รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ ุ60-ข-097
งวดที่ 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ชื่อโครงการ โครงการขยายผลตำรับอาหารเป็นยาไปสู่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุฯในเขตอำเภอระโนด
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | วันที่ 10 มกราคม 2561 เวลา 08:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรค โดยให้ความรู้เมนูอาหารที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน เช่นเมนู บำบัวก ยำหัวโหนด น้ำกระสังหญ้าใต้ใบ พร้อมทั้งสาธิตขั้นตอนการทำเมนู เมี่ยงปลาทู ที่เป็นตำรับช่วยระบบทางเดินอาหารให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และญาติผู้ป่วยที่มารับบริการเพื่อให้มีความรู้และนำกลับไปเป็นแนวทางดูแลสุขภาพตนเองและญาติต่อไป โดยมีแพทย์แผนไทย เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาเป็นผู้สาธิตและให้ความรู้ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเมนูอาหารสุขภาพกับผู้ร่วมรับฟัง |
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและญาติ สนใจที่จะนำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางการดูแลตนเองและญาติต่อไป ปัญหา/แนวทางแก้ไขเอกสารที่ให้ความรู้ไม่เพียงพอ/แนวทางแก้ไขครั้งต่อไปจัดทำให้เพียงพอ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.แนะนำการทำกิจกรรมเหมาะสมอย่างไร ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 16 มกราคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำหนานเป่าซู่ไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อ พร้อมทั้งให้ความรู้เชิญชวนเมนูน้ำสมุนไพรหน้าคลิินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและให้เจ้าหน้าที่คลินิกแพทย์แผนไทยคอยให้ความรู้บริเวณจุดที่ตั้งน้ำสมุนไพรเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.ไวนิลแผ่นให้ความรู้ยังไม่พร้อม แนวทางแก้ไข ปรับลดน้ำตาลลดลงจาก 5 ขีดต่อน้ำ 5 ลิตรให้เหลือ 3 ขีดต่อน้ำ 5 ลิตร ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2 | วันที่ 17 มกราคม 2561 เวลา 08:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ที่เหมาะกับโรคเบาหวาน ได้แก่ ยำบัวบก ยำหัวโหนด ชาโท๊ะ น้ำกระสังหญ้าใต้ใบ ยำบุพชาติ น้ำหนานเป่าซูา พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับ ยำบุพชาติ กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และผุ้สูงอายุ และแลกเปลี่ยนเรียนรูู้สมุนไพร เช่นดอกไม้อื่นๆที่นำมาเป็นส่วนประกอบของเมนูได้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบัว |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.แผ่นป้ายไวนิลให้ความรู้ยังไม่พร้อม แนวทางแก้ไข กำลังดำเนิการจำทำไวนิลสื่อให้ความรู้ที่มากขึ้น และไมค์ลำโพงเพื่อให้ได้ยินชัดเจน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วยใยสุขภาพบูรณาการผู้ป่วยอบสมุนไพร | วันที่ 22 มกราคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำบูรณาการน้ำสมุนไพรให้กับผู้มารับบริการอบสมุนไพรที่คลินิกแพทย์แผนไทย หลังจากออกห้องอบสมุนไพร เพื่อบำรุงร่างกาย ชดเชยการเสียน้ำ พร้อมทั้งให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่ในการนำไปต้มดื่มรับประทานได้ด้วยตนเอง ทุกวัน วันละหนึ่งน้ำ เช่น น้ำฝาง ชาเกสรบัวหลวง น้ำตะไคร้ ใบเตย น้ำหนานเป่าซุ่ น้ำดอกอัญชัน สลับหมุนเวียน |
ผู้มารับบริการด้วยการอบสมุนไพรได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 23 มกราคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหาร (น้ำสมุนไพร)เป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่ร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไขปัญหา มีบางคนไม่ทานน้ำหวาน แล้วชิมแนะนำว่าหวาน ไม่ควรใส่น้ำตาลในน้ำสมุนไพร แนวทางแก้ไข ปรับลดน้ำตาล ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3 | วันที่ 24 มกราคม 2561 เวลา 08:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร สำหรับบำรุงร่างกายช่วยเจริญอาหารและชะลอวัย ได้แก่ แกงเลียงผักปลัง ข้าวยำเครื่องแกงปลาทูย่าง แกงเลียงขี้เหล็ก น้ำย่านาง แกงคั่วชะพลูปู พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับแกงเลียงผักปลัง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผุ้สูงอายุ ญาติผู้ป่วย |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่ร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ผู้ป่วยที่รับฟังการให้ความรู้เสนอว่าบางครั้งสมุนไพรบางตัวไม่สามารถหาได้ ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งเสริมการใช้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรสำหรับหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร | วันที่ 29 มกราคม 2561 เวลา 10:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำเมนูอาหารสำหรับหญิงหลังคลอดเพื่อบำรุงและกระตุ้นการไหลของน้ำนมร่วมกับโรงครัวโรงพยาบาลและแนะนำให้ความรู้เรื่องเมนูอาหารที่เหมาะกับหญิงหลังคลอดในหอผู้ป่วยในหลังคลอด พร้อมทั้งแนะนำน้ำสายใยรัก น้ำสมุนไพรสูตรกระตุุ้นน้ำนมให้ผู้ป่วยน้ำนมไม่ไหล |
มารดาหลังคลอดนำกลับไปปฎิบัติแและดูแลตนเอง ร้อยละ 100 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 30 มกราคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ช่วยลดน้ำตาลในเลือด โดยทำน้ำ กระสังหญ้าใต้ใบ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหาร เป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4 | วันที่ 31 มกราคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ที่เหมาะกับโรคหรือการทางเดินอาหาร ได้แก่ น้ำตะไคร้-ใบเตย ปลาทูต้มตะลิงปิง เมี่ยงตะไตร้-ใบชะพลู คั่วกลิ้งปลากระทือ เมี่ยงปลาทู แกงคั่วหน่อกระวาน และได้จัดสาธิตวิธีทำเมนู ปลาทูต้มตะลิงปลิงขิง พร้อมทั้งแนนำสรรพคุณทางยาของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบของเมนู |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งเสริมการใช้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรสำหรับหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร | วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำเมนูอาหารสำหรับหญิงหลังคลอดเพื่อบำรุงและกระตุ้นการไหลของน้ำนมร่วมกับโรงครัวโรงพยาบาลและแนะนำให้ความรู้เรื่องเมนูอาหารที่เหมาะกับหญิงหลังคลอดในหอผู้ป่วยในหลังคลอด พร้อมทั้งแนะนำน้ำข้ั้นตอนวิธีทำ โดยยที่เมนูอาหารวันนี้ทีี่ให้กับมารดาหลังคลอดและผู้ป่วยใน คือ ผัดมะละกอ |
มารดาหลังคลอดนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฎิบัติแและดูแลตนเอง ร้อยละ 100 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
บูรณาการตำรับอาหารเหมาะโรค | วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 07:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำโภชนาการโรงพยาบาลระโนด ในการจัดทำเมนูอาหารสมุนไพรเป็นยา เช่นในคนไข้เป็นหวัด มารดาหลังคลอด โรคทางเดินอาหาร และบางครั้งแพทย์แผนไทยและโภชนาการจะร่วมให้ความรู้เรื่องเป็นยาสมุนไพรร่วมด้วย |
ผู้ป่วยที่นอนรพ.ได้รับอาหารสุขภาพ อาหารที่เป็นยาสมุนไพร ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ | วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเป็นกิจกรรมที่เพิ่มเติ่มจากแผนโครงการที่วางไว้ โดยจัดให้ความรู้เกี่ยวกับน่้ำสมุนไพรเป็นยา เช่น น้ำตะไคร้ใบเตบ น้ำส้มแขก ชาเกสรดอกบัว น้ำหนานเป่าซุ่ น้ำแก่นฝาง โดยจะนำน้ำสมุนไพรสองชนิดไปให้ผู้สูงอายุชิมและร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วย คือน้ำส้มแขก ช่วยแก้หวัด และชาชงสุขใจ เป็นชาที่ประกอบด้วย ดอกคำฝอย ฝาง มะตูม และใบเตย ช่วยลดไขมันในเลือด |
ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 85 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และได้ออกให้ความรู้น้ำสมุนไพร เพื่อแนะนำ ขั้นตอนและสรรคุณของน้ำ มะขามแขก |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไขเข้าใจในการต้มผิดเล็กน้อย โดยที่นำมะขามแขกล้างแล้วแช่น้ำทิ้งไว้นานเกินไป ทำให้นำมาต้มแล้วรสเปรี้ยวไม่เปรี้ยวมาก ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5 | วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: สำหรับบำรุงร่างกาย ช่วยเจริญอาหารและชะลอวัย พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู แกงชะพลูปลา |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไขปูหาไม่ได้ เราดัดแปลงเป็นแพงคั่วชะพลุปลา โดยใช้ปลาแทน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้การจัดเมนูอาหารเป็นยา เพื่อดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวได้ | วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรและบอกถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบและ จัดแข่งขันการทำเมนูอาหารเพื่อสุข &อาหารเป็นยา ทั้งหมดสี่เมนูได้แก่ ยำบุพชาติแกงเลียงหัวข่าอ่อน เมี่ยงปลาทูยำตะไคร้ และร่วมแบ่งปันประสบการณ์เมนูอาหารเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยผู้ชำนาญด้านการทำอาหารและแพทย์แผนไทย ที่มีความรู้ความชำนาญมาให้ความรู้เพิ่มเติมและร่วมตัดสิน |
ผู้สูงอายุที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.ตามแผนจะเชิญนักโภชนาการไปให้ความรู้แต่ตารางว่าไม่ตรงกันกับทางกิจกรรมผู้สูงอายุ ทำให้เชิญผู้มีความชำนาญด้านการทำอาหารโรงพยาบาลแนะนำการทำอหารแทน 2.วัสดุ-อุปกรณ์ บางอย่างไม่ครบ เราดัดแปลงหาอย่างอื่นทดแทน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรตามธาตุเจ้าเรือน | วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้เกี่ยวกับน้ำสมุนไพรเป็นยาและเหมาะสมกับธาตุเจ้าเรือนตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ให้กับนักเรียนในวันวิชาการโรงเรียนระโนดวิทยา ประมาณ 200 คนที่เข้าร่วมกิจกรรม นอกจากนี้ทางคลินิกแพทย์แผนไทยยังมีกิจกรรมนำสมุนไพรในครัวเรือนที่หาได้ง่ายมาใช้ในการสุมยา เป็นวิธีการรักษาอาการหวัด ภูมิแพ้ ทางเดินหายใจ ที่สามรถนำความรู้กลับไปดูแลตนเองและคนในครอบครัวเมื่อไม่สบายได้ |
นักเรียน ครู ที่เข้าร่วม กิจกรรมเกิดความรู้และจะนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไขเดิมกิจกรรมที่วางและตั้งงบไว้ จะสอนการทำอาหารสำหรังมารดาตั้งครรภ์และให้นมบุตร ในรร.พ่อแม่ แต่รพ.ระโนดได้ยุบโรงเรียนพ่อแม่ให้มีแต่ครรภ์เสี่ยง ซึ่งการนัดจะไม่ตรงกันและมีกลุ่มเป้าหมายน้อย ดังนั้นมีกิจกรรมวิชาการนักเรียน เราถึงเล่งเห็นว่าควรให้ความรู้กลุ่มดังกล่าวด้วย โดยประยุกต์กับทฤษฎิการแพทย์แผนไทย ที่นำสมุนไพรมาดูแลสุขภาพที่นักเรียนสามารถทำเองได้ด้วยตนเอง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรน้ำฝางที่ช่วยบำรุงเลือดเหมาะสำหรับหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร ไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทย และผู้ป่วยทั่วไป ได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 40 ปัญหา/แนวทางแก้ไขฝางเป็นไม้สมุนไพรพื้นบ้านทางภาคเหนือ ภาคอีสาน โดยปกติจะไม่มีในภาคใต้ แต่สามารถหาซื้อได้จากร้านขายยาสมุนไพร ทำให้หายากและไม่สะดวกต่อการนำมาทำรับประทาน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6 | วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: สำหรับบำรุงร่างกายช่วยเจริญอาหารและชะลอวัย พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู แกงเลียงขี้เหล้ก-น้ำย่านาง |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้การจัดเมนูอาหารเป็นยา เพื่อดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวได้ | วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรและบอกถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบและ จัดแข่งขันการทำเมนูอาหารเพื่อสุข &อาหารเป็นยา ทั้งหมดสี่เมนูได้แก่ ยำบุพชาติแกงเลียงหัวข่าอ่อน ปลาทูต้มตะลิงปิงขิง แกงคั่งชะพลูกุ้ง และร่วมแบ่งปันประสบการณ์เมนูอาหารเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยผู้ชำนาญด้านการทำอาหารและแพทย์แผนไทย ที่มีความรู้ความชำนาญมาให้ความรู้เพิ่มเติมและร่วมตัดสิน |
ผู้สูงอายุที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 85 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.ตามแผนจะเชิญนักโภชนาการไปให้ความรู้แต่ตารางว่าไม่ตรงกันกับทางกิจกรรมผู้สูงอายุ ทำให้เชิญผู้มีความชำนาญด้านการทำอาหารโรงพยาบาลแนะนำการทำอหารแทน 2.วัสดุ-อุปกรณ์ บางอย่างไม่ครบ เราดัดแปลงหาอย่างอื่นทดแทนเช่น แกงคั่งชะพลูปูเป็นแกงคั่วชะพลูกุ้ง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรน้ำรางจืดที่ช่วยล้างสารพิษในเลือด พบว่าประชาชนชาวระโนดส่วนใหญ่ทำอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งสัมผัสกับสารเคมี ซึ่งมีงานวิจัยพบว่ารางจืดนี้สามารถช่วยล้างสารพิษได้ จึงนำสมุนไพรรางจืดซึ่งเป็นพืชที่พบได้ทั่วไปในระโนด เพื่อให้เกิดความรู้และนำสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงทำน้ำรางจืดไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทย และผู้ป่วยทั่วไป ได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 | วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: โรคเบาหวาน พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู ยำบัวบก |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไขซื้อชุดลำโพงเครื่องเสียง แต่ไม่พร้อมใช้งาน เนื่องจากลืมเตรียมชาทแบต ทำให้ไม่พร้อมใช้ในสัปดาห์นี้ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรน้ำฝางที่ช่วยบำรุงเลือด บำรุงหัวใจ เหมาะสมทั้งผู้สูงอายุและสตรีตั้งครรภ์และให้นมบุตร เพื่อให้เกิดความรู้และนำสมุนไพรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงทำน้ำฝางไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทย และผู้ป่วยทั่วไป ได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 8 | วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: สำหรับป้องกันโรคเบาหวาน พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู ยำหัวโหนด |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 6 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้มารับบริการที่โรงพยาบาลระโนด ได้รับความรู้เรื่องชาเกสรบัวหลวงซึ่งเป็นชาสมุนไพรแล้วนำไปใช้ได้จริง |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 50 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.เนื่องจากสูตรเป็นชาเกสนบัวหลวง แต่ทางคณะผู้จัดทำปได้ประยุกต์เป็นต้มน้ำเกสรบัวหลวง เพื่อสะดวกในการบริการผู้มารับบริการ แต่มีการให้คำแนะนำแทน 2.เกสรบัวหลวงอาจหายาก ทำให้ผู้ที่มารับบริการที่ได้รับความรู้อาจทำตามที่ให้ความรู้รำบาก ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 9 | วันที่ 7 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: สำหรับโรคทางเดินอาหาร พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู เมี่ยงตะไคร้ใบชะพลู |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแทนการับประทานชา กาแฟ | วันที่ 12 มีนาคม 2561 เวลา 07:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำจากการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่รพ.ระโนด ทางคณะทำงานได้สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับน้ำสมุนไพรที่รับประทานทดแทนชากาแฟและมีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยการให้ความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรและจัดบริการน้ำสมุนไพรให้กับเจ้าหน้าที่ในการตรวจสุขภาพ ทั้ง 3 วัน |
เจ้าหน้าที่รพ.ระโนด ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 13 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพร น้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน ซึ่งประยุกต์เหนือจากหนังสือตำรับยาสมุนไพรเป็น เพราะบริเวณที่จัดให้บริการน้ำสมุนไพร มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเยอะ ในวันนี้ทางคณะทำงานเลยสนใจทำน้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน ซึ่งช่วยเรื่องลดความดันโลหติสูง ช่วยขับปัสสาวะ ไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10 | วันที่ 14 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: สำหรับแก้ไข้ แก้หวัด พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แกงเลียงหัวข่าอ่อน |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไขผักบางชนิดตามสูตรอาจมีไม่ครบ บางอย่างประยุกต์กับผักในท้องถิ่น ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุ ได้เรียนรู้การจัดเมนูอาหารเป็นยา เพื่อดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวได้ | วันที่ 15 มีนาคม 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรและบอกถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบและ จัดแข่งขันการทำเมนูอาหารเพื่อสุข &อาหารเป็นยา ทั้งหมด 2 เมนูได้แก่ ยำบุพชาติยำตะไคร้ใบชะพลู และร่วมแบ่งปันประสบการณ์เมนูอาหารเพื่อสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยแพทย์แผนไทยและเจ้าหน้าที่รพ.ให้รู้เพิ่มเติมเรื่องอาหารสมุนไพรและร่วมตัดสินร่วมกับผู้นำในชุมชน |
ผู้สูงอายุที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไขบริบทพื้นที่หมู่บ้านอู่ตะเภา ติดทะเล ดอกไม้จะมีเฉพาะบางชนิด ไม่มีดอกไม้หลากหลาย ทำให้ดอกไม้ที่นำไปเป็นส่วนประกอบในยำบุพชาติสำหรับการนำไปทำเองที่บ้าน อาจจะได้บางชนิดเท่านั้น ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำฝางน้ำสมุนไพรเหมาะสำหรับหญิงตั้งครรภ์และผู้สูงอายุ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหาร เป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 55 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ฝาง เป็นสมุนไพรที่ต้องซื้อจากร้านยาสมุนไพร บางครั้งอาจรำบากต่อผู้ที่นำกลับไปทำเองที่บ้าน ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 11 | วันที่ 21 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: ช่วยเจริญอาหารและชะลอวัยพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู ยำมะม่วง เนื่องจากระท้อนไม่ใช่ฤดูการจึงไม่มี จึงใช้เป็นมะม่วงซึ่งหาง่ายแทน |
ตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.กระท้อนบ้านที่เป็นส่วนประกอบหลักไม่มี เนื่องจากไม่ใช่ฤดูที่กระท้องออกผล ทำให้เปลี่ยนเป็นมะม่วงแก้วและมะม่วงเบาที่หาได้ง่ายในปัจจุบันแทน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 27 มีนาคม 2561 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำสมุนไพรน้ำอัญชันมะนาว ซึ่งประยุกต์สมุนไพรที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นและเหมาะสมกับผู้ป่วยโรคความดันและไขมัน ไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยา (น้ำสมุนไพร) และได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 12 | วันที่ 28 มีนาคม 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: โรคทางเดินอาหาร พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู คั่วกลิ้งหมูหัวข่าอ่อน |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพยร้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไขวันที่จะทำกิจกรรม ที่ตลาดไม่มีปลาสำหรับนำมาทำคั่วกลิ้งได้ และหัวกระทือ ไม่สามารถหาได้ จึงมีการปรับเปลี่ยนใช้หมูเนื้อแดงและใช้หัวข่าแทนหัวกระทือ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรใกล้ตัวปรับได้ตามความเหมาะสม ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 3 เมษายน 2561 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำฝางน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |