริหารโครงการฯคณะกรรมการบริหารโครงการฯ
  • photo คณะกรรมการบริหารโครงการฯคณะกรรมการบริหารโครงการฯ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อรายงานผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

กิจกรรมตามแผน

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ


ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานกรประชุมครั้งที่ 2/2557

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุม

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภก.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ เป็นประธานในที่ประชุม และมีผู้เข้าร่วมประชุม คือ

  • คุณสง่า ดามาพงษ์
  • คุณจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี
  • ผู้แทนจาก สสส.สำนัก 5
  • ผู้แทนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดวงขลา
  • ผู้แทนจากเทศบาลเมืองคอหงส์ 

ผลตามแผน

ได้แนวทางและแผนในการดำเนินงานสู่ปีที่ 2 

ผลที่เกิดขึ้นจริง

กรรมการบริหารโครงการ มีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี้

  1. ในการถ่ายทอดการดำเนินงานในปีที่ 1 ให้ชัดขึ้น ว่า การดำเนินงานทั้ง 3 แผนงานมีกระบวนการทำงานอย่างไร เช่น เชิงแสมีกระบวนการทำงานอย่างไรที่สามารถรวมลุกขึ้นมาทำงานในชุมชนได้

  2. อยากให้แยกสรุปการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาว่า แผนงานใดมีความชัดเจน และประสบความสำเร็จให้ กับแผนงานที่ยังคลุมเครือ ไ่มีความชัดเจน พยายามหากระบวนการที่ทำให้การปฎิบัติงานดังกล่าวมีความชัดเจนขึ้น

  3. ในปีถัดไปอยากให้มีการผลักดันการดำเนินงานในปีแรกเข้าสู่แผนนโยบายให้เพิ่มมากขึ้น เช่นผบักเข้าเป็นแผนชุมชน แผนองค์การบริหารส่วนตำบล แผนท้องถิ่น เป็นต้น

  4. พัฒนาการสื่อสารการดำเนินงานให้คนรู้มากขึ้น เข้าใจมากขึ้น และติดตามข่าวสารเพิ่มมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
7 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 7 พฤษภาคม 2557 22:22:56
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 15:54:42 น.

ชื่อกิจกรรม : นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส

  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแสนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาลงพื้นที่เชิงแส

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาบริบทของพื้นที่ในการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่เพื่อศึกษาบริบท ความพร้อมของพื้นที่ในการเป็นแหล่งความมั่นคงทางอาหาร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่เพื่อศึกษาบริบท ความพร้อมของพื้นที่ในการเป็นแหล่งความมั่นคงทางอาหารบนคาบสมุทรสทิงพระ

ผลตามแผน

ได้ข้อมูลที่จะนำเข้าสู่การร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • หน่วยงานราชการต่างๆ ให้การต้อนรับผู้ลงเยี่ยมชมพื้นที่ผลิตอาหารของอำเภอกระแสสินธุ์ โดยได้ทำการเสวนากลุ่มเล็กๆ แบ่งปันข้อมูลจากส่วนราชการ ภาคประชาชน เพื่อให้มีข้อมูลนับเข้าสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • มีการลงพื้นที่จริงในการสำรวจทุนของชุมชน เช่น การเลี้ยงสัตว์ การปลูกผักปลอดสารพิษ การทำเกษตรอินทรย์

  • ได้ข้อมูลที่จะนำไปวิเคราะห์เพื่อนำเข้าสู่การจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา คือ การที่พื้นที่มีทุนของชุมชน คือ พื้นที่เลี้ยงสัตว์ มีโรงปุ๋ย มีโรงสีของชุมชน และความต้องการของชุมชนที่ต้องการให้มีการกำหนดพื้นที่ฟาร์มทะเล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  • ชาวบ้านให้ความร่วมมือน้อย เพราะไม่ได้เข้ามามีบทบาทใดๆจากการลงพื้นที่ในครั้งนี้
รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
6 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 15 พฤษภาคม 2557 15:15:49
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 15:25:08 น.

ชื่อกิจกรรม : นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร

  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร
  • photo นำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารนำทีมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหาร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาบริบทของพื้นที่ในการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

ลงพื้นที่เพื่อศึกษาบริบท ความพร้อมของพื้นที่ในการเป็นแหล่งความมั่นคงทางอาหาร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่เพื่อศึกษาบริบท ความพร้อมของพื้นที่ในการเป็นแหล่งความมั่นคงทางอาหารประเภทอาหารทะเล

ผลตามแผน

ได้ข้อมูลที่จะนำเข้าสู่การร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ชาวบ้าน ให้การต้อนรับผู้ลงเยี่ยมชมพื้นที่ผลิตอาหารของอำเภอจะนะ โดยได้ทำการเสวนาร่วมกันระหว่างชาวบ้านและหน่วยงานราชการที่ลงพื้นที่ แบ่งปันข้อมูลจากส่วนราชการ ภาคประชาชน เพื่อให้มีข้อมูลนับเข้าสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • มีการลงพื้นที่จริงในการสำรวจทุนของชุมชน เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของอาหารทะเล

  • ได้ข้อมูลที่จะนำไปวิเคราะห์เพื่อนำเข้าสู่การจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
18 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 15 พฤษภาคม 2557 16:19:09
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 14:48:00 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศษสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์อาหารจังหวัดสงขลา

ผลตามแผน

ได้ร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-ผศ.ดร.ภก. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ เป็นประธษนในที่ประชุมคณะทำงานกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • มีหน่วยงานราชการในจังหวัดสงขลาเข้าร่วมประชุม

  • ทุกหน่วยงานร่วมกันเสนอยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ร่วมกันออกแบบขั้นตอนการทำยุทธศาสตร์

  • ได้ข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาเพียงบางส่วน ด้วยเวลาที่จำกัด จึงได้มอบหมายให้แต่ละหน่วยงานส่งข้อมูลให้กับฝ่ายเลขานุการเพื่อทำการรวบรวมและทำการสังเคาระห์

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
8 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:18:46
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 14:35:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา
  • photo ประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศษสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

ผู้ว่าราชการจังหวัดเชิญหน่วยงานราชการในจังหวัดสงขลามาร่วมประชุมในการยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาเป็นประธานในที่ประชุม
  • หน่วยงานราชการต่างๆในจังหวัดสงขลา เข้าร่วมประชุม
  • คุณสง่า ดามาพงษ์ เป็นตัวแทนจาก สสส เข้าร่วมประชุม ผลจากการประชุมพบว่า มติในที่ประชุม ให้มีการใช้ชื่อ ยุทธศาสตร์ระบบอาหารในการดำเนินงานต่อ ได้มีคำสั่งแต่งตั้งให้มีคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลตามแผน

มีคณะคำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • มีคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาโดยมีคำสั่งแต่งตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
  • มอบหมายให้แต่ละหน่วยงานกลับไปทำข้อมูลและกลับมาประชุมอีกครั้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
7 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:04:46
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 14:28:33 น.

ชื่อกิจกรรม : ศึกษาดูงาน

  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน
  • photo ศึกษาดูงานศึกษาดูงาน

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นการจัดการความมั่นคงทางอาหารฯ

กิจกรรมตามแผน

  • ประชุมลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นการจัดการความมั่นคงทางอาหารฯ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • ลงพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นการจัดการความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ตำบลเชิงแสและชะแล้

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นความมั่นคงทางอาหาในพื้นที่

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ลงพื้นที่เชิงแส เพื่อดูพื้นที่การจัดการอนุรักษ์และขยายพพันธ์สัตว์น้ำ การจัดการน้ำเพื่อการทำนา ดูไร่สวนเกษตรผสมผสาน ที่มีการปลูกผักแบบปลอดสารเคมีที่ให้คนในชุมชนได้บริโภค และการทำนาอินทรีย์แบบครบวงจรของคุณลุงประสิทธิ์
  • พื้นที่ชะแล้เป็นพื้นที่ที่หน่วยงานราชการในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมของชุมชน โดยในวันดังกล่าว ได้มีนายอำเภอ สจ ในพื้นที่ เกษตรอำเภอได้เข้ามาให้การต้อนรับผู้ที่ลงไปศึกษาดูงานเป็นอย่างดี

  • มีการรับรองอาหารเที่ยงที่เป็นผลิตภัณฑ์ในชุมชน ซึ่งไม่ได้ซื้อมาจากตลาดข้างนอก ทำให้ผู้ที่ลงไปศึกษาดูงานมีความประทับใจและพอใจกับอาหารที่ทางเชิงแสได้จัดเตรียมไว้ ให้


  • ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรีนรู้ประเด็นวามมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ชะแล้ โดยการนำของผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 ที่ได้ใช้พื้นที่ของตัวเอง ทำนา เลี้ยงปลา และปลูกพืชต่างๆ และนำไปชมศูนย์วิสาหกิจชุมชนที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากผลิตภัณฑ์ในชุมชน เช่น การทำกล้วยทับพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
6 เมษายน 2557 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 15 พฤษภาคม 2557 15:24:58
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 28 พฤษภาคม 2557 00:26:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่จะนะ

  • photo ลงพื้นที่จะนะลงพื้นที่จะนะ
  • photo ลงพื้นที่จะนะลงพื้นที่จะนะ
  • photo ลงพื้นที่จะนะลงพื้นที่จะนะ
  • photo ลงพื้นที่จะนะลงพื้นที่จะนะ
  • photo ลงพื้นที่จะนะลงพื้นที่จะนะ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมกำหนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารอำเภอจะนะ

กิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2 เมษายน 2557 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:46:09
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:47:17 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่ ชะแล้ และกระแสสินธุ์

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับการศึกษาดูงาน

กิจกรรมตามแผน

สำรวจพื้นที่ในการนำทีมจาก สสส ลงพื้นที่

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

สำรวจเส้นทาง และพื้นที่ที่จะนำทีม สสส ลงไปใปในพื้นที่

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
19 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 15 พฤษภาคม 2557 16:05:40
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 10:59:36 น.

ชื่อกิจกรรม : งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม

  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • photo งานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อนำเสนอข้อมูลการดำเนินงานของเครือข่ายภายใต้การดำเนินงานโครงการบูรณาการงานสร้างเสริมสุขภาวะด้านอาหารและโภชนาการ กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา
    2. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ให้เป็นที่รับรู้ใ

กิจกรรมตามแผน

วันที่ 19 มีนาคม 2557

13.00 – 13.30  น. เปิดงานตลาดนัดความรู้ การแสดงโขน (10 นาที)

  • กล่าวรายงานการดำเนินงานตลาดนัดความรู้ โดย ผศ.ดร. พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
  • เปิดงาน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
  • มอบโล่รางวัลกิจกรรมประกวดสื่อ เรื่อง “อาหารของแม่”

13.30 – 13.40 น. ลิเกฮูลู เยาวชนจะนะ

13.40 – 16.30 น. เสวนา : นโยบายสาธารณะการจัดการความมั่นคงทางอาหาร

16.30 – 17.00 น การแสดงละครกลุ่มมะนาวหวาน

17.00 – 18.00 น. คุยกับคนดัง (สำนักพิมพ์)

18.00 – 19.00 น. การแสดงหนังตะลุงลำดวน ศ.อิ่มเท่ง

วันที่ 20 มีนาคม 2557 9.00  – 10.00 น. ประกวดวาดภาพเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ

10.00 – 11.00 น. ประกวดการแสดงของนักเรียน

11.00 – 12.00 น. สาธิตตำรับอาหารพื้นบ้าน / อาหารเจเพื่อสุขภาพ

12.00 – 13.00 น. พัก เยี่ยมชมนิทรรศการ

13.00 – 13.30 น. ดนตรีกลุ่มรักษ์ลุ่มน้ำเลสาบสงขลา

13.30 – 14.30 น. คุยกับคนดัง(สำนักพิมพ์)

14.30 – 16.30 น. เสวนา : อาหารเป็นยา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน

16.-30 – 18.00 น. การแสดงศิลปวัฒนธรรม: การแสดงมโนราห์/โขน


วันที่ 21 มีนาคม 2557 9.00 – 10.30 น. ชมสวนสมุนไพรและศูนย์สมุนไพรทักษิณ คณะเภสัชศาสตร์ ม.อ.
(จากนั้นเดินทางต่อด้วยรถรางเพื่อชมฟาร์มสุกรและฟาร์มไก่ )

10.30 – 12.00 น. ชมฟาร์มสุกรและฟาร์มไก่ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.

12.00 – 13.00 น. สาธิตการทำอาหารไทย / ขนมพื้นบ้าน

13.00 – 16.00 น. เสวนา : “อาหารของแม่สู่โภชนาการที่สมวัย”

16.00 – 16.30 น. พบกับคนดัง คุณพงสา ชูแนม นักอนุรักษ์ป่าต้นน้ำพะโต๊ะ จ.ชุมพร

16.30 – 17.00 น. การแสดงศิลปวัฒนธรรม : การแสดงลิเกฮูลู/ระบำบาติก ปิดงานตลาดนัดความรู้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

วันที่ 19 มีนาคม 2557

13.00 – 13.30  น. เปิดงานตลาดนัดความรู้ การแสดงโขน (10 นาที) - กล่าวรายงานการดำเนินงานตลาดนัดความรู้ โดย ผศ.ดร. พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ - เปิดงาน โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา - มอบโล่รางวัลกิจกรรมประกวดสื่อ เรื่อง “อาหารของแม่”

13.30 – 13.40 น. ลิเกฮูลู เยาวชนจะนะ

13.40 – 16.30 น. เสวนา : นโยบายสาธารณะการจัดการความมั่นคงทางอาหาร

16.30 – 17.00 น การแสดงละครกลุ่มมะนาวหวาน

17.00 – 18.00 น. คุยกับคนดัง (สำนักพิมพ์)

18.00 – 19.00 น. การแสดงหนังตะลุงลำดวน ศ.อิ่มเท่ง

วันที่ 20 มีนาคม 2557 9.00  – 10.00 น. ประกวดวาดภาพเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ

10.00 – 11.00 น. ประกวดการแสดงของนักเรียน

11.00 – 12.00 น. สาธิตตำรับอาหารพื้นบ้าน / อาหารเจเพื่อสุขภาพ

12.00 – 13.00 น. พัก เยี่ยมชมนิทรรศการ

13.00 – 13.30 น. ดนตรีกลุ่มรักษ์ลุ่มน้ำเลสาบสงขลา

13.30 – 14.30 น. คุยกับคนดัง(สำนักพิมพ์)

14.30 – 16.30 น. เสวนา : อาหารเป็นยา ภูมิปัญญาพื้นบ้าน

16.-30 – 18.00 น. การแสดงศิลปวัฒนธรรม: การแสดงมโนราห์/โขน


วันที่ 21 มีนาคม 2557 9.00 – 10.30 น. ชมสวนสมุนไพรและศูนย์สมุนไพรทักษิณ คณะเภสัชศาสตร์ ม.อ.
(จากนั้นเดินทางต่อด้วยรถรางเพื่อชมฟาร์มสุกรและฟาร์มไก่ )

10.30 – 12.00 น. ชมฟาร์มสุกรและฟาร์มไก่ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.

12.00 – 13.00 น. สาธิตการทำอาหารไทย / ขนมพื้นบ้าน

13.00 – 16.00 น. เสวนา : “อาหารของแม่สู่โภชนาการที่สมวัย”

16.00 – 16.30 น. พบกับคนดัง คุณพงสา ชูแนม นักอนุรักษ์ป่าต้นน้ำพะโต๊ะ จ.ชุมพร

16.30 – 17.00 น. การแสดงศิลปวัฒนธรรม : การแสดงลิเกฮูลู/ระบำบาติก ปิดงานตลาดนัดความรู้

ผลตามแผน

นักเรียน  นักศึกษา นักวิชาการ บุคลากรการศึกษา ภาคประชาชนที่ขับเคลื่อนการดำเนินงานในประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร อาหารปลอดภัย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป จำนวน 1,000 คน

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียน  นักศึกษา นักวิชาการ บุคลากรการศึกษา ภาคประชาชนที่ขับเคลื่อนการดำเนินงานในประเด็นความมั่นคงด้านอาหาร อาหารปลอดภัย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป จำนวน 1,000 คน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ควรทำการประชาสัมพันธ์ให้มากกว่านี้

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
12 มีนาคม 2557 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:02:26
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 17 กรกฎาคม 2557 10:28:23 น.

ชื่อกิจกรรม : พบผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อนำเสนอร่างข้อเสนอความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา

กิจกรรมตามแผน

เพื่อนำเสนอร่างข้อเสนอความมั่นคงทางทางอาหารแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ร่วมพูดคุยและเสนอร่างข้อเสนอความมั่นคงทางอาหาร

ผลตามแผน

ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาเห็นความสำคัญของความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามาร่วมรับฟังและร่วมประชุม

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ผู้ว่าราชการมอบหมายให้ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์จังหวัดสงขลา พิจารณาประเด็นความมั่นคงทางอาหารเพื่อมอบหมายให้แต่ละอำเภอเข้าร่วมการประชุมในการกำหนดร่างข้อเสนอความมั่นคงทางอาหารต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
8 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:11:11
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:14:11 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมกำหนดข้อเสนอความมั่นคงทางอาหารในงานงานตลาดนัด “อุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม”

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อกำหนดข้อเสนอความมั่นคงทางอาหาร

กิจกรรมตามแผน

กำหนดข้อเสนอความมั่นคงทางอาหารโซนคาบสมุทรสทิงพระ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

กำหนดข้อเสนอความมั่นคงทางอาหาร ในพื้นที่เชิงแส สทิงพระ และควนรู

ผลตามแผน

ได้ข้อเสนอความมั่นคงทางอาหาร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้ข้อเสนอความมั่นคงทางอาหาร 1) สนับสนุนให้มีการรวบรวมภูมิปัญญาสูตรตำรับอาหารพื้นบ้านภาคใต้ ที่ประกอบไปด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ที่มีคุณค่าทั้งทางโภชนาการ และเวชการ  อันเป็นเอกลักษณ์ประจำถิ่น ประจำชาติ
2) ส่งเสริมให้มีแหล่งจำหน่าย ตำรับอาหารพื้นบ้านภาคใต้ในชุมชน ร้านอาหาร และห้างสรรพสินค้า 3) ส่งเสริมให้มีการใช้และบริโภคตำรับอาหารพื้นบ้านภาคใต้ ในหน่วยงานราชการ โรงเรียน โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา และครัวเรือน 4) พัฒนายกระดับอาหารพื้นบ้าน ขนมพื้นบ้าน สมุนไพรที่ใช้เป็นยาไปสู่เศรษฐกิจชุมชนเพื่อเสริมสร้างรายได้และรักษาเอกลักษณ์ภูมิปัญญาของท้องถิ่น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
20 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 13:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:14:37
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 23:56:04 น.

ชื่อกิจกรรม : เตรียมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเตรียมงานตลาดนัดอุทยานอาหาร

กิจกรรมตามแผน

ออกแบบรูปแบบงานและ ฝ่ายต่างๆ ที่รับผิดชอบในงาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ร่วมกันออกแบบโลโก้ และรับมอบหมายงาน

ผลตามแผน

  • มีรูปแบบงานที่ชัดเจน
  • มีผู้รับผิดชอบในงานใ่ายต่างๆ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้โลโก้ที่เป็นเอกลักษณ์ของงานตลาดนัดอุทยานอาหาร วิถีแห่งสุขภาพ วิถีแห่งวัฒนธรรม
  • ได้รับความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งหน่วยงานราชการ ร้านค้า มูลนิธิ สมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยว ในการช่วยเตรียมงานต่างๆ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
10 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:45:28
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 22 มิถุนายน 2557 23:03:24 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดอบรมการใช้โปรแกรมจัดการเมนูอาหารกลางวันในโรงเรียน

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  1. มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานอาหารกลางวันในโรงเรียน หลักการประเมินและการปรับปรุงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารกลางวัน
  2. สามารถใช้โปรแกรม INMU-SchoolLunch  ในการกำหนดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพในโรงเรียนได้

กิจกรรมตามแผน

เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการให้กับคุณครู ผู้ประกอบการร้านอาหารในโรงเรียน แกนนำชุมชน และบุคคลที่สนใจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมได้มีความรู้ในการจัดอาหารกลางวันในโรงเรียนที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ระยะเวลาในการอบรม  จำนวน 2 วัน ระหว่างวันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2557  ณ ห้องประชุมสถาบันการ จัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีวิทยากรให้ความรู้ด้านโภชนาการ 3 ท่าน  และผู้เข้าร่วมอบรมจากเครือข่ายองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู และเทศบาลตำบลชะแล้

ผลตามแผน

ครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน และครูที่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้ประกอบการขายอาหารในโรงเรียน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

การอบรมปฏิบัติการ เรื่อง การจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพสำหรับโรงเรียน โดยมีวิทยากรให้ความรู้  3  ท่าน คือ ดร.ลักษณา  ไชยมงคล  ดร.ศิวพร ปิ่นแก้ว  และ อ.ฟาริด้า  อีดสัน
ช่วงเช้าจะเป็นการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับ หลักการกำหนดมาตรฐานอาหารกลางวันในโรงเรียน , คะแนนคุณภาพสารอาหาร และเกณฑ์การประเมินคุณภาพสารอาหารผ่านรายวัน/สัปดาห์ ซึ่งก่อนที่วิทยากรจะให้ความรู้ จะสอบถามมาตรฐานอาหารกลางวันที่ครูกำหนดเมนูอาหารให้เด็กในปัจจุบันก่อนว่ากำหนดเมนูอาหารอย่างไร  ซึ่งได้ข้อสรุปดังนี้ ปัญหาในการพบเจอเรื่องอาหารกลางวัน 1. อาหารรสชาติไม่มั่นคง 2. สีสันของอาหาร กลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ เช่น กุ้ง 3. ทำอย่างไรให้เมนูอาหารในการอบรมครั้งนี้ แบ่งเบาภาระให้กับครู  เพราะครูต้องใช้เวลาในการสอน 4. การทำอาหารกลางวันของโรงเรียน  คนคิดเมนูอาหาร  ได้รับการอบรม แต่คนที่ปรุงอาหาร ไม่ได้รับการอบรม  จึงทำงานไม่ได้ไปในทิศทางเดียวกัน 5. อาหารซ้ำกันในแต่ละวัน  ทำให้เด็กเกิดความเบื่อหน่าย 6. เทศบาลเมืองชะแล้  ปัญหาที่ประสบอยู่ตอนนี้คือ เด็กไม่ชอบรับประทานผัก 7. อาหารเหลือทิ้งเยอะมาก ปัจจุบันคือ ทำอาหารตามความชอบของเด็ก
8. บ้านลูกรัก  การรับประทานอาหารของเด็กไม่ค่อยมีปัญหา กังวลใจเรื่องความสะอาดในกระบวนการผลิต 9. ศพด.ไทรใหญ่ ได้คิดเมนูให้กับแม่ครัว ซึ่งจะได้เมนูที่ไม่ซ้ำกันในแต่ละวัน
10. ความรู้ของแม่ครัว เรื่องโภชนาการ สีสัน ความคาดหวังในการเข้าอบรม 1. อยากให้คุณภาพของอาหารกลางวันสำหรับเด็ก มีคุณภาพที่ดีกว่านี้ 2. อยากได้เมนูที่ดี  สามารถกระตุ้นความต้องการรับประทานอาหารของเด็กได้ทุกวัน 3. อยากให้แม่ครัวมาอบรมด้วย  และอยากตามไปดูกระบวนการผลิตของแม่ครัวที่บ้าน 4. อยากได้โปรแกรมเมนูอาหารกลางวันไปปรับปรุงการประกอบอาหารในโรงเรียนต่อไป ซึ่งทุกปัญหา จะได้รับการแก้ไขภาวะโภชนาการของเด็กในโรงเรียน ไปในทางที่ดีขึ้นจากความรูัที่ได้รับในการอบรมครั้งนี้ นอกจากนั้น ท่านวิทยากรยังให้ผู้เข้าอบรมคิดเมนูอาหาร 1 สัปดาห์ เป็นใบงานสำหรับวางแผนและตรวจสอบคุณค่าเมนูหมุนเวียนโครงการอาหารกลางวัน ก่อนจะศึกษาโปรแกรมสำเร็จรูป ช่วงบ่าย จนสิ้นสุดการอบรม  เป็นการศึกษาตัวโปรแกรมสำเร็จรูป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
27 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:43:29
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤษภาคม 2557 22:43:35 น.

ชื่อกิจกรรม : เตรียมงานตลาดนัดสีเขียว

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

1.เพื่อรณรงค์การบริโภคผักพื้นบ้าน

2.เพื่อให้ผู้บริโภค หันมาใส่ใจความปลอดภัยของผักในการเลือกบริโภคผักมากขึ้น

กิจกรรมตามแผน

1.ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับหัวหน้ากลุ่มปลูกผักครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน เกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อผลิตและจำหน่ายในกิจกรรมตลาดนัดสีเขียว  โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ  ศูนย์พิทักษ์สิทธิฯ และ รพ.สต. ให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสารปนเปื้อนในผัก  และขั้นตอนการบรรจุภัณฑ์ที่สามารถยืนยันความปลอดภัยให้กับผู้บริโภคได้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ หัวหน้าเกษตรตำบล , หัวหน้าส่วนการศึกษา , ผู้อำนวยการโรงเรียน , หัวหน้าศูนย์เด็กเล็ก , รพ.สต. , ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค และหัวหน้าสมาชิกครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลตามแผน

มีผู้เข้าร่วมประชุมครบตามเป้าหมายที่กำหนด

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.การให้ความรู้ความเข้าในตั้งแต่กระบวนการผลิต ตลอดจนถึงการจำหน่ายที่ถูกต้องโดยหลักการนี้ คือต้องเพาะปลูกในพื้นดินที่ปราศจากสารเคมี  โดยจะใช้วิธีธรรมชาติในการเพาะปลูก และต้องได้รับการดูแลจากเกษตรกรเป็นอย่างดี

2.การส่งตัวอย่างผักไปตรวจหาสารปนเปื้อน เพื่อเตรียมประกันความปลอดภัยให้กับผู้บริโภคในการออกจำหน่ายไปยังตลาดนัดสีเขียว

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
21 ธันวาคม 2556 เวลา 08:30 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยNongluk RuklengNongluk Ruklengเมื่อ 21 ธันวาคม 2556 09:56:06
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 22 มิถุนายน 2557 22:49:55 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน ครั้งที่ 6/2556

  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนความก้าวหน้าในการดำเนินงานแผนการดำเนินงานระหว่างเครือข่าย
  2. เพื่อร่วมหารือแนวทางและกำหนดรายละเอียดเบื้องต้นในการจัดงานตลาดนัดความรู้

กิจกรรมตามแผน

คณะกรรมการดำเนินงานร่วมประชุมหารือในประเด็นดังต่อไปนี้

  1. แลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานในไตรมาสสุดท้าย
  2. การจัดงานตลาดนัดความรู้
  3. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาโครงการปีที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  1. ชี้แจงและทำความเข้าใจการทำรายงานบนเว็บไซต์ www.consumersouth.org
  2. การนำเสนอผลการดำเนินงานจากการรายงานบนเว็บไซต์ พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของแต่แผนงานย่อย
  3. หารือการจัดงานตลาดนัดความรู้

ผลตามแผน

  1. แต่ละแผนงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนความก้าวหน้า และปัญหาในการดำเนินงาน
  2. สามารถกำหนดแผนงานการจัดงานตลาดนัดความรู้
  3. สามารถกำหนดแนวทางในการพัฒนาโครงการปีที่ 2

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. ทางผู้ประสานงานหลักขอความร่วมมือในการทำรายงานบนเว็บไซต์ให้มีรายละเอียดครบถ้วน และสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งทางเครือข่ายบางท่านแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียนรายงานบนเว็บไซต์ เกี่ยวกับกรอบหรือหัวข้อที่กำหนดให้เขียน แต่เนื่องจากการรายงานผลการดำเนินงานบางส่วนต้องการเพิ่มเติมส่วนที่เป็นความคิดเห็น หรือข้อความที่ไม่เป็นทางการ แต่ด้วยกรอบของหัวข้อที่กำหนดทำให้รู้สึกเหมือนต้องรายงานผลการดำเนินงานในเชิงวิชาการเท่านั้น
  2. แต่ละโครงการย่อยนำเสนอผลการดำเนินงานโดยรวมของพื้นที่ พร้อมแนวคิดในการดำเนินงาน และแผนการดำเนินงานต่อไปในภาพรวม ตามลำดับดังนี้
    • พื้นที่บูรณาการทางด้านอาหาร อบต.ควนรู โดย นางอมิตา ประกอบชัยชนะ
    • ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบก โดยนายไพฑูรย์ ศิริรักษ์
    • พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารตำบลเชิงแส โดยนายอัษฎา บุษบงค์
    • พื้นที่ความมั่นคงทางอาหารพื้นที่ ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ และ ต.รัตภูมิ อ.ควนเนียง โดยนายกำราบ พานทอง
    • ตลาดเกษตร ม.อ. โดยนางสาว เขมินี ทองมา
    • พื้นที่บูรณาการทางด้านอาหาร ทต.ชะแล้  โดยนายเมธา บุณยประวิตร
    • แผนงานการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อการประเมินตนเอง โดยดร.อมาวสี  อัมพันศิริรัตน์
    • แผนงานอาหารเป็นยา โดย นายเสถียรพงษ์ แกล้วชิต
    • งานวิจัยติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคระยะยาว(Cohort Study) โดย รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ
    • การวิจัยเชิงปฏิบัติการการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะกับการจัดการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา โดยนางสาวนริสรา เพชรสวัสดิ์
  3. การจัดงานตลาดนัดความรู้ คาดว่าจะร่วมกับทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยกำหนดแผนงานเบื้องต้นจะจัดงานในช่วงเดือนมีนาคม 2557 ณ ตลาดเกษตร ม.อ. รูปแบบการจัดงานจะมีทั้งการเสวนา นิทรรศการ แลกเปลี่ยนสินค้า การขายอาหาร และงานของแต่ละแผนงาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยNongluk RuklengNongluk Ruklengเมื่อ 4 ธันวาคม 2556 12:03:03
Project owner
แก้ไขโดย Nongluk Rukleng เมื่อ 6 ธันวาคม 2556 11:33:22 น.

ชื่อกิจกรรม : ติดตามงานแผนงานการสื่อสารสาธารณะและแผนงานบูรณาการด้านอาหาร พื้นที่ตำบลควนรู

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  1. ติดตามดูการดำเนินกิจกรรมนิทานเพื่อความห่วงใยในแหล่งอาหาร เพื่อการกินดี เพื่ออยู่ดีของเด็กๆ และหวงแหนผืนดินของเด็กๆ
  2. ติดตามความก้าวหน้างานแผนงานการบูรณาการด้านอาหารขององค์การบริหารส่วนตำบลควนรู

กิจกรรมตามแผน

ติดตามงานแผนงานการสื่อสาธารณะ การดำเนินกิจกรรมนิทานเพื่อความห่วงใยในแหล่งอาหาร เพื่อการอยู่ดีของเด็กๆ และหวงแหนผืนดินของเด็ก ๆ และแผนงานบูรณาการด้านอาหาร ขององค์การบริหารส่วนตำบลควนรู โดยร่วมปรึกษาหารือกับผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนบ้านไสท้อน โรงเรียนบ้านไสใหญ่ โรงเรียนบ้านโคกค่าย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูกรัก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสใหญ่ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกค่าย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  1. ร่วมสังเกตการณ์กิจกรรมนิทานเพื่อความห่วงใยในแหล่งอาหาร เพื่อการกินดี เพื่ออยู่ดีของเด็ก ๆ และหวงแหนผืนดินของเด็ก ๆ โดยมีระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม 2 วัน คือวันที่ 27- 28 ธันวาคม 2556
  2. ติดตามงานและร่วมหารือการดำเนินงานกิจกรรมภายใต้แผนงานความมั่นคงทางอาหาร โภชนาการสมวัย และอาหารปลอดภัย โดยร่วมหารือกับคณะทำงาน และผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งในพื้นที่

ผลตามแผน

  1. ได้ผลการดำเนินกิจกรรมนิทานเพื่อความห่วงใยในแหล่งอาหารฯ ในเบื้องต้น และผลตอบรับจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  2. ได้แนวทางในการดำเนินงานกิจกรรมต่อยอดจากสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของเด็กในพื้นที่

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. กิจกรรมนิทานเพื่อความห่วงใยในแหล่งอาหารเพื่อการกินดี เพื่ออยู่ดีของเด็ก ๆ และหวงแหนผืนดินของเด็ก ๆ มีระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรม 2 วัน คือวันที่ 27- 28 ธันวาคม 2556 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วย กลุ่ม อสม. นักเรียน และครู ซึ่งผลจากการสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้รับผิดชอบการดำเนินงานกล่าวว่า ในวันแรกของการทำกิจกรรมมีกลุ่มอสม. เข้าร่วมจำนวนหลายท่าน แต่ในวันที่ 2 กลุ่มอสม.มีการประชุม ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมต่อได้ จึงได้ให้กลุ่มเด็กนักเรียนเข้ามาสมทบแทน ซึ่งผลการตอบรับจากกิจกรรมดีมาก เพราะทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างพึงพอใจกับกิจกรรมเนื่องจากเป็นกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงจินตนการ แสดงออกทางความคิดเชิงสร้างสรรค์ ปรับแนวคิดทัศนคติของผู้เข้าร่วม และน่าจะให้ผลดีต่อการดำเนินชีวิตของผู้ใหญ่ และการเรียนรู้ของเด็ก และเสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วมสังเกตการณ์คนอื่น ๆ กล่าวว่า เป็นกระบวนการที่ดี น่าสนใจ และให้เด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้อย่างแท้จริง เพราะเด็กได้สร้างจินตนาการของตัวเอง ทั้งเด็กและครูต่างก็ชอบ และมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ร่วมกัน ครูได้แนวคิดดี ๆ กลับไปปรับใช้ในโรงเรียนสร้างวิธีการเรียนรู้แบบใหม่ ๆ  โดยทั้งนี้เป้าหมายส่วนหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมคือ การสอดแทรกเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการลงในกิจกรรม ซึ่งพบว่าผู้นำกระบวนการได้นำเรื่องโภชนาการมาสอดแทรกไว้ในการดำเนินกระบวนหลายขั้นตอนด้วยกัน ทั้งการตั้งชื่อกลุ่ม การเล่านิทานที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโภชนาการในการทานผักและผลไม้
  2. จากการประชุมกลุ่มคณะทำงานแผนงานความมั่นคงทางอาหาร โภชนาการสมวัย และอาหารปลอดภัย รวมทั้งครูและผู้บริหารจากโรงเรียนในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนบ้านไสท้อน โรงเรียนบ้านไสใหญ่ โรงเรียนบ้านโคกค่าย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูกรัก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสใหญ่ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกค่าย โดยมีประเด็นการหารือ และผลการหารือร่วมกัน ดังนี้

    • ทุกโรงเรียนในพื้นที่ได้รับเอานโยบายที่จะร่วมดำเนินกิจกรรมโภชนาการในเด็ก โดยจะเพิ่มมื้ออาหารผลไม้ให้เด็กได้รับประทาน ตามผลการสำรวจสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กในตำบลควนรู
    • ร่วมปรึกษาหารือในการจัดกิจกรรมพร้อมงบประมาณที่แต่ละโรงเรียนจะได้รับการสนับสนุนให้ทำกิจกรรมหนูน้อยวัยใสปลอดภัยจากอาหารขยะ พร้อมการรณรงค์ในโรงเรียน โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแต่ละแห่งจะผนวกการดำเนินกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน หรือพื้นที่ใกล้เคียง
    • กิจกรรมพ่อแม่ปลูก ลูกดูแล ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชผักไว้กินเอง ผ่านกิจกรรมของทางโรงเรียน และทางโรงเรียนเองก็จะดำเนินกิจกรรมปลูกผักเพื่อเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนด้วย โดยในเบื้องต้นทางโรงเรียนจะทำการสำรวจความต้องการเมล็ดพันธุ์ของโรงเรียนและผู้ปกครองก่อนเป็นอันดับแรก
    • การจัดทำตลาดสีเขียว จะมีทุกวันพุธ โดยทางโรงเรียนเสนอจะเข้าร่วมจำหน่ายผักที่ทางโรงเรียนปลูกเองเดือนละครั้ง

    โดยสรุปกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อจากนี้มี 4 เรื่องด้วยกัน ได้แก่

    1. ให้ความรู้เรื่องความสำคัญของอาหารมื้อเช้า
    2. เสริมผักและผลไม้ในมื้ออาหาร
    3. สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก
    4. เปิดตลาดสีเขียว

ส่วนกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค ได้แก่ ให้ความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย และการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
21 พฤศจิกายน 2556 เวลา 10:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2556 11:00:31
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย Nongluk Rukleng เมื่อ 4 ธันวาคม 2556 11:24:06 น.

ชื่อกิจกรรม : ลงพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมศุนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติ อ. จะนะ

  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้คำแนะนำการจัดทำรายงานการเงินและการวางแผนการดำเนินกิจกรรม

กิจกรรมตามแผน

1.การให้คำแนะนำการจัดทำรายงานการเงิน 2. การวางแผนการดำเนินกิจกรรม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

1.การให้คำแนะนำการจัดทำรายงานการเงิน การใช้จ่ายงบประมาณ 2.การทบทวนแผนการดำเนินงานและการวางแผนการทำงานในระยะ 2

ผลตามแผน

1.การให้คำแนะนำการจัดทำรายงานการเงิน การใช้จ่ายงบประมาณ 2.การทบทวนแผนการดำเนินงานและการวางแผนการทำงานในระยะ 2

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ได้ทำความเข้าใจระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ประสานงานโครงการ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการงบประมาณเป็นตามแผนที่วางไว้

2.เกิดการกำหนดเป้าหมายการทำงานในระยะที่ 2 โดยให้ทางผู้ประสานงานโครงการย่อย ทำแผนการดำเนินงานและผู้ประสานงานโครงการหลักลงพื้นที่เก็บข้อมูลรายงานเดือนละ 1 ครั้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
13 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2556 13:09:17
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย Nongluk Rukleng เมื่อ 19 ธันวาคม 2556 11:17:46 น.

ชื่อกิจกรรม : สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

  • photo สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  • photo สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  • photo สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  • photo สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  • photo สนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสนับสนุนกิจกรรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามประเมินผลกิจกรรมการอบรมหลักสูตรการดูแลสุขภาพองค์รวม โดยสมาคมเกษตรอินทรีย์วิถีไท

กิจกรรมตามแผน

เพื่อติดตามประเมินผลกิจกรรมในหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เพื่อติดตามประเมินผลกิจกรรมในหลักสูตรการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

ผลตามแผน

ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินการอบรมตามหลักสูตรเรียนรู้คุณธรรมเพื่ออาหารสุขภาวะ ดำเนินงานโดยสมาคมเกษตรอินทรีย์วิถีไท ซึ่งจัดอบรมให้กับกลุ่มคนรักสุขภาพ เช่นชมรมผู้สูงอายุ พยาบาล อสม. ซึ่งหลักสูตรมี 3 รุ้น รุ่นละ 3 วัน ซึ่งรุ่นที่1 จัดอบรมในระหว่างวันที่ 13 -15 พ.ย. 56

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ศูนย์เรียนรู้คู่คุณธรรม จัดทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ซึ่งจัดอบรมจำนวน 3 วัน ในแต่ละวันจะมีกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลุกผักปลอดสารเคมี การปรุงอาหารเพื่อสุขภาพ การล้างพิษ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

แสดงความคิดเห็นสำหรับบุคคลทั่วไป (สำหรับพี่เลี้ยงโครงการ กรุณาส่งรายงานพี่เลี้ยง)

กรุณาป้อน Username / Password ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้กับเว็บไซท์แห่งนี้ หรือ สมัครเป็นสมาชิกของเว็บไซท์
Bold Italic Underline Left Center Right Ordered List Bulleted List Horizontal Rule Page break Hyperlink Text Color :) Quote
คำแนะนำ เว็บไซท์นี้สามารถเขียนข้อความในรูปแบบ มาร์คดาวน์ - Markdown Syntax:
  • วิธีการขึ้นบรรทัดใหม่โดยไม่เว้นช่องว่างระหว่างบรรทัด ให้เคาะเว้นวรรค (Space bar) ที่ท้ายบรรทัดจำนวนหนึ่งครั้ง
  • วิธีการขึ้นย่อหน้าใหม่ซึ่งจะมีการเว้นช่องว่างห่างจากบรรทัดด้านบนเล็กน้อย ให้เคาะ Enter จำนวน 2 ครั้ง