รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ ุ60-ข-097
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 19 มกราคม 2561
1. ชื่อโครงการ โครงการขยายผลตำรับอาหารเป็นยาไปสู่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุฯในเขตอำเภอระโนด
2. รหัสโครงการ รหัสสัญญา ุ60-ข-097 ระยะเวลาโครงการ 20 ธันวาคม 2560 - 30 เมษายน 2561
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 ธันวาคม 2560 ถึงเดือน 31 มกราคม 2561
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | วันที่ 10 มกราคม 2561 เวลา 08:30วัตถุประสงค์กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ลักษณะกิจกรรมจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรค โดยให้ความรู้เมนูอาหารที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน เช่นเมนู บำบัวก ยำหัวโหนด น้ำกระสังหญ้าใต้ใบ พร้อมทั้งสาธิตขั้นตอนการทำเมนู เมี่ยงปลาทู ที่เป็นตำรับช่วยระบบทางเดินอาหารให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และญาติผู้ป่วยที่มารับบริการเพื่อให้มีความรู้และนำกลับไปเป็นแนวทางดูแลสุขภาพตนเองและญาติต่อไป โดยมีแพทย์แผนไทย เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาเป็นผู้สาธิตและให้ความรู้ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนเมนูอาหารสุขภาพกับผู้ร่วมรับฟัง |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยให้ความรู้เมนูอาหารที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน เช่นเมนู บำบัวก ยำหัวโหนด น้ำกระสังหญ้าใต้ใบ พร้อมทั้งสาธิตขั้นตอนการทำเมนู เมี่ยงปลาทู ที่เป็นตำรับช่วยระบบทางเดินอาหารให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และญาติผู้ป่วยที่มารับบริการเพื่อให้มีความรู้และนำกลับไปเป็นแนวทางดูแลสุขภาพตนเองและญาติต่อไปผลที่เกิดขึ้นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุและญาติ สนใจที่จะนำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางการดูแลตนเองและญาติต่อไป ปัญหา/แนวทางแก้ไขเอกสารที่ให้ความรู้ไม่เพียงพอ/แนวทางแก้ไขครั้งต่อไปจัดทำให้เพียงพอ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.แนะนำการทำกิจกรรมเหมาะสมอย่างไร ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 16 มกราคม 2561 เวลา 08:00วัตถุประสงค์ผู้มารับบริการที่โรงพยาบาลระโนด ได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรแล้วนำไปใช้ได้จริง ลักษณะกิจกรรมจัดทำน้ำหนานเป่าซู่ไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อ พร้อมทั้งให้ความรู้เชิญชวนเมนูน้ำสมุนไพรหน้าคลิินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและให้เจ้าหน้าที่คลินิกแพทย์แผนไทยคอยให้ความรู้บริเวณจุดที่ตั้งน้ำสมุนไพรเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อผลที่เกิดขึ้นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.ไวนิลแผ่นให้ความรู้ยังไม่พร้อม แนวทางแก้ไข ปรับลดน้ำตาลลดลงจาก 5 ขีดต่อน้ำ 5 ลิตรให้เหลือ 3 ขีดต่อน้ำ 5 ลิตร ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2 | วันที่ 17 มกราคม 2561 เวลา 08:30วัตถุประสงค์กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ลักษณะกิจกรรมจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ที่เหมาะกับโรคเบาหวาน ได้แก่ ยำบัวบก ยำหัวโหนด ชาโท๊ะ น้ำกระสังหญ้าใต้ใบ ยำบุพชาติ น้ำหนานเป่าซูา พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับ ยำบุพชาติ กลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และผุ้สูงอายุ และแลกเปลี่ยนเรียนรูู้สมุนไพร เช่นดอกไม้อื่นๆที่นำมาเป็นส่วนประกอบของเมนูได้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบัว |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังผลที่เกิดขึ้นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.แผ่นป้ายไวนิลให้ความรู้ยังไม่พร้อม แนวทางแก้ไข กำลังดำเนิการจำทำไวนิลสื่อให้ความรู้ที่มากขึ้น และไมค์ลำโพงเพื่อให้ได้ยินชัดเจน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
4. น้ำสมุนไพรห่วยใยสุขภาพบูรณาการผู้ป่วยอบสมุนไพร | วันที่ 22 มกราคม 2561 เวลา 08:00วัตถุประสงค์ผู้มารับบริการที่คลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลระโนด ได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรแล้วนำไปใช้ได้จริง ลักษณะกิจกรรมบูรณาการน้ำสมุนไพรให้กับผู้มารับบริการอบสมุนไพรที่คลินิกแพทย์แผนไทย หลังจากออกห้องอบสมุนไพร เพื่อบำรุงร่างกาย ชดเชยการเสียน้ำ พร้อมทั้งให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่ในการนำไปต้มดื่มรับประทานได้ด้วยตนเอง ทุกวัน วันละหนึ่งน้ำ เช่น น้ำฝาง ชาเกสรบัวหลวง น้ำตะไคร้ ใบเตย น้ำหนานเป่าซุ่ น้ำดอกอัญชัน สลับหมุนเวียน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้บูรณาการน้ำสมุนไพรให้กับผู้มารับบริการอบสมุนไพรที่คลินิกแพทย์แผนไทย หลังจากออกห้องอบสมุนไพร เพื่อบำรุงร่างกาย ชดเชยการเสียน้ำ พร้อมทั้งให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่ในการนำไปต้มดื่มรับประทานได้ด้วยตนเอง ทุกวันผลที่เกิดขึ้นผู้มารับบริการด้วยการอบสมุนไพรได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 80 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
5. น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 23 มกราคม 2561 เวลา 08:00วัตถุประสงค์ผู้มารับบริการที่โรงพยาบาลระโนด ได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรแล้วนำไปใช้ได้จริง ลักษณะกิจกรรมจัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพผลที่เกิดขึ้นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหาร (น้ำสมุนไพร)เป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่ร้อยละ 60 ปัญหา/แนวทางแก้ไขปัญหา มีบางคนไม่ทานน้ำหวาน แล้วชิมแนะนำว่าหวาน ไม่ควรใส่น้ำตาลในน้ำสมุนไพร แนวทางแก้ไข ปรับลดน้ำตาล ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
6. ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3 | วันที่ 24 มกราคม 2561 เวลา 08:30วัตถุประสงค์กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ลักษณะกิจกรรมจัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร สำหรับบำรุงร่างกายช่วยเจริญอาหารและชะลอวัย ได้แก่ แกงเลียงผักปลัง ข้าวยำเครื่องแกงปลาทูย่าง แกงเลียงขี้เหล็ก น้ำย่านาง แกงคั่วชะพลูปู พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับแกงเลียงผักปลัง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผุ้สูงอายุ ญาติผู้ป่วย |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังผลที่เกิดขึ้นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่ร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ผู้ป่วยที่รับฟังการให้ความรู้เสนอว่าบางครั้งสมุนไพรบางตัวไม่สามารถหาได้ ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
7. ส่งเสริมการใช้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรสำหรับหญิงมีครรภ์และให้นมบุตร | วันที่ 29 มกราคม 2561 เวลา 10:30วัตถุประสงค์เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับความรู้เรื่องอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถนำปฎิบัติได้ ลักษณะกิจกรรมจัดทำเมนูอาหารสำหรับหญิงหลังคลอดเพื่อบำรุงและกระตุ้นการไหลของน้ำนมร่วมกับโรงครัวโรงพยาบาลและแนะนำให้ความรู้เรื่องเมนูอาหารที่เหมาะกับหญิงหลังคลอดในหอผู้ป่วยในหลังคลอด พร้อมทั้งแนะนำน้ำสายใยรัก น้ำสมุนไพรสูตรกระตุุ้นน้ำนมให้ผู้ป่วยน้ำนมไม่ไหล |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดทำเมนูอาหารสำหรับหญิงหลังคลอดเพื่อบำรุงและกระตุ้นการไหลของน้ำนมร่วมกับโรงครัวโรงพยาบาลและแนะนำให้ความรู้เรื่องเมนูอาหารที่เหมาะกับหญิงหลังคลอดในหอผู้ป่วยในหลังคลอดผลที่เกิดขึ้นมารดาหลังคลอดนำกลับไปปฎิบัติแและดูแลตนเอง ร้อยละ 100 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
8. น้ำสมุนไพรห่วงใยสุขภาพ | วันที่ 30 มกราคม 2561 เวลา 08:00วัตถุประสงค์ผู้มารับบริการที่โรงพยาบาลระโนด ได้รับความรู้เรื่องน้ำสมุนไพรแล้วนำไปใช้ได้จริง ลักษณะกิจกรรมจัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ ประโยชน์ และขั้นตอนการทำน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ช่วยลดน้ำตาลในเลือด โดยทำน้ำ กระสังหญ้าใต้ใบ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดทำน้ำสมุนไพรไว้ให้บริการผู้ป่วย ณ.บริเวณลานหน้าคลินิกแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกแพทย์แผนไทยและคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ดื่มและมีป้ายให้ความรู้ น้ำสมุนไพรช่วยระบบทางเดินอาหารผลที่เกิดขึ้นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหาร เป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 75 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
9. ตำรับอาหารเป็น “ยาสมุนไพร” ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 4 | วันที่ 31 มกราคม 2561 เวลา 08:00วัตถุประสงค์กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ที่ได้รับความรู้เรื่องตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้ ลักษณะกิจกรรมให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ที่เหมาะกับโรคหรือการทางเดินอาหาร ได้แก่ น้ำตะไคร้-ใบเตย ปลาทูต้มตะลิงปิง เมี่ยงตะไตร้-ใบชะพลู คั่วกลิ้งปลากระทือ เมี่ยงปลาทู แกงคั่วหน่อกระวาน และได้จัดสาธิตวิธีทำเมนู ปลาทูต้มตะลิงปลิงขิง พร้อมทั้งแนนำสรรพคุณทางยาของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบของเมนู |
เป้าหมายที่ตั้งไว้จัดให้ความรู้ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร: โรคทางเดินอาหาร พร้อมสาธิตขั้นตอนการทำตำรับอาหารในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เมนู ปลาทูต้มตะลิงปลิงขิงผลที่เกิดขึ้นตำรับอาหารเป็นยาและได้นำไปปฏิบัติเพื่อดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าน้อยร้อยละ 65 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ