การพัฒนาปรับเปลี่ยนแนวคิดจากสวนยางให้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้นและเกื้อกูลกันจากสวนยางไปเป็นวนเกษตร

แผนงานความมั่นคงด้านอาหาร

by dezine @September,29 2014 11.26 ( IP : 202...129 )

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
27 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:20:50
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:29:02 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดพิมพ์คู่มือ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 125,000.00 0.00 0.00 0.00 125,000.00
30 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:38:16
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:38:36 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม จัดเก็บข้อมูล เพื่อผลิตเอกสารวนเกษตรยางพารา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
21 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 26 ตุลาคม 2558 14:36:48
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:56:21 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำคู่มือรายงานการศึกษาเปรียบเทียบมิติความยั่งยืนเชิงบูรณาการระหว่าง

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เป็นเอกสารประชาสัมพันธ์ให้แแก่ผู้ที่สนใจ

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 2,572.00 0.00 0.00 0.00 12,572.00
15 กันยายน 2558 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 1 ตุลาคม 2558 09:30:47
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 10:05:39 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมให้ข้อเสนอแนะและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการทำสวนยางแบบวนเกษตร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมเสนอเชิงนโยบายเรื่องการทำสวนยางแบบวนเกษตร

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ข้อเสนอที่ประชุม 1.สกย.ยังขาดความเชื่อมั่นในเรื่องรายได้ของเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนมาทำสวนยางแบบวนเกษตรเพราะต้องปรับลดการปลูกยางในขณะที่ไม้ยืนต้นที่ปลูกในแปลงยางจะมีรายได้เท่าไหร่ 2.หากต้องส่งเสริมการปลูกไม้ร่วมชนิดอื่น อาจต้องสนับสนุนกล้าไม้ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกร 3.การส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยางอาจต้องดูขนาดแปลงยาง ซึ่งสามารถส่งเสริมในแปลงขนาดเล็กที่ครอบครองโดยชาวบ้านไม่ใช่นายทุน 4.ควรต้องจัดประชุมทำความเข้าใจกับบุคลากรของ สกยใเพื่อให้บุคคลากรได้ไปขยายผลต่อกัเกษตรกร 5. ควรต้องปรับแนวคิดเกษตรให้เห็นความสำคัญของการลดต้นทุนการผลิตโดยหันมาปลูกพืชร่วมยาง และปรับให้มีรูปแบบกิจกรรมอื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตลาดสินค้าอาหารพืชเกษตร 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ เกษตรอำเภอ พัฒนาชุมชน มีนโยบายส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนให้กับเกษตรกร เพื่อพัฒนารูปแบบยางพารา ส่งเสริมการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง 7. รูปแบบการสงเคราะห์ควรต้องมีความแตกต่างกันระหว่างการการทำสวนยางเชิงพานิชย์ และการปลูกพืชร่วมยาง ซึ่งควรสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยางซึ่งควรสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยางให้มากขึ้น 8. ขนาดแถวยาง 3X9 เมตร จะได้ยางพารากี่ต้น 9. ปี 58 รัฐตั้งเป้าหมายการปลูกยางพารา 400,000 ไร่ โดยส่งเสริมการปลูกปาล์มร่วมยาง เกษตรผสมผสาน ยางพาราเชิงเดียว 10. ต้องผลักดันการทำการเกษตรกรรมยั่งยืนให้เป็นวาระแห่งชาติ 11. การปรับลดเงินสงเคราะห์ ต้องเสนอในบอร์ดการยางแห่งประเทศไทย 12. ต้องมีการจัดทำสมัชชาสุขภาพ เรื่อง การทำสวนยางแบบวนเกษตร เพื่อให้ข้อเสนอไปสูคณะรัฐมนตรี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
5,400.00 0.00 5,968.00 0.00 0.00 0.00 11,368.00
6 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:49:14
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 10 กันยายน 2558 15:49:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 2

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมหรือนำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราหรือพืชที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:41:57
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 14:30:38 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมากทั้งชาวไทยและต่างชาติ

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมหรือนำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราหรือพืชที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:36:50
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 09:54:43 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

นำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราที่สามารถนำมาบริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
6,000.00 0.00 1,845.00 0.00 0.00 0.00 7,845.00
25 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:18:18
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:18:25 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม เก็บข้อมูลเพื่อทำเป็นรายงาน ตำรับอาหารพื้นบ้านจากป่ายางแบบประยุกต์

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
11 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:12:24
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:12:42 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวบเอกสาร ข้อมูลเพื่อจัดทำคู่มือ ทำเนียบพืชกินได้ในสวนยาง

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
1 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:51:34
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 10:10:19 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัดเกษตรกรที่ห้งโอเดี่ยนเฟชั่นมอล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการงานอาหารของแม่ที่ตลาดนัดโอเดี่ยนแฟชั่นมอลล์ โดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่ มะอึก มะมุด หมุย ทุเรียนเทศ บอนส้้ม มันปู ผักกูด ปลงน้ำ ยอดกระถินไทย บัวบก ชะอม ผักเหลียง มะเขือพวง กระชาย กล้วยป่า อ้อดิบ มะเหม้า เทียม หมุยหอม ข้เหล็ก จิกนา ส้มจี๊ด ทำมัง ชะพลู มะกอกป่า มะม่วงหิมพานต์ ยอดมะยม เหลียง ผักหวน กะทกรก ผักกาดนกเขา ชะมวง เนียง กล้วยเล็บมือนาง กล้วยไข่ พริกไทย ปลีกล้วยน้ำว้า มะม่วงเบา มะกรูด ยอดมะขามแก้ว ดอกแคร์ เห็ดแครง

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมากทั้งชาวไทยและต่างชาติ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 1,440.00 1,500.00 0.00 0.00 0.00 4,940.00
27 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 15:57:37
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:23:31 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนบนครอบคลุม อ.รัตภูมิ อ.ควนเนียง อ.บางกล่ำเป็นพื้นที่เกษตรพืชผัก)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนบนครอบคลุม อ.รัตภูมิ อ.ควนเนียง อ.บางกล่ำเป็นพื้นที่เกษตรพืชผัก)

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อภินันท์ หมัดหลี  ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อภินันท์ หมัดหลี  ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 59 ชนิด สละอินโด มะละกอ ลังแข จำปุลิง ละไม ส้มแขก ส้มมวง ส้มควาย ส้มป่อย มะปริง ตะลิงปริง มะปรางค์มะยงชิด ละมุดสีดา สำรอง มะงกกาบี มังคุด นุ่น ยอ กระท้อน เงาะ มะพร้าว ตะไคร้ต้น พร้าวนกคุ้ม ไม้หอม จำปาดะ ชมพู่ ม่าเหมี่ยว ชมพู่นมแมว ทุเรียนบ้าน มะม่วงหิมพานต์ ระกำ สละเนินวง หวาย มะม่วงเขามะม่วงคัน มะม่วงนาทับ มะม่วงพวมพร้าว ส้มจี๊ด มะม่วงหาวมะนาวโห่ มะสัง มะกอกบ้าน มะกอกป่า ไม้ขาวดำ ส้มโอมือ ส้มกุ้ง บอนส้ม ทำมัง พร้าวเล กระท้อนรอก มะขามป้อม มะขาม พุทราบ้าน กระโดน ต้นหว้า มังคุดป่า ขนุนปาน เดือยปล้อง เนียงนก ชมพู่น้ำ

ไม้ใช้สอยมี 52 ชนิด จำปี ตำเสา มะม่วงเขา ข่าป่า ตองเศรษฐี หลุมพอ ทองบึ้ง นาคบุด เทพธาโร ทัง สะเดาเที่ยม พะยูง ยางนา พะยอม ตะเคียนทอง กฤษณา ไผ่เสือ ต้นนน หวาย ตง หนาม ลวก ไผ่ป่า ส้มเคียน ส้มเค้าโท๊ะ เมียงอาม หลาวชะโอน พร้าญวน มะเดื่อชุมพร ดิบ ค้างคาวดำ ลิเภา หวายกำพวน หวายกินหน่อ หวายลิง ก้างปลา เชียด กระพ้อ เกตุ กระโดน สำเรง ไผ่มัน ไผ่ลายเสือ เตยหนาม มะเดื่อดัน เตยแซง อ้อยแดง อ้อยดำ หมากพลูตุ๊กแตนข้าวนางกี่ คราม               สมุนไพร 51 ชนิด พญาคชสาร เตยหอม เสลดพังพอน นมควาย บอระเพชร  หูกระจง ไฟเดือนห้า ฟ้าทะลายโจร ปลาไหลเผือกขิงดอกเดียว ไม้ค้อนตีหมา ทุ่งฟ้า สาวสะดุ้ง หนุมานผสานกาย ฝนแสนห่า หัวอ้ายเหล็ก สาสวน้อยร้อยผัวเพชรสังฆาต กระวาน(หน่อหวาน) กำจัด สีเสียด การบูร (กานพลู) หนุมานนั่งแท่น หนวดปลาหมึกพญาไร้ใบ น้ำข้าว จอกทอก พรุ้งพริ้งแก้ผ้า พรุ้งพริ้งนุ่งผ้า สาคูวิลาศ ขี้เหล็ก รางจืด ชุมเห็ดเทศ หัวไพล ขี้ใต้ ขี้เหล็กจืด มะอึก พังกับ พญาว่าน หูปลาช่อน ว่านชักมดลูก กลอยเจ้า กลอยเหนียว ส้มเขียด ท้าวใยหม่อมไพรดำเฉียงพร้า หนาด หนอนตายยาก ทาวเครือ สบู่เลือด กำชำ พลา ยับเยี่ยว ราตรี ปลายสาร ยายกลั้ง สัตว์ 45 ชนิด ไก่ป่า นกขมิ้น นกพังกะ กระเต็นอกขาว ต่อ ผึ้ง เขียดวาก นกหัวขวาน นกเสี้ยว กระรอก ตะกวด กระแตนางอาย ชะมด งูเห่า งูเหลือม นกเขาชวา นกเขาใหญ่ นกเขาไฟ บินหลาขี้ควาย กา งูกะปะสามเหลี่ยม งูเขียวหางไหม้ งูหลาม งูกะปะไฟ นกกระจับ นกกินปลี นกกุลา กิ่งโครง นกบั้งรอก นกขมิ้นช้าง นกกรงดิน นกขุ้ม นกกวัก นกชัน นกกระยาง หอยโข่ง พังพอน ลิ่น กบเขา กง ตุ๊กแก จักจั่น แมลงพลับ นกกางเขนบ้าน
พืชผัก 60ชนิด พริกไทย มันปูดาหลา ข่า ข่าลิง เหลียง มะเขือพวง เหมียง หมุย แซะ จิกน้ำ หมาก กระโดน ตกเบ็ด ตาหมัดบุก หมากหมก เห็ดโคลน เห็ดแครง กระทกรก ย่านาง สาคู เต่าร้าง ผักกุดแดง สันตะวาใบพาย ตีนตุ๊กแกผักน้ำ อุตพิษ โด่ไม่รู้ล้ม ขอน ผักหวานบ้าน บัวบก บังบาย ผักโขม ผักเสี้ยน ติ้ว มันสำปะหลัง มันเทศ ส้มซ่าเนียง ชุมเรียง เถาวัลย์เปลือย กระทือ ตะลิงปริงเหลือง สายหยุด ตีนเป็ด สาวสันทราย ข่านาง ผักหนามพระยาไร้ใบ ตาเป็ดตาไก่ พิลังกาสา เพกา ต้นแคร์ ต้นแคร์ขาว แคร์หางค้าง ตำเสา ผักเบี้ย ผักกูด ผักกาดนกเขา ผักคลาดหัวแหวน ผักชีลาว คลุ้ม คล้า

ไม้ประดับ 13 ชนิด

เข็ม หมากแดง เต่าร้าง หลีสีดา กระเช้าสีดา บุหงาส่าหลี บุหงานารา หางกระรอก จั้งเล็บกระรอก ต้นแก้ว ปอหู เอื้องช้าง                             กล้วย 26 ชนิด กล้วยเงิน กล้วยทอง กล้วยกลาย กล้วยเขาพนม กล้วยช้าง กล้วยน้ำหว้า กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหอมเขียวกล้วยหอมขาว กล้วยหอมเตีย กล้วยหอมทอง กล้วยนาค กล้วยส้ม กล้วยน้ำหว้าลูกเตี้ย กล้วยน้ำหว้าลูกขาวกล้วยน้ำหว้าลูกเขียว กล้วยไข่ กล้วยนมสาวกล้วยแซ่ม้า กล้วยเดือน กล้วยทำเสา กล้วยหิน กล้วยโทน กล้วยหมาก กล้วยนางพญา กล้วยตานี กล้วยไข่พระร่วง

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 3,500.00
25 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:36:23
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:29:08 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนเมือง ครอบคลุมอำเภอหาดใหญ่ อ.เมือง เป็นพื้นที่เน้นการทำงานด้วยวิถีเมือง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนเมือง ครอบคลุมอำเภอหาดใหญ่ อ.เมือง เป็นพื้นที่เน้นการทำงานด้วยวิถีเมือง

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อาทร สุขสว่างผล ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 10 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อาทร สุขสว่างผล ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 10 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 8 ชนิด จำปาดะ ขนุน จำปุลิง ลองกอง มะพร้าวนกคุ้ม ยาง พะยอม ตะเคียน

สมุนไพร 5 ชนิด

หลุมพอ ตำเสา เทียม กระทือ ทัง สัตว์ 2 ชนิด ผึ้ง ไก่พื้นเมือง พืชผัก 5 ชนิด มันปู สับปะรด ผักกูด ผักหวานป่า ผักเหมียง ไม้ประดับ 1 ชนิด สิเหรง

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,500.00
21 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:45:12
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:27:06 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนล่างครอบคลุม อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะเดา อ.นาหม่อม อ.คลองหอยโข่ง อ.สะบ้าย้อย เป็นพื้นที่ทำสวนยาง)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนล่างครอบคลุม อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะเดา อ.นาหม่อม อ.คลองหอยโข่ง อ.สะบ้าย้อย เป็นพื้นที่ทำสวนยาง)

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย เคี่ยน แก้วอ่อน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 3 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย เคี่ยน แก้วอ่อน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 3 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 10 ชนิด ยาง สละ กฤษณา ทุเรียน ลองกอง เงาะ กล้วย มะพร้าว มังคุด มะละกอซาอุ

ไม้ใช้สอยมี 3 ชนิด สิเหรง กะพ้อ ไผ่ สมุนไพร6 ชนิด เทพธาโร ผักเหลียง ขิง กระทือ เทียม ก้านตง พืชผัก 2 ชนิด ผักกูด ผักหวาน

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,000.00
14 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:22:50
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:31:23 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนคาบสมุทรสะทิงพระและพื้นที่ชายฝั่งทะเลครอบคลุม อ.สิงหนคร อ.สะทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ อ.ระโนด เป็นพื้นที่ที่เน้นการดำเนินการบูรณาการอาหารด้วยวิถีโหนดนาเล เป็นพื้นที่ทำนา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนคาบสมุทรสะทิงพระและพื้นที่ชายฝั่งทะเลครอบคลุม อ.สิงหนคร อ.สะทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ อ.ระโนด เป็นพื้นที่ที่เน้นการดำเนินการบูรณาการอาหารด้วยวิถีโหนดนาเล เป็นพื้นที่ทำนา

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย ณพงศ์ แสงระวี  ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกันดังนี้ พื้นที่ปลูก 3 งาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย ณพงศ์ แสงระวี  ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกันดังนี้ พื้นที่ปลูก 3 งาน ไม้ยืนต้น 10 ชนิด น้อยหน่า ม่าเหมี่ยว กระท้อน ชมพู่น้ำ มังคุด มะขามป้อมอินเดีย มะกอก มะม่วงเบา ตะขบ ขนุน
ไม้ใช้สอยมี 4 ชนิด ไผ่กิ้มซุง ไผ่ฃ กล้วย 5 ชนิด กล้วยหอมเขียว กล้วยหอมทอง กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ กล้วยป่า พืชผัก 40 ชนิด มะกรูด ผักโขม มะม่วงกลมสีม่วง ทุเรียนเทศ พริกไทย คะน้า มะเขือ สะตอ ผักกูด ข่า ผักกาดหอม ผักกาดขาว กวางตุ้ง เสาวรส มะนาว กระเพรา ข่า ชะอม ผักเหลียง มะขาม(กินยอด) อ้อย มะนาวโห่ มะเขือพวง หม่อนเบอรรี่ เนียง ต้นหอม ตะไคร้ มันปู พริกชี้ฟ้า ตำลึง บวบ มะเขือยาว ขี้พร้าไฟ ผักชี อ้อดิบ บัวบกอัญชัน ผักหวานป่า ผักบุ้ง มะเขือเทศ

พืชสมุนไพร 34 ชนิด

มะระขี้นก มะระ ฉิ้ง พลู บวบงู ชะมวง มะม่วงหิมพานต์ บวบเหลี่ยม ขจร ส้มจี๊ด สะเดาเทียม พุทรา ปูเล่ พาโหม ผักบุ้งจีน ดอกแคร์ ฟักทอง ผักชีล้อม เล็บครุฑ มะพร้าว ฟักเขียว มะละกอ ละไม เหลียง ผักชีล้อมขึ้นฉ่าย ถั่วฝักยาว ขมิ้น แตงกวา สะตอ สาระแหน่ ยี่หร่า ชะพลู ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,500.00
10 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:26:11
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:26:27 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม จัดเก็บข้อมูลเพื่อผลิตเป็นเอกสารตำรับอาหารพื้นบ้านในสวนยางแบบดั้งเดิม

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
29 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:57:37
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:37:28 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

เป็นวิทยากรพิเศษอบรมครูยางของจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–แนะนำเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของกิจกรรมการเกษตรกรสวนยางปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต -ผู้เข้ากิจกรรม 500 คน
-บรรยาย / ให้แสดงความคิดเห็น / มีตัวอย่างภาพประกอบ - ตอบปัญหา / คำถาม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–แนะนำเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของกิจกรรมการเกษตรกรสวนยางปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต -ผู้เข้ากิจกรรม 500 คน
-บรรยาย / ให้แสดงความคิดเห็น / มีตัวอย่างภาพประกอบ - ตอบปัญหา / คำถาม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
8 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:53:58
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 09:34:22 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ร่วมประชุมจัดตั้งกลุ่มชาวบ้านทำวนเกษตรยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–ให้เกษตรกรที่เข้าร่วมเขียนแผนที่ตำแหน่งที่ดินที่ถือคลอง จำนวนพื้นที่ พืชพรรณที่ขึ้นอยู่จริงปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต
-ผู้เข้ากิจกรรม 18 คน รายที่เข้าร่วมไม่ได้เพราะติดงานประชุมร่วมที่อื่น -เปิดอภิปรายปัญหาและแนวทางคิดจะแก้ไข -ให้เสนอชื่อกลุ่ม สมาชิกให้ชื่อกลุ่มรวม 6 ชื่อ แต่เห็นชอบร่วมกันเลือกเอาชื่อ”กลุ่มวนเกษตรปลูกพืชร่วมยางรักษ์ท่าข้าม”

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–ให้เกษตรกรที่เข้าร่วมเขียนแผนที่ตำแหน่งที่ดินที่ถือคลอง จำนวนพื้นที่ พืชพรรณที่ขึ้นอยู่จริงปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต
-ผู้เข้ากิจกรรม 18 คน รายที่เข้าร่วมไม่ได้เพราะติดงานประชุมร่วมที่อื่น -เปิดอภิปรายปัญหาและแนวทางคิดจะแก้ไข -ให้เสนอชื่อกลุ่ม สมาชิกให้ชื่อกลุ่มรวม 6 ชื่อ แต่เห็นชอบร่วมกันเลือกเอาชื่อ”กลุ่มวนเกษตรปลูกพืชร่วมยางรักษ์ท่าข้าม”

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
29 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:48:46
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:36:35 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ตามคำเชิญ สกย. ปัตตานีให้เป็นวิทยากรหลักสูตร“ดูแลบำรุงรักษาสวนยางและการทำวนเกษตรในสวนยางพาราเพื่อสู้วิกฤติราคายาง”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 990.00 0.00 0.00 0.00 3,390.00
28 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:46:34
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:35:59 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ตามคำเชิญ สกย. ปัตตานีให้เป็นวิทยากรหลักสูตร“ดูแลบำรุงรักษาสวนยางและการทำวนเกษตรในสวนยางพาราเพื่อสู้วิกฤติราคายาง”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 990.00 0.00 0.00 0.00 3,390.00
8 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:28:20
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:35:17 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับ “การทำวนเกษตรยางพาราเพื่อเป็นภูคุ้มกันทางอาหาร”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แนะนำกลุ่มเกษตรกรทำวิจัยชุมชนเกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา เนื้อหาเสวนาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร? - โครงการวิจัยชุมชนทำอย่างไร? - ความมั่นคงทางอาหารสำคัญอย่างไร - ใครมีความพร้อม/ต้องการความช่วยเหลืออะไรเกี่ยวกับการทำวนเกษตรยางพารา? ผู้เข้าร่วม ประชุม จำนวน 28 คน

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

แนะนำกลุ่มเกษตรกรทำวิจัยชุมชนเกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา เนื้อหาเสวนาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร? - โครงการวิจัยชุมชนทำอย่างไร? - ความมั่นคงทางอาหารสำคัญอย่างไร - ใครมีความพร้อม/ต้องการความช่วยเหลืออะไรเกี่ยวกับการทำวนเกษตรยางพารา? ผู้เข้าร่วม ประชุม จำนวน 28 คน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
2 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:24:34
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:13:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากรให้ สกย.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ในการประชุมนโยบายยางแห่งชาติ หัวข้อเรื่อง “วนเกษตรในสวนยางพารา” จ.ตรัง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เป็นวิทยากรกลุ่มวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืน เนื้อหานำเสนอนโยบายโดยสรุปดังนี้ - ปัญหาอุปสรรค/สถานการณ์ - ทางออก/กลไก - ความคาดหวัง/ภาพฝัน - แนวทาง/มาตรการ/วิธีการดำเนินการ - วนเกษตรยางพาราทางออกเพื่ออนาคต

ผลตามแผน

เป็นวิทยากรกลุ่มวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืน 

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เป็นวิทยากรกลุ่มวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืน เนื้อหานำเสนอนโยบายโดยสรุปดังนี้ - ปัญหาอุปสรรค/สถานการณ์ - ทางออก/กลไก - ความคาดหวัง/ภาพฝัน - แนวทาง/มาตรการ/วิธีการดำเนินการ - วนเกษตรยางพาราทางออกเพื่ออนาคต

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 1,490.00 0.00 0.00 0.00 3,890.00
29 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:19:19
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:20:08 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร ตลาดเกษตร มอ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

“ร่วมเป็นวิทยากรนำกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษดูงานที่จังหวัดเชียงราย”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:17:47
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:18:42 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร ตลาดเกษตร มอ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

“ร่วมเป็นวิทยากรนำกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษดูงานที่จังหวัดเชียงราย”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
27 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:15:34
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:16:37 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร ตลาดเกษตร มอ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

“ร่วมเป็นวิทยากรนำกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษดูงานที่จังหวัดเชียงราย”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
26 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:11:06
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 พฤศจิกายน 2558 10:48:33 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร ตลาดเกษตร มอ.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

“ร่วมเป็นวิทยากรนำกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษดูงานที่จังหวัดเชียงราย”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นำกลุ่มเยี่ยมชมกิจกรรมต่างๆดังนี้ - โครงการความมั่นคงทางอาหารจังหวัดเชียงราย - ศูนย์ฝึกวิชาชีพเชียงราย - ศุยน์พัฒนาโครงการหลวงบ้านสะโง๊ะ - สับปะรดภูแลออแกนิค - โร่เชิงตะวัน(ท่า ว. วัชรเมธี)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
10 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:08:16
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:33:41 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากรให้ สกย.

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

“อบรมเสวนาวนเกษตรในสวนยางพารา”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

อบรมเกษตรกรชาวสวนยางพารา เรื่อง “การเลี่ยงผึ้งในสวนยางพาราเป็นรายไดเสริมและสร้างภูมิคุ่มกันทางอาหาร” หัวข้อเนื้อหาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราคืออะไร? - ภูมิคุ่มกันทางอาหารคืออะไร? - การเลี้ยงผึ่งเกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันทางอาหารอย่างไร? - ชนิดของผึ้งและรูปแบบโพรง/รังเทียม - การดูแลบำรุงรักษาและศัตรูผึ้ง - การเก็บเกี่ยวและจำหน่ายน้ำผึ้ง - อื่นเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

อบรมเกษตรกรชาวสวนยางพารา เรื่อง “การเลี่ยงผึ้งในสวนยางพาราเป็นรายไดเสริมและสร้างภูมิคุ่มกันทางอาหาร” หัวข้อเนื้อหาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราคืออะไร? - ภูมิคุ่มกันทางอาหารคืออะไร? - การเลี้ยงผึ่งเกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันทางอาหารอย่างไร? - ชนิดของผึ้งและรูปแบบโพรง/รังเทียม - การดูแลบำรุงรักษาและศัตรูผึ้ง - การเก็บเกี่ยวและจำหน่ายน้ำผึ้ง - อื่นเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
5 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยhamidahamidaเมื่อ 9 มีนาคม 2558 11:03:09
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 09:16:57 น.

ชื่อกิจกรรม : เสวนา การทำสวนยางวนเกษตร ต.ท่าข้าม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นวิทยากรเสวนาเรื่องการทำวนเกษตรในสวนยางให้กับเกษตร ต.ท่าข้าม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

กิจกรรมตามแผน

เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำวนเกษตร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำวนเกษตร

ผลตามแผน

ได้บรรยายความรู้เรื่องวนเกษตร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรได้ความรู้ - เรื่อง การให้การสงเคราะห์การทำสวนยางแบบ 5 - วนเกษตรยางพารา - ผักพื้นบ้านที่ปลูกในสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในด้านอาหาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
3,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 3,600.00
23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยhamidahamidaเมื่อ 9 มีนาคม 2558 11:14:33
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 27 มีนาคม 2558 16:17:41 น.

ชื่อกิจกรรม : วิทยากรกิจกรรมปลูกผักข้างบ้านสร้างตู้เย็นที่มีชีวิต

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นวิทยากรในโครงการความมั่นคงด้านอาหาร

กิจกรรมตามแผน

ร่วมเป็นวิทยากรในกิจกรรมปลูกผักข้างบ้านสร้างตู้เย็นที่มีชีวิต ของโครงการตลาดนัดเกษตรกร คณะทรัพย์ฯ ม.อ.

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ร่วมเป็นวิทยากรเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายผักพื้นบ้าน วันที่ 23 ก.พ. 58 - ได้แนะนำตัวอย่างผักพื้นบ้านบางชนิดที่เกษตรกรนำมาแสดงและจำหน่ายในงานตลาดนัดเกษตรกร ม.อ. โดยให้ความรู้วิธีการบริโภคและการนำผักพื้นบ้านไปใช้ประโยชน์ เช่น คุณค่าทางยาแลัสมุนไพร รวมทั้งถิ่นที่อาศัยที่พบในนิเวศน์ธรรมชาติ

ผลตามแผน

ได้ร่วมเป็นวิทยาการเสวนาในช่วงเวลาเปิดตลาดนัด ช่วงเวลาจำหน่ายสินค้าในตลาดนัด ม.อ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • เกษตรกรนำพืชผักพื้นบ้านที่หาได้ในท้องถิ่นมาเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงประโยชน์ทางอาหารและทางยา และแนวทางการสร้างรายได้
  • ผู้ร่วมวงเสวนามีทั้งแม่ค้า พ่อค้าเกษตร และผู้มาซื้อของในตลาดทั่วไปที่มีความสนใจ ทำให้ได้รับความสนใจจากผู้ซื้อของมาร่วมฟังและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องผักพื้นบ้านที่เป็นภูมิคุ้มกันทางด้านอาหาร
  • มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยต่อประโยชน์ของสินค้าที่ซื้อ ทำให้เกิดความสนุกและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
22 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยhamidahamidaเมื่อ 9 มีนาคม 2558 10:46:47
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 27 มีนาคม 2558 15:43:50 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดเวทีเสวนาผลักดันนโยบายการทำสวนยางวนเกษตร ความมั่นคงทางอาหาร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องวนเกษตรยางพาราเพื่อความมั่นคงทางอาหาร

กิจกรรมตามแผน

จัดเวทีเสวนาแสดงความเห็นแนวทางผลักดันวนเกษตรยางพารา ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจแห่งชาติ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เป็นวิทยากร ร่วมประชุมเวทีเสวนาแสดงความคิดเห็นแนวทางผลักดนวนเกษตรยางพารา  เรื่อง วนเกษตรยางพาราเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรายได้เสริม

ผลตามแผน

เกิดการจัดเวทีเสวนาร่วมกัน

ผลที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้เข้าร่วมอบรม 25 คน เป็นเครือข่ายเกษตรกรใน ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ และแกนนำปผักพื้นบ้านในสวนยางของภาคใต้
- ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศณี ได้บรรยายเรื่องวนเกษตรยางพาราเพื่อความมั่นงคงทางด้านอาหารและรายได้เสริม
- จากการเสวนาร่วมกัน ทางสำนักงานเศรษฐกิจได้รู้จักพื้นที่ วนเกษตรยางพารา เพื่อทราบกำลังผลิตผักพื้นบ้านในสวนยางของพื้นที่ภาคใต้ เช่น ผักเหมียงที่ปลูกร่วมยาง เพื่อเป็นแนวทางในการนำผักพื้นบ้านที่ปลูกในสวนยางเข้าไปจำหน่ายตามห้างสรรสินค้าในต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 300.00 0.00 0.00 4,200.00 6,500.00
29 มกราคม 2558 เวลา 13:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 29 มกราคม 2558 15:20:13
Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 12 มีนาคม 2558 15:36:18 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

นำผลเสวนาเสนอผู้เกี่ยวข้องเป็นนโยบายผลักดันการปฏิบัติต่อไป

กิจกรรมตามแผน

เปิดเวทีร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

อภิปรายประมวลปัญหา การทำวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืน และเสวนาแสดงความคิดเห็น วันที่ 29 มกราคม 2558 ณ วิทยาลัยการอาชีพ อ.ควนโดน จ.สตูลชุมชน อ.เมือง จ.สตูล เป็นเวทีร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำสวนยางวนเกษตรเพื่อความยั่งยืน ต่อเรื่องการสงเคราะห์แบบ 5 ของ สกย.

ผลตามแผน

เป็นวิทยากรบรรยาย ร่วมอภิปรายประมวลปัญหา และ เสวนาแสดงความเห็น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

อภิปรายประมวลปัญหา/เสวนาแสดงความเห็น - มีผู้เข้าร่วมเสวนาประมาณ 55 คน ประกอบด้วย เกษตรกรและผู้ประกอบการยางพารา ครูในวิทยาลัยชุมชน และกลุ่มองค์กร - ทางผู้เข้าฟังการบรรยาย มีความเห็นว่า การสงเคราะห์แบบ 5 ของ สกย.เป็นสิ่งที่ดี แต่มีความกังวลว่า จะผลักดันให้เกิดการปฏิบัติได้อย่างไร หรือทำได้หรือไม่ - มีข้อเสนอแนะว่า ควรจะให้มีนโยบายปฏิบัติการ การสงเคราะห์แบบ 5 ให้เกิดขึ้นจริง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 850.00 0.00 0.00 0.00 1,850.00
21 มกราคม 2558 เวลา 13:00-16.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 29 มกราคม 2558 15:10:13
Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 12 มีนาคม 2558 15:33:12 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร ประชุมสรุปเวทีเสวนาวันที่ 13 มกราคม 2558

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 - เพื่อสรุปประชุมผลจากการจัดเวทีเสวนาเรื่องผลักดันนโยบายการทำสวนยางเพื่อความยั่งยืน

กิจกรรมตามแผน

ประชุมทีมคณะทำงานเวทีเสวนา จำนวน 9 คน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมทีมคณะทำงานเวทีเสวนา จำนวน 9 คน

ผลตามแผน

เวทีเสวนาวันที่ 13 มค 58 ณ ห้องประชุม 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 87 คนประกอบด้วยหน่วยงาน กลุ่ม องค์กรต่างๆดังต่อไปนี้ 1. สกย.อ.หาดใหญ่ 2. นักธุรกิจยางพารา 3. นศ.ป.เอก คณะทรัพย์ 4. รร.พิทักษ์สิทธิ์ เขาคูหา 5. คณะทำงานสวนป่ายางสมุนไพร 6. หนังสือพิมพ์โฟกัส 7. กลุ่มน้ำยางบ้านควน ต.ควนรู 8. สนง.เกษตร จ.สงขลา 9. อบต.ท่าข้าม 10. สอบจ.สตูล 11. สภาองค์กรชุมชน
12. ทน.สงขลา 13. คณะรัฐศาสตร์ ม.รามคำแหง 14. ชาวสวนยาง อ.รัตภูมิ 15. นศ.ม.หาดใหญ่ 16. มูลนิธิชุมชนสงขลา 17. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้ประชุมสรุปคณะทำงาน ณ มูลนิธิชุมชนสงขลา ได้เสนอต่อสรุปผลการจัดเวทีเสวนาร่วมกัน ให้ นายกำราบพานทอง นำไปเสนอผ่านทางจังหวัด และเสนอให้กับอนุกรรมการนโยบายยางแห่งชาติ ตามขั้นตอนต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-ทีมคณะกรรมการมาไม่ครบตามเป้าหมาย เนื่องจากติดภารกิจ

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 1,200.00
20 มกราคม 2558 เวลา 09:00-14.00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 29 มกราคม 2558 15:03:22
Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 27 มีนาคม 2558 11:22:39 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร ให้สัมภาษณ์ทำข่าวสื่อโทรทัศน์

  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อรณรงค์ ขยายผลการปลูกพืชร่วมยางใน 4 พื้นที่

กิจกรรมตามแผน

สัมภาษณ์และลงพื้นที่ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

5 ชั่วโมง

  • ทีมนักข่าวช่อง ไทยพีบีเอส ทำการสัมภาษณ์ อ.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี เพื่อให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องการปลูกพืชให้มีความหลากหลายในสวนยาง แบบวนเกษตร

  • จากนั้น พานักข่าวลงพื้น เพื่อพบเกษตรกรเครือข่าย วนเกษตรยางพารา ที่บ้านทุ่งหงาย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ผลตามแผน

  • เกิดการให้สัมภาษณ์นักข่าว และพาลงพื้นที่พบเครือข่ายวนเกษตรยางพารา ที่บ้านทุ่งหงายที่ปลูกพืชหลากหลาย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นยางเชิงเดี่ยวกับวนเกษตรยางพารา –นำนักข่าวไปพบเกษตรกรในพื้นที่จริง - ให้ดูตัวอย่างพืชร่วมและแซมยาง เช่น ยางพารา ผักเหมียง จำปูริง ลูกเนียง มะพร้าว ไผ่ มันปู มะม่วงหิมพานต์ ผักกูด ผักหนาม เป็นต้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

นักข่าวทำงานตามกระแส / เป็นคนรุ่นใหม่ไม่เข้าใจวนเกษตร / ไม่รู้จักพืชพรรณยังชีพในท้องถิ่น ทั้งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในอำเภอหาดใหญ่(ไม่รู้จักต้นผักเหมียง ต้นเหรียง ต้นลูกเนียง ต้นเลียบ ต้นเพกา ต้นจิกนา ต้นเต่าร้าง ต้นย่านนาง ฯลฯ) - การพูดคุยกับนักข่าวและเกษตรกรในพื้นที่ สื่อความเข้าใจกันยาก เพราะทีมสื่อไม่เข้าใจพืชท้องถิ่น - แนวทางแก้ไข แนะนำส่งเสริมให้รู้จัดพืชพันธุ์ยังชีพท้องถิ่น โดยให้ความรู้หรือทำเอกสารเผยแพร่ภูมิปัญญาไทยในการใช้ประโยชน์พืชพันธุ์ในท้องถิ่น เช่น เพื่อเป็นอาหาร ไม้ใช้สอยในวัฒนธรรม เป็นต้น

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 1,200.00
13 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 29 มกราคม 2558 14:59:35
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 15:39:32 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร จัดประชุมเวทีเสวนาผลักดันนโยบายการทำสวนยางเพื่อความยั่งยืน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อพัฒนาและประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอแนะและแนวทางปลูกพืชร่วมยาง สู่การผลักดันเชิงนโยบายต่อไป

กิจกรรมตามแผน

วิทยากรบรรยาย 3 คน ให้ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อชักจูงเข้าเนื้อหา ผู้มีส่วยได้ส่วนเสียเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม แบ่งกลุ่มย่อยหาข้อสรุปเสนอผลักดันไปตามขั้นตอน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-เอกชัย  อิสระทะ (พิธีกรดำเนินรายการ) -กำราบ พานทอง(วิทยากรประมวลการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับปัญหายางพาราที่ผ่านมา) -สุวิทย์ ทองหอม (วิทยากรประมวลกฎหมาย นโยบายเกี่ยวข้องที่ผ่านมา) -ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี(วิทยากรวนเกษตรยางพาราเพื่อความยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร) - จัด ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ.

ผลตามแผน

มีผู้เข้าร่วมเสวนา ประมาณ 100 คน หารือกำหนดนโยบายการทำสวนยางวนเกษตร ประกอบด้วย เกษตรกรทำสวนยาง นักวิชาการ นักศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้อง และประชาชนผู้สนใจ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • ที่ประชุมได้เสนอแนะให้ทางรัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการทำสวนยางวนเกษตร กำหนดนโยบายเพื่อการปฏิบัติให้เห็นเป็นรูปธรรม เช่น นโยบายการทำสวนยางของ สกย.ปรับเปลี่ยนการส่งเสริมการปลูกยางเชิงเดี่ยว ไปสู่การทำสวนยางที่ให้การสงเคราะห์แบบ 5 โดยให้มีค่าตอบแทนเพิิ่มแก่ผู้ปฏิบัติ -เวทีครั้งต่อไปที่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
6,500.00 2,980.00 19,876.00 0.00 0.00 0.00 29,356.00
10 มกราคม 2558 เวลา 09:00-16.30 (2 วัน) น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 29 มกราคม 2558 10:47:50
Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 12 มีนาคม 2558 15:38:30 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เขียนเอกสารประกอบการเสวนา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012

กิจกรรมตามแผน

 

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เอกสารสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา เรื่องทางออกนโยบายการพัฒนายางพาราที่ยั่งยืน

ผลตามแผน

ผลิตสิ่งเรียนรู้ ได้เอกสารประกอบการเพื่อเผยแพร่ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มาร่วมเสวนา

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เอกสารสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2,000.00
4 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 28 มกราคม 2558 15:56:48
Project owner
แก้ไขโดย hamida เมื่อ 12 มีนาคม 2558 15:28:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร ประชุมคณะทำงานเตรียมเวทีเสวนาผลักดันนโยบายการทำสวนยางวนเกษตร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 - เพื่อประชุมคณะทำงานวางแผนการจัดเวทีเสวนาโครงการวนเกษตรยางพารา

กิจกรรมตามแผน

ประชุมแกนนำเตรียมงานจัดเวทีเสวนามีผู้เข้าร่วมประชุม 9 คน ประกอบด้วย
1. ผศ.ดร ปราโมทย์ แก้วงศรี คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์ 2. นายกำราบ พานทอง เครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนชาวสวนยาง 3. นายสินธบ อินทรัตน์ นายก อบต.บ้านท่าข้าม 4. นายปฏิหาริย์ บุญรัตน์ สภาเกษตรกรจังหวัดสงขลา 5. นายเอกชัย อิสระทะ เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ 6. นายเสรี ขุนอักษร สมาคมบ้านพักคนชราหาดใหญ่ 7. นายสมภพ ยอดดี เครือข่ายนักเรียนพลเมือง 8. นส.กมลทิพย์ อินทะโณ มูลนิธิชุมชนสงขลา 9. นาง ณันฏิวรรณ อิสระทะ เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ได้ประชุมทีมแกนนำ เพื่อวางแผนการจัดเวทีเสวนา การผลักดันนโยบายการทำสวนยางเกษตร วันเสวนา 13 มกราคม 2558

ผลตามแผน

  • ได้ประชุมคณะทำงาน
  • ได้รูปแบบการจัดเวทีเสวนา
  • มีคณะทำงานที่ชัดเจน

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  • กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน ......คน ที่เชิญเข้ามาร่วมเวทีเสวนา ณ สถานที่ ณ ห้องประชุม 260 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์
  • ได้วันจัดเสวนา คือ วันที่ 13 มกราคม 2557 โดยใช้สถานที่ ณ .........
  • ได้รูปแบบการจัดเวทีเสวนา โดยในเวทีจะให้ความรู้เรื่อง ....... บรรยายโดย ........และมีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ในห้องเสวนา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

- แนวทางการพัฒนาครั้งต่อไป -จัดเวทีเสวนาที่คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,000.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 1,200.00
24 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 28 มกราคม 2558 15:52:20
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 15:35:10 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 (ปรับ)

กิจกรรมตามแผน

เป็นการอบรมปฏิบัติการให้แก่ครูยาง ของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดปัตตานี 400 คน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

  • เป็นวิทยากรอบรมปฏิบัติการ เรื่อง วนเกษตรให้กับครูยางพารา ในวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ณ จัดโดยสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดปัตตาน

ผลตามแผน

ครูยางเข้าใจเรื่องการทำสวนยางวนเกษตร และการแก้ปัญหาความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางด้านอาหารและสิ่งแวดล้อม

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ครูยาง คือแกนนำชุมชน ที่ สกย.คัดเลือกมาให้เป็นเกษตรกรที่ให้ความรู้เรื่องการปลูกยางให้กับชาวบ้านในพื้นที่จากการอบรมทำให้ครูยางเกิดความเข้าใจเรื่อง ได้รับความรู้เรื่องการทำวนเกษตรในสวนยางพารา ซึ่งเนื่อหามีรายละเอียดตามเอกสาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เกษตรกรมาช้ากว่าเวลากำหนดเพราะกรณีฝนตกมากมีน้ำท่วมเดินทางไม่สะดวก แก้ไขโดยขอขยายเวลาออกไปให้ครบตามกำหนด

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 1,000.00 0.00 0.00 0.00 3,000.00
20 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 28 มกราคม 2558 15:30:17
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 15:30:04 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เขียนเอกสารวนเกษตรยางพารา

ไฟล์ประกอบกิจกรรม

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 (ปรับ)

กิจกรรมตามแผน

ผลิตสิ่งเรียนรู้เอกสารประกอบการสัมมนาครูยาง ประจำปี 2558

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เขียนบทความเป็นเอกสารความรู้ เรื่อง "วนเกษตรในสวนยางพารา" สำหรับใช้ประกอบการสัมมนาครูยาง ประจำปี 2558

ผลตามแผน

ได้เอกสารประกอบการสัมมนาครูยางประจำปี 2558 ใช้วันที่ 24 ธันวาคม 2558

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เอกสารประกอบการสัมมนาครูยางประจำปี ๒๕๕๘
ณ ห้องประชุมโรงแรมเซาท์เทิร์นวิว อ. เมือง จ. ปัตตานี วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ เรื่อง วนเกษตรในสวนยางพารา ผศ. ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี 1 Assist. Prof. Pramoth Kheowvongsri 2

1คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 2Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hat Yai Campus E-mail pramoth.k@psu.ac.th


ความนำ ปัจจุบันนี้ยางพาราเป็นพืชที่นำไปปลูกทุกภาคในประเทศไทย และรายได้จากยางพารามีความสำคัญต่อประเทศ ต่อเกษตรกรและต่อกลุ่มการค้าที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ปลูกยางพาราของไทยปัจจุบัน ล่อแหลมต่อการทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง (ทั้งระดับนิเวศน์คือที่อยู่อาศัย ระดับพันธุกรรม และระดับชนิด) สวนทางกับนโยบายการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และแผนส่งเสริมการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที่กำหนดให้มีระยะเวลาดำเนินการระหว่าง พ.ศ. 2540-2559 ซึ่งมีนโยบายเกี่ยวข้องกับแนวทางการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และตามที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนดไว้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11

การทำสวนยางพาราของไทยในอดีต ยางพาราเป็นพืชต่างถิ่นที่พระยารัษฏานุประดิษฐ์(คอซิมบี๊ ณ ระนอง) นำเข้ามาสู่ประเทศไทยเป็นคนแรก โดยปลูกที่อำเภอกันตังจังหวัดตรัง ต่อมานิยมปลูกกันจึงได้แพร่กระจายออกสู่ราษฎรในภาคใต้ออกไปมากขึ้นเป็นลำดับ การหักล้างถางพงสมัยปู่ทวดเพื่อการทำไร่ทำสวน ในอดีตจึงมักจะมีการปลูกยางพาราร่วมอยู่ด้วยเสมอ ซึ่งการเริ่มต้นปลูกยางของคนไทยภาคใต้ในอดีตนั้น อาจเริ่มต้นดำเนินการที่เก็บหาเมล็ดจากคนที่ปลูกก่อนมาปลูก หรืออาจถอนต้นกล้ายางสองใบมาปลูก ในพื้นที่ถือคลองของตนเอง จำนวนมากน้อยของการปลูกแต่ละครั้งคราว พึ่งพาปัจจัยภายในจัดสร้างแบบค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสามารถของครอบครัวที่พอจะทำกันได้ ต้นที่ปลูกไว้ก่อนก็จะแพร่เมล็ดงอกเพิ่มขึ้นมาได้เองบ้าง ปนอยู่กับพรรณไม้ต่างๆในสวน ต้นกล้ายางที่งอกเองต้นไหนต้องการก็เว้นไว้ ตรงตำแหน่งที่ขึ้นหนาแน่นเกินไปก็จะถอนไปปลูกที่ตำแหน่งอื่นๆ หรือตัดสางออกทิ้งเสียบ้างบางส่วน สวนยางพาราในอดีตจึงไม่ค่อยจะเป็นแถวเป็นแนว และมีขนาดต้นยางเล็กใหญ่ไม่สม่ำเสมอ เพราะปลูกเพิ่มหรือเว้นไว้ให้เจริญเติบโตต่างเวลาต่อกันไปเรื่อยๆ ในสวนยางของชาวบ้านจะมีความสามารสร้างรายได้หลายทาง เช่น จากน้ำยางพารา จากผลไม้ท้องถิ่น จากของป่าต่างๆ เช่น สมุนไพร  เห็ด สัตว์ป่า เป็นต้น เป็นการดำเนินชีวิตที่อยู่ร่วมกับธรรมชาติ และพึ่งพาปัจจัยภายในท้องถิ่นของตนเองเป็นหลัก สามารถสร้างรายได้เป็นรายฤดูกาล เช่น สะตอ เนียง ทุเรียน เห็ด ฯลฯ รายเดือน เช่น กล้วย มะพร้าว เหรียง หน่อไม้ รายสัปดาห์ เช่น ปลีกล้วย ขิงข่า ใบตอง ผักพื้นบ้าน ฯลฯ และรายวัน เช่น ไม้กวาดใบมะพร้าว ผลิตภัณฑ์จักสานต่างๆ  เป็นต้น
ชาวสวนบางรายในอดีตดำเนินชีวิตแบบผ้าขี้ริ้วห่อทอง ปลูกทุกอย่างที่กินหรือที่ใช้ในครอบครัว สวนยางพาราของคนไทยในอดีตจึงเปรียบเหมือนศูนย์การค้า(อยากได้อะไรไปหาที่สวน) หรือเปรียบเหมือนตู้เย็นที่มีชีวิตไม่ต้องใช้ไฟฟ้า(อยากกินอะไรไปหยิบหามาจากในสวน)

การทำสวนยางของไทยในปัจจุบัน การทำสวนยางพาราปัจจุบันแตกต่างจากอดีต พึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป ทำลายระบบนิเวศย่อยภายในให้ลดลง เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง พืชพรรณประจำถิ่นที่ใช้บริโภคยังชีพ ไม้ใช้สอย รวมกระทั้งการปลูกยางพาราตามพื้นที่ไม่เหมาะสม เช่น ตามที่มีความลาดชันมากเกินไป ตามสองฝากริมฝั่งคลองเป็นต้น ซึ่งควรเว้นไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร หรือไว้เป็นแนวป้องกันการชะล้างพังทลายลงสู่ทางน้ำ ฯลฯ เมื่อพื้นที่เหล่านี้ลดลง จึงมีผลต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรม สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน จึงมีส่วนที่ทำให้เกิดผลกระทบในทางลบด้านต่างๆทั้งทางตรงทางอ้อมเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยความถี่ของการเกิดและความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ชักนำกลับไปสู่ปัญหาเศรษฐกิจและความยากจนของประชาชน รัฐบาลจึงกำหนดนโยบายและแผนเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540-2559 โดยให้แบ่งชั้นการใช้ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสม (แบ่งชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ) ให้มีป่า 40 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ประเทศ ให้อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาแต่ก็ยังมิอาจเห็นเป็นรูปธรรมได้ และผลกระทบก็กำลังทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ดังพบเห็นได้ตามสื่อสาธารณะทั่วไป เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย วินาศภัย วาตะภัย เป็นต้น และเป็นเหตุให้เกษตรกรชาวสวนยางต้องน้ำตาตก เพราะสูญเสียรายได้ เงินใช้จ่ายไม่พอเพียง เกิดความยากจน เกิดความทุกข์ เกิดปัญหาสังคม เป็นต้น

การทำสวนยางพาราของไทยในอนาคต เป็นนิมิตรหมายดีที่จะช่วยให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเกิดประโยชน์ร่วมกัน เพราะสรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยวตามวิสัยทัศของโครงการ อพสธ. ซึ่งสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ได้เล็งเห็นความสำคัญในพระราชดำริส่วนนี้ด้วย เช่นกัน จึงได้มีนโยบายให้ยกเลิกหนังสือที่ กษ ๒๐๐๒/๑/ว ๔๖ ลงวันที่๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ และกำหนดหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการให้สงเคราะห์ปลูกแทนแบบเกษตรผสมผสาน(แบบ ๕) ตามหนังสือที่ กษ ๒๐๐๒/๑/๐๓๐๖ วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ รายละเอียด ซึ่งผู้บรรยายได้คัดลอกมาทั้งหมดเพื่อแสดงให้เห็น ดังนี้ ๑.การให้การสงเคราะห์แบบผสมผสาน หมายถึง “การให้การสงเคราะห์ปลูกแทนที่มีกิจกรรมทางการเกษตรตั้งแต่ ๒ กิจกรรมขึ้นไป ภายในพื้นที่และห้วงเวลาเดียวกัน ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะสนับสนุนเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการผสมผสานระหว่างกิจกรรมดังนี้ พืช+พืช พืช+ปศุสัตว์ พืช+ประมง และพืช+ปศุสัตว์+ประมง โดยมียางพันธ์ดี หรือไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชหลัก” ๒.หลักเกณฑ์ในการให้พิจารณาให้การสงเคราะห์ปลูกแทนแบบเกษตรผสมผสาน ๒.๑ การสำรวจรังวัด อนุญาตให้ไม่ต้องตัดเนื้อที่กรณีสวนยางเดิมมีไม้ป่า ไม้ห้วงห้าม หรือไม้ยืนต้นอื่นที่ผู้รับการสงเคราะห์ไม่ประสงค์ที่จะโค่นออก ๒.๒ การปลูกแทนแบบเกษตรผสมผสาน สามารถปลูกแทนด้วยยางพันธ์ดี หรือไม้ยืนต้นเป็นพืชร่วม รวมทั้งการทำปศุสัตว์และการประมง โดยมียางพันธ์ดีหรือไม้ยืนต้นเป็นพืชหลักและพืชรอง รวมกันแล้วไม่ต่ำกว่า ๒ ชนิด ปลูกเต็มเนื้อที่ที่ได้รับอนุมัติให้การสงเคราะห์ ทั้งนี้ ถ้าปลูกยางพันธ์ดีเป็นพืชหลักต้องมีจำนวนต้นยางไม่น้อยกว่า ๔๐ ต้นต่อไร่ และมีระยะปลูกสม่ำเสมอ ๒.๓ กรณีที่ผู้รับการสงเคราะห์ต้องการมีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร อนุญาตให้ไม่ต้องตัดเนื้อที่แหล่งน้ำได้ไม่เกิน ๕ % ของเนื้อที่ทำจริง ๒.๔ สำหรับกิจกรรมที่จำเป็นต้องสร้างโรงเรือนทางการเกษตร จะต้องไม่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและจำนวนต้นของพืชหลัก ๒.๕ ให้จัดงวดงานเกษตรผสมผสาน ทั้งค่าแรง ค่าวัสดุ และค่าพันธุ์ ตามความจำเป็น และสอดคล้องกับกิจกรรมที่จะดำเนินการ โดยพิจารณาเทียบเคียงหรือให้ใช้อัตราการจ่ายสงเคราะห์ปลูกแทนแบบ ๑ ในกรณียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลัก หรือแบบ ๓ ในกรณีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก เพื่อบันทึกในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(ระบบ AFR) แทนก็ได้ ๒.๖ กรณีผู้รับการสงเคราะห์ปลูกแทนแบบ ๑, ๒ และ ๓ มีความประสงค์ขอเปลี่ยนแปลงการปลูกแทนมาเป็นแบบ ๕ และได้รับเงินหรือวัสดุสงเคราะห์ไปแล้วบางส่วน ให้นำเงินที่จ่ายไปแล้วในแบบเดิมมาหักออกจากยอดเงินสงเคราะห์แบบ ๕ เหลือจากนั้นให้นำมาจัดงวดงานใหม่ทั้งหมดรวมทั้งในกรณีกลับกัน ๒.๗ การนำเงินสงเคราะห์มาจัดงวดงาน ตามข้อ ๒.๕ และ ๒.๖ ถ้ามียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลัก ต้องจัดให้ได้ระยะเวลาในการให้สงเคราะห์ ๗ ปี และถ้ามีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก ต้องจัดให้ได้ระยะเวลาในการให้การสงเคราะห์ ๔ ปี กรณีเมื่อจัดงวดงานแล้วเงินไม่พอ ให้ผู้รับการสงเคราะห์ออกเงินสมทบ ๒.๘ ยกเว้นกรณีผู้รับการสงเคราะห์ปลูกแทนแบบ ๔ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการปลูกแทนเป็นแบบ ๕ ได้ รวมทั้งในกรณีกลับกัน ๓. ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติให้การสงเคราะห์ปลูกแทนแบบเกษตรผสมผสาน ๓.๑ ให้ระบุข้อความ “เกษตรผสมผสาน(แบบ ๕)” เพิ่มเติมให้ชัดเจนในบริเวณด้านบนของแบบคำขอรับการสงเคราะห์เพื่อการปลูกแทน (ส.ก.ย.๑) และแบบรายงานการสำรวจตรวจสอบเพื่อการปลูกแทน (ส.ก.ย.๒) ๓.๒ ให้ระบุเพิ่มเติมในแบบ ส.ก.ย.๒ ข้อ ๙ หัวข้อ การอนุมัติเพื่อการปลูกแทน ความว่า “เกษตรผสมผสาน โดยมียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลัก” หรือ “เกษตรผสมผสาน โดยมีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก” อย่างใดอย่างหนึ่งให้ชัดเจน เพื่อใช้เป็นข้อมูลบันทึกในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ระบบ AFR) ๓.๓ ร่วมกับผู้รับการสงเคราะห์จัดทำแผนผังฟาร์ม โดยระบุชนิดพืช จำนวนต้น ระยะปลูก และกิจกรรมต่างๆ ภายในสวนสงเคราะห์ รวมทั้งรายละเอียดการจัดงวดตามหลักเกณฑ์ข้อ ๒.๕ และ ๒.๖ แล้วแต่กรณี แนบมาพร้อมกับแบบ ส.ก.ย.๒ นำเสนอ หผ.ปฏิบัติการ เพื่อพิจารณาและนำเสนอ ผอ.สกย.จ./ห.สกย.อ./ห.ศปจ. เพื่ออนุมัติให้การสงเคราะห์ ๓.๔ กรณีกำหนดให้ไม้ยืนต้นชนิดที่อยู่นอกเหนือจากที่สำนักงานฯกำหนดเป็นพืชหลัก ต้องเสนอ ผอ.สกย. พิจารณาอนุมัติให้การสงเคราะห์ ๔. การรายงานผลการให้การสงเคราะห์ ๔.๑ ให้ใช้รายงานการตรวจสวนสงเคราะห์ในหนังสือประจำตัวผู้ได้รับการสงเคราะห์ปลูกแทน งวดที่ ๑ , ๒ และงวดที่พ้นสงเคราะห์ และรายงานการตรวจสวนระบบกลุ่มงวดปกติ งวดที่ ๓ ถึงงวดก่อนพ้นสงเคราะห์ ๔.๒ การรายงานในหนังสือประจำตัวผู้ได้รับการสงเคราะห์ปลูกแทน ให้รายงานดังนี้ ๔.๒.๑ กรณียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลักให้รายงานจำนวนต้น และขนาดเฉลี่ยของจำนวนต้น ๗๐ % เซ็นขึ้นไป มีขนาด/ทรงพุ่ม/สูง......ชั้น/ซม ๔.๒.๒ กรณีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลักให้รายงานจำนวนต้น และเปอร์เซ็นความเจริญเติบโต คือ งามดี.......% ไม่งาม…. % ของจำนวนไม้ยืนต้นที่คงเหลือ ณ วันตรวจ (รวม ๑๐๐ %) ๔.๒.๓ กรณีการปลูกพืชคลุม พืชแซม พืชร่วม/พืชรอง และกิจกรรมอื่นๆให้รายงานเพิ่มเติมให้ชัดเจน ๔.๓  การรายงานการตรวจสอบระบบกลุ่ม ให้รายงานจำนนวนต้นและความเจริญเติบโตของพืชหลัก(ยางพันธุ์ดี หรือ ไม้ยืนต้น) พืชคลุม พืชแซม พืชร่วม/พืชรอง และกิจกรรมอื่นๆเพิ่มเติมให้ชัดเจน ๕. เกณฑ์การผ่านงวดและการสั่งจ่ายเงิน ๕.๑ การผ่านงวด กรณียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลัก ๕.๑.๑ จำนวนต้นยาง ๗๐ % ขึ้นไป ของจำนวนต้นยางที่คงเหลือ ณ วันตรวจ ต้องมีขนาดเป็นไปตามมาตรฐานการเจริญเติบโตของการปลูกแทน แบบ ๑ ๕.๑.๒ จำนวนต้นยางที่คงเหลือ ณ วันตรวจ ต้องมีไม่น้อยกว่า ๗๐ % ของจำนวนต้นยางที่ปลูก แต่ต้องไม่น้อยกว่าไร่ละ ๔๐ ต้น ๕.๒ การผ่านงวด กรณีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก ๕.๒.๑ จำนวนไม้ยืนต้น ๗๐ % ขึ้นไป ของจำนวนไม้ยืนต้นที่คงเหลือ ณ วันตรวจ ต้องมีความเจริญเติบปานกลาง ๕.๒.๒ จำนวนไม้ยืนต้นที่คงเหลือ ณ วันตรวจ ต้องมีไม่น้อยกว่า ๗๐ % ของจำนวนต้นยางที่ปลูก ๕.๓ การสั่งจ่ายเงิน (ค่าแรงและวัสดุ) ให้จ่ายเป็นเงินเข้าบัญชีธนาคารผ้รับการสงเคราะห์เท่านั้น ตามรายการจัดงวดงาน ข้อ ๓.๓ ๖. วิธีปฏิบัติทางการเงินและบัญชี ๖.๑ ให้นำจำนวนเงินที่ได้รับอนุมัติทั้งหมด ซึ่งปรากฏอยู่ในบัตรบัญชีรหัส ๒/๕๓ มาจัดงวดงานเกษตรผสมผสาน และปรับปรุงในระบบบัญชีสงเคราะห์รายตัว (ระบบ R) โดยใช้รหัสเหตุผล ๑๑๔ ไม่ต้องจัดทำใบผ่านสมุดรายวัน เนื่องจากจำนวนเงินเพิ่มและเงินลดเท่ากัน ๖.๒ กรณีเปลี่ยนแปลงการปลูกแทนจากแบบ ๑, ๒ และ ๓ เป็นแบบ ๕ รวมทั้งในกรณีกลับกัน ให้ใช้รหัสเหตุผล ๐๗๑ และจัดงวดงานใหม่ทั้งหมด และปรับปรุงในระบบ R โดยใช้รหัสเหตุผล ๑๑๒ ไม่ต้องจัดทำใบผ่านสมุดรายวัน เนื่องจากจำนวนเงินเพิ่มและเงินลดเท่ากัน ๖.๓ วิธีการคำนวณเงินคงเหลือในกรณีการเปลี่ยนแปลงการปลูกแทน ให้คำนวณจากยอดจำนวนเงินอนุมัติ หักด้วยยอดเงินจ่าย เป็นยอดเงินคงเหลืออยู่ในรหัส ๒/๕๓ ซึ่งเท่ากับยอดเงินคงเหลือของแบบการปลูกแทนเดิม เนื่องจากอัตราการจ่ายสงเคราะห์เท่ากัน ไม่ต้องจัดทำใบผ่านสมุดรายวัน ๗. การบันทึกข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ระบบ AFR) ๗.๑ การบันทึกข้อมูลในระบบรับคำขอและอนุมัติการสงเคราะห์ (ระบบ A) ให้บันทึกหน้าจอ ส.ก.ย.๒ ส่วน ค. ข้อ ๙ ให้เลือกแบบปลูกแทน แบบ ๕ (เกษตรผสมผสาน โดยมียางพันธุ์ดีเป็นพืชหลัก) หรือ แบบ ๕ (เกษตรผสมผสาน โดยมีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก) ตามข้อ ๓.๒ ๗.๒ การบันทึกข้อมูลในระบบตรวจสวนและติดตามสวนสงเคราะห์ (ระบบ F) หลังจากอนุมัติจะได้แบบปลูกแทนเกษตรผสมผสานตามระบบ A กรณีอนุมัติเป็นแบบ ๕ (เกษตรผสมผสานโดยมียางพันดีเป็นพืชหลัก) จะตั้งงวดตรวจสวนตั้งแต่งวดที่ ๑ ถึงงวดที่ ๘ และการบันทึกรายงานการตรวจสวนเหมือนการปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี (แบบ ๑) และกรณีอนุมัติเป็นแบบ ๕ (เกษตรผสมผสาน โดยมีไม้ยืนต้นเป็นพืชหลัก) จะตั้งงวดตรวจสวนตั้งแต่งวดที่ ๑ ถึงงวดที่ ๕ และการบันทึกรายงานการตรวจสวนเหมือนการปลูกแทนด้วยไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ (แบบ ๓) สำหรับการจัดงวดงาน หรือเปลี่ยนแปลงการปลูกแทน ให้ดำเนินการตามปกติเช่นเดียวกันกับแบบปลูกแทนอื่นๆ ๗.๓ การบันทึกข้อมูลในระบบบัญชีสงเคราะห์รายตัว (ระบบ R) หลังจากอนุมัติจะได้แบบปลูกแทนเกษตรผสมผสานตามแบบ A สำหรับการจัดงวดงานเกษตรผสมผสาน หรือการจัดงวดงานใหม่ทั้งหมด กรณีการเปลี่ยนแปลงการปลูกแทน ให้ดำเนินการตามวิธีปฏิบัติทางการเงินและบัญชี ตามข้อ ๖.

วนเกษตรคืออะไร? จอน เบเน (Mr. John Bene) ชาวแคนาดากล่าวถึงวนเกษตรเมื่อปี พ.ศ. 2518 โดยได้อธิบายไว้ว่า “เป็นการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนต่อที่ดินในด้านการช่วยเพิ่มผลผลิตรวม ซึ่งต้องประยุกต์ดัดแปลงให้เข้ากับวิถีชีวิตและวิธีการการปฏิบัติของราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ” วนเกษตรในด้านวิชาการเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของพืชยืนต้น พืชข้ามปี พืชล้มลุก สัตว์เลี้ยงและสิ่งอื่นๆที่เกี่ยวข้องในระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการผลิตในหน่วยพื้นที่เดียวกัน มีประโยชน์ในด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายชีวภาพ ทำให้เกิดผลดีต่อสิ่งแวดล้อมต่อสังคม และช่วยให้เกิดความยั่งยืนได้ในระบบการผลิต นักวิชาการจึงมีแนวคิดที่จะนำเอาเทคโนโลยีทางด้านวนเกษตร มาช่วยแก้ปัญหาความยากจนและปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก ในสภาวะกาลปัจจุบันจึงได้มีการศึกษาหาแนวทาง นำเอาระบบวนเกษตรเข้าไปแทรกแซงตามสถานการณ์ ของการใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบต่างๆ เพราะเชื่อว่าวนเกษตรเป็นการใช้ที่ดินที่เหมาะแก่การปฏิบัติทั้งในระดับไร่นาและป่าไม้ จึงได้มีการจัดตั้งองค์กรนานาชาติขึ้นเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนด้านการเงินและการวิจัย โดยใช้ชื่อว่าสถาบันวิจัยวนเกษตรนานาชาติ(International Council For Research in Agroforestry) เรียกชื่อย่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “อีคราฟ” (ICRAF) สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงแเนโรบีประเทศเคนยา สำนักงานย่อยแห่งภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ตั้งอยู่ที่เมือง Bogor ประเทศอินโดนีเซีย สำนักงานหน่วยประสานงานย่อยของ ICRAF ในประเทศไทยตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่

ความหมายจากนักวิชาการวนเกษตร ปัจจุบันนี้มีการพูดถึงคำว่า “วนเกษตร” กันมากขึ้นในกลุ่มนักวิชาการต่างๆ  และได้มีการอธิบายความหมายออกมาหลากหลาย ดังเช่น บางกลุ่มให้ความหมายว่า เป็นการทำเกษตรป่าไม้  เป็นการทำเกษตรแบบป่า เป็นการทำเกษตรทางเลือก เป็นการทำไร่นาส่วนผสม เป็นการทำเกษตรผสมผสาน เป็นต้น ซึ่งตามที่กล่าวมามีหลักปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันกับ “วนเกษตร” และต่อไปนี้จะนำเอาตัวอย่างสรุปความหมายตามข้อคิดเห็นของนักวิชาการที่เริ่มต้นบุกเบิก และองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้องมาแสดงให้เห็น ดังเช่น F. Halle “วนเกษตร” เป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินเกี่ยวข้องกันทั้งศาสตร์ ศิลป์ และภูมิปัญญา ในการปลูกไม้ยืนต้นกับพืชอื่นๆผสมกัน โดยอาจจะเลี้ยงปศุสัตว์ร่วมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้ ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากที่ดินผืนนั้นๆ จะมีมากกว่าการปลูกพืชเพียงอย่างเดียว ช่วยอนุรักษ์ภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์พืชพรรณ ช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ ลดความเสี่ยงจากความเสียหายของผลผลิต สนองความต้องการทางเศรษฐกิจและสังคมของราษฎรในท้องถิ่นได้มาก ICRAF “วนเกษตร”  คือแนวทางการใช้ที่ดินที่มีการผสมผสานอย่างเหมาะสมระหว่างไม้ยืนต้น กับการผลิตพืชและการเลี้ยงสัตว์  เป็นวิธีที่มีศักยภาพในการให้อาหารสัตว์  เชื้อเพลิง และผลิตผลอื่นๆแก่ครอบครัว ในขณะเดียวกันวนเกษตรจะทำให้ผลผลิตยั่งยืน (Sustainned  Productivity)  จากทรัพยากรธรรมชาติพื้นบ้าน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นการช่วยปรับปรุงสภาพแวดล้อมของพื้นที่ปลูกพืชและสัตว์เลี้ยง
J.B  Raintree  “วนเกษตร”  เป็นวิทยาศาสตร์ที่จะปิดช่องว่างการกสิกรรมและการป่าไม้  เป็นการผสมใช้ประโยชน์ที่ดินและกิจการที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมกัน  เช่น  การนำเอาพืชยืนต้น  พืชล้มลุก พืชข้ามปี  และการเลี้ยงสัตว์  มารวมกันบนพื้นที่เดียวกัน เพื่อหวังผลผลิตจากหลายๆสิ่งดังที่กล่าวมา  บนพื้นฐานของผลผลิต่อเนื่องตลอดไป K.F.S  King และ M.T Chandler  “วนเกษตร”  หมายถึงระบบการใช้ที่ดินอย่างต่อเนื่อง  เพื่อเพิ่มผลผลิตทั้งหมดจากที่ดินนั้นรวมกัน ไม่ว่าจะเป็นการกสิกรรมป่าไม้หรือปศุสัตว์  จะเป็นไปในทางสลับกันหรือผสมผสานกันก็ได้  และการนำเอาวิธีนี้ไปใช้ควรจะผสมกลมกลืนกันกับวิธีการที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นจะปฏิบัติได้ P.K.R  Nair “วนเกษตร”  หมายถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งเกี่ยวข้องทางสังคมและนิเวศวิทยาโดยการผสมผสานการปลูกไม้ยืนต้น ไม่ว่าจะเป็นพืชเกษตรหรือพืชป่าไม้หรือร่วมกับปสุสัตว์ในหน่วยพื้นที่เดียวกัน จะเป็นไปในทางสลับกันหรือผสมผสานกันก็ได้  วิธีการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบนี้ควรจะกลมกลืนกับวิถีชีวิตและความต้องการของราษฎรเป็นหลัก R.A.A  Oldman  “วนเกษตร” ไม่เป็นระบบใดระบบหนึ่ง  แต่เป็นหลักการทั่วๆไปที่มีใช้อยู่แล้ว ซึ่งมีผลทางนิเวศวิทยา ทางคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทางเศรษฐกิจ โดยผลทางชีวภาพอันเกิดจากการปลูกพืชหมุนเวียนอายุสั้นและอายุยาวกับการเลี้ยงสัตว์  และการปรับให้เข้ากับขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่น  กสิกรลดอัตราเสี่ยงภัยเพาะได้ประโยชน์ผสมผสานหลายชนิด กรมส่งเสริมการเกษตร  “วนเกษตร” หมายถึงระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยมีการปลูกไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มกับการกสิกรรมหรือหญ้าอาหารสัตว์และปศุสัตว์  เพื่อหวังผลที่จะได้ผลผลิตสูงสุด โดยรักษาและปรับปรุงคุณภาพของดินให้ดีขึ้น สะอาด บุญเกิด “วนเกษตร” เป็นการบัญญัติศัพท์ขึ้นจากคำในภาษาอังกฤษว่า Agroforestry และภาษาอังกฤษเองก็มาจากภาษลาตินว่า Agricultura รวมกับภาษาอังกฤษว่าForestry ทางคณะวนศาสตร์เห็นว่าเป็นคำที่มีใช้มาแล้วในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ Agriculture  ซึ่งเป็นเรื่องของคณะเกษตรศาสตร์  และ Forestry ซึ่งเป็นเรื่องของคณะวนศาสตร์  จึงนำเอาสองคำมารวมกัน ของภาษาอังกฤษ(จากภาษาลาติน) มาเป็นภาษาไทย(จากภาษาสันตกฤต) ว่า “Agroforestry ตรงกับคำไทย คือ วนเกษตร”  แต่ในวงวิชาการของกรมป่าไม้คำว่า “เกษตรป่าไม้” ซึ่งคำว่า “Agroforestry” นี้ ราชบัณฑิตยสถานยังมิได้ให้คำบัญญัติที่เป็นภาษาไทย ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี “วนเกษตร” เป็นภูมิปัญญาการเพาะปลูกและใช้ประโยชน์พืชพรรณกับการเลี้ยงสัตว์ในที่ดินทำกิน เป็นวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการปฏิบัติที่ถ่ายทอดกันมาจากตนรุ่นก่อนๆ แต่เมื่อเข้าสู่ยุคเกษตรกรรมที่ต้องแข่งขันการผลิต พื้นที่ “วนเกษตร” ได้ถูกคุกคามให้ลดน้อยถอยลงเป็นลำดับ คนยุคใหม่เริ่มไม่รู้จักและไม่เข้าใจ และเมื่อประมาณสี่สิบปีที่ผ่านมาสภาวะสิ่งแวดล้อมโลกถึงภาวะวิกฤต เกิดผลกระทบด้านลบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจและสังคม “วนเกษตร”ได้ถูกนำกลับมากล่าวถึงกันใหม่ บนพื้นฐานของการต้องเข้าใจระบบนิเวศ และการนำความหลากหลายทางชีวภาพมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจกันทั่วไปในปัจจุบัน เพราะมนุษย์จำเป็นต้องอยู่ร่วมกับธรรมชาติ และการจะนำเอา “วนเกษตร” กลับมาใช้ใหม่ในอนาคตนั้น ก็คงจะเป็นไปตามบทบาทหน้าที่ความชอบ และความต้องการของเกษตรกร หน่วยงาน และองค์กร ทั้งนี้เพื่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์ต่อไป
ตามที่กล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า “วนเกษตร” เกี่ยวข้องกับเรื่องขององค์ประกอบที่ดินกับสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบทางการเกษตร องค์ประกอบทางไม้ใช้สอย กลยุทธ์ในการจัดการที่ดินทำกิน รวมกระทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตประชากร เป็นต้น การจะอธิบายความหมายของวนเกษตรให้เข้าใจ จึงต้องมีความละเอียดอ่อน และต้องเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละกลุ่มนักวิชาการและกลุ่มประชากร ดังเช่น หากจะอธิบายสื่อความหมายให้กับสถาบันการศึกษาและสถาบันการวิจัยต่างๆ อาจอธิบายเป็นเชิงวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึงบทบาทและความสำคัญของการเกษตรกรรม แต่เมื่ออธิบายสื่อความหมายแก่ครูหรือนักการศึกษาในท้องถิ่น อาจพูดถึงภาพรวมเกี่ยวกับระบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน หรือการจัดการที่ดินทำกิน ที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต แต่หากอธิบายความหมายวนเกษตรแก่ประชาชนหรือเกษตรกรทั่วไป อาจกล่าวถึงการทำการเกษตรแบบผสมผสาน และการเลี้ยงสัตว์ที่เกื้อกูลกัน เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของวนเกษตร การที่องค์กรและหน่วยงานต่างๆต้องการให้มีการศึกษาวิจัย และสนับสนุนให้นำเอาวิธีการของวนเกษตรออกมาใช้ก็เพื่อวัตถุประสงค์หลักต่อไปนี้  คือ 1. เพื่อช่วยแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกรและประชาชน การปฏิบัติตามระบบวนเกษตร ในขั้นต้นจะช่วยแก้ไขระดับความต้องการพื้นฐานได้ เช่น อาหารและพืชประกอบอาหารต่างๆเพราะสามารถผลิตได้เอง จะช่วยลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อหาโดยไม่จำเป็น และลดความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักและอาหารที่มีสารพิษ ซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคภัยและจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพ 2. เพื่อช่วยให้ราษฎรที่มีที่ดินแปลงเล็กแปลงน้อย มีผลผลิตที่หลากหลายมาใช้บริโภคในครัวเรือน ช่วยลดความเสี่ยงและช่วยให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายผลผลิตจากการเพาะปลูกของตนเอง 3. เพื่อช่วยแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของที่ดินทำกิน ให้อุดมสมบูรณ์ขึ้นด้วยลักษณะ โครงสร้างและความหลากหลายในระบบวนเกษตร  เพราะความเสื่อมโทรมของที่ดินทำกินเป็นต้นเหตุของความยากจน 4. เพื่อช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการปฏิบัติในระบบวนเกษตร ช่วยอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และแบ่งเบาภัยพิบัติจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปให้ดีขึ้น 5. เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนไม้ใช้สอย เช่น เพื่อการซ่อมแซมต่อเติมที่อยู่อาศัย  โรงเรือนเลี้ยงสัตว์  เครื่องมือการเกษตร  เป็นต้น ในระบบวนเกษตรจะได้ไม้ใช้สอยเหล่านี้จากพืชยืนต้นที่มีอายุมากให้ผลผลิตน้อย หรือเมื่อต้องการตัดสางเอาพืชที่ไม่ต้อง การออก เป็นต้น 6. เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนไม้เชื้อเพลิง วัตถุประสงค์นี้จะเน้นที่ไม้ฟืน เพราะวิธีการของวนเกษตรมีพืชยืนต้นรวมอยู่ในระบบด้วย กิ่งก้านสาขาที่แห้งหรือเกิดจากการตัดแต่งพืชที่ปลูกจะนำไปเป็นเชื้อเพลิงได้

ความสำคัญของวนเกษตร หลายประเทศได้ตระหนักถึงปัญหาของป่าไม้ และบทบาทของพืชยืนต้นในการปกป้องและปรับปรุงสภาพแวดล้อม จึงทำให้องค์กรการพัฒนาระหว่างประเทศของประเทศที่พัฒนาแล้ว สนับสนุนให้มีการศึกษาทบทวนศักยภาพและปัญหาของป่าเขตร้อนกันอย่างกว้างขวาง  ผลการศึกษาชี้ให้เห็นปัญหาหลายประการที่มีผลมาจาการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ และมีข้อสรุปชี้แนะให้พัฒนาระบบการผลิต ในรูปแบบการปลูกพืชยืนต้นควบคู่ไปกับการปลูกพืชอายุสั้นอื่นๆ ให้มีความหลากหลายเกื้อกูลกันและอาจจะเลี้ยงสัตว์ร่วมด้วยในระบบ จากข้อเสนอแนะนี้มีผลให้ธนาคารโลกเปลี่ยนแปลงนโยบายให้เน้นการพัฒนาไปยังคนยากจนในชนบท  และกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ประกอบด้วยแนวคิด ที่จะให้มีการเพิ่มผลผลิตอาหารและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยวิธีวนเกษตร ส่วนองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ(FAO) ได้บททวนนโยบายการให้ความช่วยเหลือไปยังพื้นที่ในชนบทด้วยเช่นกัน  และองค์การวิจัยพัฒนาระหว่างชาติของแคนาดา(International Development Research Center เรียกย่อว่า IDRC) ได้เสนอให้จัดตั้งสภาวิจัยวนเกษตรนานาชาติขึ้นในปี พ.ศ. 2520 เรียกชื่อย่อว่า ”ICRAF” และมีกิจกรรมสนับสนุนงานด้านนี้มาจนปัจจุบัน
ต่อมาได้มีการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับการจัดสร้างหลักสูตรวนเกษตรให้เป็นรูปแบบเดียวกัน และจัดตั้งเครือข่ายวนเกษตรขึ้นในภูมิภาคเอเชียภายไต้ชื่อย่อว่า SEANAFE(Southeart Asian  Network for Agriforestry Education)  ประเทศไทยก็รวมอยู่ด้วยในเครือข่ายนี้  ในขณะเดียวกันก็ได้จัดตั้งเป็นเครือข่ายภายในประเทศขึ้นอีกด้วยเรียกชื่อย่อว่า Thai-NAFE(Thai Network for Agriforestry Education) เครือข่ายการศึกษาวนเกษตรภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะนี้มีประเทศสมาชิกอยู่ 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ลาว และ มาเลเซีย เครือข่ายดังกล่าวทำหน้าที่สนับสนุนสถาบันการศึกษาด้านวนเกษตรแก่ประเทศสมาชิก การสนับสนุนมีแผนการดำเนินงานรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การสนับสนุนด้านวิชาการและการบริหาร ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการพัฒนาเอกสารและการแปลตำรา ด้านการประชุมนักวิชาการอเนกสาขา ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านโครงการวิจัยสำหรับอาจารย์และนักศึกษา ในประเทศไทยการศึกษาด้านวนเกษตรได้เกิดขึ้น และดำเนินงานในรูปเครือข่าย ภายใต้ชื่อ “เครือข่ายการศึกษาวนเกษตรแห่งประเทศไทย” หรือ “Thai-NAFE”  ปัจจุบันมีสมาชิกเครือข่าย 10 สถาบันคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  มหาวิทยาลัยลาดกระบัง  มหาวิทยาลัยราชมงคล  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  มหาวิทยาลัยนเรศวร  มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี  โดยมีสำนักงานชั่วคราวตั้งอยู่ที่ คณะวนศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดยสรุปกล่าวได้ว่าเครือข่ายการศึกษาวนเกษตรแห่งประเทศไทย ดำเนินงานเพื่อการพัฒนาการศึกษาวนเกษตรในระยะยาว และจะพัฒนาดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของวิสัยทัศน์ ภารกิจและวัตถุประสงค์ โดยจะเน้นกิจกรรมด้านการพัฒนาหลักสูตรและสร้างเกณฑ์ขั้นต้นของการศึกษาด้านวนเกษตร  สนับสนุนและพัฒนาสื่อการสอน  สนับสนุนนโยบายด้านวนเกษตร  เสริมสร้างประสิทธิภาพของบุคลากรด้านวนเกษตร เป็นต้น

หน่วยงานและองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องกับวนเกษตร FAO(Food and Agriculture Organization) เป็นองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือประเทศที่กำลังพัฒนา  เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และเชื่อเพลิง การขาดแคลนอาหารและการแก้ปัญหาความยากจน IDRC(International Development Research Center) เป็นศูนย์การค้นคว้าวิจัยการพัฒนาระหว่างชาติ เกี่ยวกับการจัดการที่ดินในเขตร้อน ป่าไม้  อาหาร  และคน  ดังนั้นแนวทางการวิจัยจึงชี้ไปสู่ระบบวนเกษตร  จึงสนับสนุนการจัดตั้ง ICRAF ขึ้นโดยตั้งสำนักงานชั่วคราวอยู่ที่นครแอมสเตอร์แดม ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นการชั่วคราว ในปี  พ.ศ. 2520 ICRAF(International Council For Research in Agroforestry) หรือสถาบันวิจัยวนเกษตรระหว่างชาติ โดยคณะกรรมการของ IDRC เห็นว่า ICRAF ควรจะตั้งสำนักงานใหญ่อยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา  ดังนั้นเมื่อศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆแล้ว จึงลงความเห็นว่าควรจะจัดตั้งที่กรุง Nairobi Kenya และปัจจุบันสถาบันนี้ได้ขยายความรับผิดชอบเป็นสถาบันวนเกษตรโลก(World  Agroforestry  Center)  แต่ยังใช้ชื่อย่อว่า ICRAF อยู่เช่นเดิม               CATIE(Centro Agrononico Tropical de Investigacion Ensenanza) สนับสนุนการค้นคว้าวิจัย ฝึกอบรมร่วมมือร่วมงานและแสดงผลงานของศูนย์หรือสถาบัน  และเรื่องเกี่ยวกับชนบทที่ทำมาหากินแปลงเล็กแปลงน้อย ที่ทำกินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ที่ทำกินอยู่ในที่สูงชัน สถาบันนี้มีการค้นคว้าทดลอง และวิจัยเกี่ยวกับวนเกษตรเองหรือร่วมมือกับสถาบันอื่นๆด้วย ดังนั้นงานเกี่ยวกับวนเกษตรของ CATER จึงกว้างในระดับนานาชาติด้วยเช่นกัน             UNU(The University of the United Nations)  เป็นความคิดของอูทั่น(U Thant)ในสมัยที่เป็นเลขาธิการสหประชาติ แต่ไม่ได้รับการสนับสนุนเพราะขาดเหตุผลบางประการ ต่อมาประเทศญี่ปุ่นให้การสนับสนุน 100 ล้าน USS เพื่อการตั้ง UNU ที่กรุงโตเกียวประเทศญี่ปุ่นในปี  พ.ศ.2518  และต่อมาในปี พ.ศ. 2522  เพิ่มทุนให้เป็น 150 ล้าน USS ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับ ความอดยากของประชากรโลก การพัฒนาชนบท การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และในเรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาตินั้น  แบ่งเป็นโครงการย่อยๆอีก  เช่น  นิเวศวิทยาพื้นฐานในการพัฒนาเขตร้อนชื้น นิเวศวิทยาพื้นฐานในการพัฒนาชนบทเขตโซนที่แห้งแล้ง  แหล่งเชื้อเพลิง  ระบบวนเกษตร  ความเกี่ยวพันระหว่างที่ริมทะเลและป่าพรุ UNU ไม่ใช่สถาบันที่สอนหรืออบรมนักวิชาการ  แต่เป็นที่สนับสนุนให้ทุนการศึกษาการประชุม การให้ข่าวสาร  อันเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์และการพัฒนาสังคมชนบท


ข้อดีของวนเกษตรยางพารา เชื่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 30.00 0.00 0.00 0.00 2,030.00
22 กันยายน 2557 เวลา 07:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 8 มกราคม 2558 10:51:18
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 15:18:01 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจแปลงเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อหาแปลงเกษตรกรที่สนใจหรือเกษตรกรที่มีแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกยางพาราเชิงเดี่ยวมาเป็นระบบการปลูกแบบวนเกษตรยาง

กิจกรรมตามแผน

ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

พูดคุยเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 1 รายที่ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา นาย เขียน แก้วอ่อน (หมอเขียน) มี 2 แปลงใกล้กัน
แปลงที่ 1 พื้นที่ปลูก 3 ไร่ พืชที่ปลูก ยางพารา พืชร่วมยาง ได้แก่ สละ ผักเหรียง กฤษณา เทพทาโร แปลงที่ 2 พื้นที่ปลูก 3 ไร่ พืชที่ปลูก ยางพารา พืชร่วมยางได้แก่ ทุเรียน ลองกอง ผักเหมียง สิเหรง กะพ้อ กล้วย ผักกูด ไผ่ ชิง มะพร้าว กะทือ ผักหวาน สะเดาเทียม มะกอกซาอุ ก้านตง มังคุด เงาะ สะละ พืชสมุนไพร(มากกว่า 30 ชนิด)

ผลตามแผน

เจอเกษตรกรตามเป้าหมาย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรสนใจเข้าร่วมโครงการ 1 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่ได้ตัดสินใจเลือกเกษตรกร

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,740.00 0.00 250.00 0.00 0.00 0.00 2,990.00
19 กันยายน 2557 เวลา 07:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 8 มกราคม 2558 10:42:00
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 15:17:46 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจแปลงเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อหาแปลงเกษตรกรที่สนใจหรือเกษตรกรที่มีแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกยางพาราเชิงเดี่ยวมาเป็นระบบการปลูกแบบวนเกษตรยาง

กิจกรรมตามแผน

ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

พูดคุยเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2 รายที่ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาคือ 1.นาย อาทร สุขตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
พื้นที่ปลูก 10 ไร่ พืชที่ปลูก ยางพารา พืชร่วมยาง ได้แก่ สละ พะยอม ตะเคียน หลุมพอ ตำเสา สะเดาเทียม สิเหลง ขนุน จำปาดะ จำปูหลิง ไผ่ สับปะรด ผักกูด ผักหวานป่า มันปู ทัง ลองกอง ฯลฯ 2.ครูพงศ์ (สวนตูล อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา) พื้นที่ปลูก 1 ไร่(ส่วนมากเป็นพืชผักสวนครัว)เน้นปลูกในล้อยางรถยนต์ ผักคอนโด เป็นพื้นที่ลุ่มน้ำท่วมถึง พืชที่ปลูก พริก เสาวรส ฟักข้าว(ขี้พร้าไฟ) ยี่หร่า กระเพรา โหรพา ตะใตร่ ปูเล่ คะน้า กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม ผักกูด ผักหวาน (พืชสวนครัวเกือบทุกชนิด) พืชยืนต้น มะนาว จะปลูกในล้อยางตั้งบนโฟมหนาๆช่วงน้ำท่วมจะลอยตามน้ำขึ้นมาและจะปลูกมะนาวในบ่อปลา ขนุน มะนาวโห่ ฯลฯ

ผลตามแผน

เจอเกษตรกรตามเป้าหมาย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2 ราย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เจอเกษตรกร 2 รายยังไม่ได้ตัดสินใจเลือกเกษรกร

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,740.00 0.00 300.00 0.00 0.00 0.00 3,040.00
17 กันยายน 2557 เวลา 07:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 8 มกราคม 2558 10:20:28
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 22 สิงหาคม 2558 14:45:54 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจแปลงเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 2

วัตถุประสงค์

เพื่อหาแปลงเกษตรกรที่สนใจหรือเกษตรกรที่มีแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกยางพาราเชิงเดี่ยวมาเป็นระบบการปลูกแบบวนเกษตรยาง

กิจกรรมตามแผน

ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

พูดคุยเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 1 รายที่ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลาคือ 1.นาย นพงศ์ แสงระวี 26 หมู่ 3 ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พื้นที่ปลูก 3 งาน พืชที่ปลูก (ส่วนมากเป็นพืชผัก) พืชยืนต้นได้แก่ มะพร้าว ขนุน สะตอ ทุเรียนเทศ น้อยหน่า มะนาว ชะอม ไผ่กิซุง มะขามป้อมอินเดีย มะขามเปรี้ยว(กินยอด) มะนาวโห่ ม่อนเบอร์รี ผักเหลียง พืชผักได้แก่ ขี้พร้า มะละกอ ละไม คื่นฉ่าย ผักชี ถั่วฝักยาว แตงกวา ผักโขม มะเขือ พริก คะน้า ข่า ถั่วพู มะเขือพวงฯลฯ

ผลตามแผน

เจอเกษตรกรที่มีแนวคิดที่จะปลูกพืชหลายชนิดร่วมกันแต่ไม่เจอเกษตรกรที่ปลูกยางพาราแบบวนเกษตรยาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรสนใจเข้าร่วม 1 รายแต่ไม่ใช่วนเกษตรยาง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

โซนคาบสมุทรสทิงพระไม่มีเกษตรกรที่ปลูกยางพาราหรือมีแต่น้อยราย ไม่เจอเกษตรกรที่ปลูกพืชร่วมยางพารา ยังไม่ตัดสินใจเลือกเกษตรกร

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,740.00 0.00 500.00 0.00 0.00 0.00 3,240.00
11 กันยายน 2557 เวลา 07:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 7 มกราคม 2558 14:59:43
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 10 กันยายน 2558 10:32:13 น.

ชื่อกิจกรรม : สำรวจเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อหาแปลงเกษตรกรที่สนใจหรือเกษตรที่มีแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกยางพาราเชิงเดี่ยวมาเป็นการปลูกยางพาราแบบวนเกษตรยาง

กิจกรรมตามแผน

ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

พูดคุยเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2 รายที่ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาคือ 1.นายหนาด แดงคง บ้านเลขที่ 318/6 ม.6 ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พื้นที่ปลูก 25 ไร่
พืชที่ปลูก ยางพารา พืชร่วมยางคือ จำปาดะ ประมาณ 100 ต้น ลองกอง 100-150 ต้น ละไม 50-100 ต้น สะตอ 20 ต้น มะพร้าว 12 ต้น กล้วยประมาณ 10 กอ ทุเรียนพันธุ์ 30-50ต้น
ทุเรียนบ้าน 20 – 30 ต้น เหลียง 11 ต้น จำปูหลิ้ง 2 ต้น มะไฟ 5-10 ต้น มังคุด 20 ต้น มะม่วงเบา 10 ต้น เงาะ 10-20 ต้น ไม้ป่าอีกหลายต้นเช่น หลุมพอ ไขเขียว จิกนม ชด ชมพู่สาแหรก ฯลฯ

2.นายหลี หลีสกุล ม.7 ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พื้นที่ปลูก 5 ไร่ พืชที่ปลูก
เงาะ 100 ต้น มังคุด 30 ต้น ทุเรียน 40 ต้น กล้วย 10 กอ มะนาว 10 ต้น สะตอ 5 ต้น ลองกอง 20 ต้น จำปาดะ 5 ต้น บ่อเลี้ยงปลา(ปลานิล/ปลาตะเพียน/ปลาสวาย) ขนาด 50 ตารางเมตร 1 บ่อ

ผลตามแผน

เจอพูดคุยเกษตรกรตามเป้าหมาย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

พูดคุยเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการจำนวน 2 ราย ที่ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลาคือ นายหนาด แดงคง นายหลี หลีสกุล

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่ตัดสินใจเลือกแปลงเกษตรกร

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,240.00 0.00 500.00 0.00 0.00 0.00 2,740.00