การพัฒนาปรับเปลี่ยนแนวคิดจากสวนยางให้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้นและเกื้อกูลกันจากสวนยางไปเป็นวนเกษตร

แผนงานความมั่นคงด้านอาหาร

by dezine @September,29 2014 11.26 ( IP : 202...129 )
รายละเอียดโครงการ
ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาปรับเปลี่ยนแนวคิดจากสวนยางให้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้นและเกื้อกูลกันจากสวนยางไปเป็นวนเกษตร
ชุดโครงการ แผนงานความมั่นคงด้านอาหาร
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ดร.ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2557 - 31 ตุลาคม 2558
งบประมาณ 300,000.00 บาท
พี่เลี้ยงติดตามสนับสนุนโครงการ
  • wannawanna(Trainer)
  • dezinedezine(Trainer)
  • nattapolnattapol(Owner)
  • hamidahamida(Owner)
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ

 

กิจกรรมสำคัญ

 

กลุ่มเป้าหมาย

 

พื้นที่ดำเนินการ
สถานภาพโครงการ ดำเนินการเสร็จสิ้น

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
27 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:20:50
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:29:02 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดพิมพ์คู่มือ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 125,000.00 0.00 0.00 0.00 125,000.00
30 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:38:16
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:38:36 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม จัดเก็บข้อมูล เพื่อผลิตเอกสารวนเกษตรยางพารา

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
21 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 26 ตุลาคม 2558 14:36:48
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 13:56:21 น.

ชื่อกิจกรรม : จัดทำคู่มือรายงานการศึกษาเปรียบเทียบมิติความยั่งยืนเชิงบูรณาการระหว่าง

  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เป็นเอกสารประชาสัมพันธ์ให้แแก่ผู้ที่สนใจ

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 2,572.00 0.00 0.00 0.00 12,572.00
15 กันยายน 2558 เวลา 13:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 1 ตุลาคม 2558 09:30:47
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 10:05:39 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมให้ข้อเสนอแนะและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายการทำสวนยางแบบวนเกษตร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมเสนอเชิงนโยบายเรื่องการทำสวนยางแบบวนเกษตร

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ข้อเสนอที่ประชุม 1.สกย.ยังขาดความเชื่อมั่นในเรื่องรายได้ของเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนมาทำสวนยางแบบวนเกษตรเพราะต้องปรับลดการปลูกยางในขณะที่ไม้ยืนต้นที่ปลูกในแปลงยางจะมีรายได้เท่าไหร่ 2.หากต้องส่งเสริมการปลูกไม้ร่วมชนิดอื่น อาจต้องสนับสนุนกล้าไม้ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกร 3.การส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยางอาจต้องดูขนาดแปลงยาง ซึ่งสามารถส่งเสริมในแปลงขนาดเล็กที่ครอบครองโดยชาวบ้านไม่ใช่นายทุน 4.ควรต้องจัดประชุมทำความเข้าใจกับบุคลากรของ สกยใเพื่อให้บุคคลากรได้ไปขยายผลต่อกัเกษตรกร 5. ควรต้องปรับแนวคิดเกษตรให้เห็นความสำคัญของการลดต้นทุนการผลิตโดยหันมาปลูกพืชร่วมยาง และปรับให้มีรูปแบบกิจกรรมอื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ตลาดสินค้าอาหารพืชเกษตร 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ เกษตรอำเภอ พัฒนาชุมชน มีนโยบายส่งเสริมเงินทุนหมุนเวียนให้กับเกษตรกร เพื่อพัฒนารูปแบบยางพารา ส่งเสริมการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง 7. รูปแบบการสงเคราะห์ควรต้องมีความแตกต่างกันระหว่างการการทำสวนยางเชิงพานิชย์ และการปลูกพืชร่วมยาง ซึ่งควรสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยางซึ่งควรสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยางให้มากขึ้น 8. ขนาดแถวยาง 3X9 เมตร จะได้ยางพารากี่ต้น 9. ปี 58 รัฐตั้งเป้าหมายการปลูกยางพารา 400,000 ไร่ โดยส่งเสริมการปลูกปาล์มร่วมยาง เกษตรผสมผสาน ยางพาราเชิงเดียว 10. ต้องผลักดันการทำการเกษตรกรรมยั่งยืนให้เป็นวาระแห่งชาติ 11. การปรับลดเงินสงเคราะห์ ต้องเสนอในบอร์ดการยางแห่งประเทศไทย 12. ต้องมีการจัดทำสมัชชาสุขภาพ เรื่อง การทำสวนยางแบบวนเกษตร เพื่อให้ข้อเสนอไปสูคณะรัฐมนตรี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
5,400.00 0.00 5,968.00 0.00 0.00 0.00 11,368.00
6 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:49:14
Project owner
แก้ไขโดย nattapol เมื่อ 10 กันยายน 2558 15:49:31 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 2

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมหรือนำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราหรือพืชที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:41:57
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 11 พฤศจิกายน 2558 14:30:38 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมากทั้งชาวไทยและต่างชาติ

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมหรือนำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราหรือพืชที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 10 กันยายน 2558 15:36:50
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 09:54:43 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

นำพืชผักหรือพืชที่สามารถปลูกได้ในสวนยางพาราที่สามารถนำมาบริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้มาแสดง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการโดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่1 บอนหวาน 2 เปราะ 3 หมุยหอม 4 จิกเขา 5 จิกนา 6 ผักโขม 7 หม้าวโปโล 8 มะม่วงหิมพานต์ 9 บัวบก 10 ตำลึง 11 กระชาย 12 ทุเรียนเทศ 13 ละไม 14 กล้วยเล็บมือนาง 15 กล้วยไข่ 16 กล้วยหิน 17 ปลีกล้วยน้ำว้า 18 กล้วยน้ำว้า 19 พริกขี้นก 20 ยอดมันหลา 21 ยอดมะกอก 22 ชะพลู 23 ชะมวง 24 หมุ๋ย 25 ผักกรูด 26 ผักหวานบ้าน 27 ยอดเลียบ 28 ผักกาดนกเขา 29 แมงลัก 30 มะอึก 31 ชะอม 32 โหรพา 33 ส้มจี๊ด 34 มะเขือพวง 35 ผักเหลียง 36 ลูกหยี 37 เหลียง 38 มะขามเปรี้ยว 39 ยอดมะขาม 40 มะระขี้นก 41 มะกรูด 42 มะม่วงเบา 43 มันขี้หนู 44 เห็ดแครง 45 สับปะรด 46 ขมิ้น 47 เนียง 48 สะตอ 49 กระถิน 50 จำปาดะ 51 ยอดกระถิน 52 ตะใคร้ 53 มะนาว 54 ปลัง 55 ฉิ้ง 56 ยอบ้าน 57 ดีปลีเชือก 58 ขนุน 59 หยวกกล้วย 60 ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
6,000.00 0.00 1,845.00 0.00 0.00 0.00 7,845.00
25 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:18:18
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:18:25 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม เก็บข้อมูลเพื่อทำเป็นรายงาน ตำรับอาหารพื้นบ้านจากป่ายางแบบประยุกต์

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
11 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:12:24
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 08:12:42 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวบเอกสาร ข้อมูลเพื่อจัดทำคู่มือ ทำเนียบพืชกินได้ในสวนยาง

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
1 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:51:34
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 10:10:19 น.

ชื่อกิจกรรม : ร่วมจัดนิทรรศการตลาดนัดเกษตรกรที่ห้งโอเดี่ยนเฟชั่นมอล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมตามแผน

รวบรวมพืชผักที่สามารถปลูกร่วมกับสวนยางพารา และสามารถใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมจัดนิทรรศการงานอาหารของแม่ที่ตลาดนัดโอเดี่ยนแฟชั่นมอลล์ โดยนำพืชผักที่ปลูกร่วมกับยางพาราและใช้เป็นอาหารในชีวิตประจำวันมาแสดงในงาน และให้ความรู้แก่ผู้ร่วมชมงาน โดยพืชผักที่นำมาแสดง ได้แก่ มะอึก มะมุด หมุย ทุเรียนเทศ บอนส้้ม มันปู ผักกูด ปลงน้ำ ยอดกระถินไทย บัวบก ชะอม ผักเหลียง มะเขือพวง กระชาย กล้วยป่า อ้อดิบ มะเหม้า เทียม หมุยหอม ข้เหล็ก จิกนา ส้มจี๊ด ทำมัง ชะพลู มะกอกป่า มะม่วงหิมพานต์ ยอดมะยม เหลียง ผักหวน กะทกรก ผักกาดนกเขา ชะมวง เนียง กล้วยเล็บมือนาง กล้วยไข่ พริกไทย ปลีกล้วยน้ำว้า มะม่วงเบา มะกรูด ยอดมะขามแก้ว ดอกแคร์ เห็ดแครง

ผลตามแผน

บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับความสนใจจากผู้ชมงานเป็นจำนวนมากทั้งชาวไทยและต่างชาติ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 1,440.00 1,500.00 0.00 0.00 0.00 4,940.00
27 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 15:57:37
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:23:31 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนบนครอบคลุม อ.รัตภูมิ อ.ควนเนียง อ.บางกล่ำเป็นพื้นที่เกษตรพืชผัก)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนบนครอบคลุม อ.รัตภูมิ อ.ควนเนียง อ.บางกล่ำเป็นพื้นที่เกษตรพืชผัก)

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อภินันท์ หมัดหลี  ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อภินันท์ หมัดหลี  ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 59 ชนิด สละอินโด มะละกอ ลังแข จำปุลิง ละไม ส้มแขก ส้มมวง ส้มควาย ส้มป่อย มะปริง ตะลิงปริง มะปรางค์มะยงชิด ละมุดสีดา สำรอง มะงกกาบี มังคุด นุ่น ยอ กระท้อน เงาะ มะพร้าว ตะไคร้ต้น พร้าวนกคุ้ม ไม้หอม จำปาดะ ชมพู่ ม่าเหมี่ยว ชมพู่นมแมว ทุเรียนบ้าน มะม่วงหิมพานต์ ระกำ สละเนินวง หวาย มะม่วงเขามะม่วงคัน มะม่วงนาทับ มะม่วงพวมพร้าว ส้มจี๊ด มะม่วงหาวมะนาวโห่ มะสัง มะกอกบ้าน มะกอกป่า ไม้ขาวดำ ส้มโอมือ ส้มกุ้ง บอนส้ม ทำมัง พร้าวเล กระท้อนรอก มะขามป้อม มะขาม พุทราบ้าน กระโดน ต้นหว้า มังคุดป่า ขนุนปาน เดือยปล้อง เนียงนก ชมพู่น้ำ

ไม้ใช้สอยมี 52 ชนิด จำปี ตำเสา มะม่วงเขา ข่าป่า ตองเศรษฐี หลุมพอ ทองบึ้ง นาคบุด เทพธาโร ทัง สะเดาเที่ยม พะยูง ยางนา พะยอม ตะเคียนทอง กฤษณา ไผ่เสือ ต้นนน หวาย ตง หนาม ลวก ไผ่ป่า ส้มเคียน ส้มเค้าโท๊ะ เมียงอาม หลาวชะโอน พร้าญวน มะเดื่อชุมพร ดิบ ค้างคาวดำ ลิเภา หวายกำพวน หวายกินหน่อ หวายลิง ก้างปลา เชียด กระพ้อ เกตุ กระโดน สำเรง ไผ่มัน ไผ่ลายเสือ เตยหนาม มะเดื่อดัน เตยแซง อ้อยแดง อ้อยดำ หมากพลูตุ๊กแตนข้าวนางกี่ คราม               สมุนไพร 51 ชนิด พญาคชสาร เตยหอม เสลดพังพอน นมควาย บอระเพชร  หูกระจง ไฟเดือนห้า ฟ้าทะลายโจร ปลาไหลเผือกขิงดอกเดียว ไม้ค้อนตีหมา ทุ่งฟ้า สาวสะดุ้ง หนุมานผสานกาย ฝนแสนห่า หัวอ้ายเหล็ก สาสวน้อยร้อยผัวเพชรสังฆาต กระวาน(หน่อหวาน) กำจัด สีเสียด การบูร (กานพลู) หนุมานนั่งแท่น หนวดปลาหมึกพญาไร้ใบ น้ำข้าว จอกทอก พรุ้งพริ้งแก้ผ้า พรุ้งพริ้งนุ่งผ้า สาคูวิลาศ ขี้เหล็ก รางจืด ชุมเห็ดเทศ หัวไพล ขี้ใต้ ขี้เหล็กจืด มะอึก พังกับ พญาว่าน หูปลาช่อน ว่านชักมดลูก กลอยเจ้า กลอยเหนียว ส้มเขียด ท้าวใยหม่อมไพรดำเฉียงพร้า หนาด หนอนตายยาก ทาวเครือ สบู่เลือด กำชำ พลา ยับเยี่ยว ราตรี ปลายสาร ยายกลั้ง สัตว์ 45 ชนิด ไก่ป่า นกขมิ้น นกพังกะ กระเต็นอกขาว ต่อ ผึ้ง เขียดวาก นกหัวขวาน นกเสี้ยว กระรอก ตะกวด กระแตนางอาย ชะมด งูเห่า งูเหลือม นกเขาชวา นกเขาใหญ่ นกเขาไฟ บินหลาขี้ควาย กา งูกะปะสามเหลี่ยม งูเขียวหางไหม้ งูหลาม งูกะปะไฟ นกกระจับ นกกินปลี นกกุลา กิ่งโครง นกบั้งรอก นกขมิ้นช้าง นกกรงดิน นกขุ้ม นกกวัก นกชัน นกกระยาง หอยโข่ง พังพอน ลิ่น กบเขา กง ตุ๊กแก จักจั่น แมลงพลับ นกกางเขนบ้าน
พืชผัก 60ชนิด พริกไทย มันปูดาหลา ข่า ข่าลิง เหลียง มะเขือพวง เหมียง หมุย แซะ จิกน้ำ หมาก กระโดน ตกเบ็ด ตาหมัดบุก หมากหมก เห็ดโคลน เห็ดแครง กระทกรก ย่านาง สาคู เต่าร้าง ผักกุดแดง สันตะวาใบพาย ตีนตุ๊กแกผักน้ำ อุตพิษ โด่ไม่รู้ล้ม ขอน ผักหวานบ้าน บัวบก บังบาย ผักโขม ผักเสี้ยน ติ้ว มันสำปะหลัง มันเทศ ส้มซ่าเนียง ชุมเรียง เถาวัลย์เปลือย กระทือ ตะลิงปริงเหลือง สายหยุด ตีนเป็ด สาวสันทราย ข่านาง ผักหนามพระยาไร้ใบ ตาเป็ดตาไก่ พิลังกาสา เพกา ต้นแคร์ ต้นแคร์ขาว แคร์หางค้าง ตำเสา ผักเบี้ย ผักกูด ผักกาดนกเขา ผักคลาดหัวแหวน ผักชีลาว คลุ้ม คล้า

ไม้ประดับ 13 ชนิด

เข็ม หมากแดง เต่าร้าง หลีสีดา กระเช้าสีดา บุหงาส่าหลี บุหงานารา หางกระรอก จั้งเล็บกระรอก ต้นแก้ว ปอหู เอื้องช้าง                             กล้วย 26 ชนิด กล้วยเงิน กล้วยทอง กล้วยกลาย กล้วยเขาพนม กล้วยช้าง กล้วยน้ำหว้า กล้วยเล็บมือนาง กล้วยหอมเขียวกล้วยหอมขาว กล้วยหอมเตีย กล้วยหอมทอง กล้วยนาค กล้วยส้ม กล้วยน้ำหว้าลูกเตี้ย กล้วยน้ำหว้าลูกขาวกล้วยน้ำหว้าลูกเขียว กล้วยไข่ กล้วยนมสาวกล้วยแซ่ม้า กล้วยเดือน กล้วยทำเสา กล้วยหิน กล้วยโทน กล้วยหมาก กล้วยนางพญา กล้วยตานี กล้วยไข่พระร่วง

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
1,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 3,500.00
25 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:36:23
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:29:08 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนเมือง ครอบคลุมอำเภอหาดใหญ่ อ.เมือง เป็นพื้นที่เน้นการทำงานด้วยวิถีเมือง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนเมือง ครอบคลุมอำเภอหาดใหญ่ อ.เมือง เป็นพื้นที่เน้นการทำงานด้วยวิถีเมือง

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อาทร สุขสว่างผล ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 10 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย อาทร สุขสว่างผล ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 10 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 8 ชนิด จำปาดะ ขนุน จำปุลิง ลองกอง มะพร้าวนกคุ้ม ยาง พะยอม ตะเคียน

สมุนไพร 5 ชนิด

หลุมพอ ตำเสา เทียม กระทือ ทัง สัตว์ 2 ชนิด ผึ้ง ไก่พื้นเมือง พืชผัก 5 ชนิด มันปู สับปะรด ผักกูด ผักหวานป่า ผักเหมียง ไม้ประดับ 1 ชนิด สิเหรง

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,500.00
21 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:45:12
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:27:06 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนล่างครอบคลุม อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะเดา อ.นาหม่อม อ.คลองหอยโข่ง อ.สะบ้าย้อย เป็นพื้นที่ทำสวนยาง)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนล่างครอบคลุม อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะเดา อ.นาหม่อม อ.คลองหอยโข่ง อ.สะบ้าย้อย เป็นพื้นที่ทำสวนยาง)

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย เคี่ยน แก้วอ่อน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 3 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย เคี่ยน แก้วอ่อน ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา พื้นที่ 3 ไร่ พืชที่พบในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกับยางพาราดังนี้ ไม้ยืนต้น 10 ชนิด ยาง สละ กฤษณา ทุเรียน ลองกอง เงาะ กล้วย มะพร้าว มังคุด มะละกอซาอุ

ไม้ใช้สอยมี 3 ชนิด สิเหรง กะพ้อ ไผ่ สมุนไพร6 ชนิด เทพธาโร ผักเหลียง ขิง กระทือ เทียม ก้านตง พืชผัก 2 ชนิด ผักกูด ผักหวาน

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,000.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,000.00
14 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 21 สิงหาคม 2558 16:22:50
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 3 ธันวาคม 2558 11:31:23 น.

ชื่อกิจกรรม : เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนคาบสมุทรสะทิงพระและพื้นที่ชายฝั่งทะเลครอบคลุม อ.สิงหนคร อ.สะทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ อ.ระโนด เป็นพื้นที่ที่เน้นการดำเนินการบูรณาการอาหารด้วยวิถีโหนดนาเล เป็นพื้นที่ทำนา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เลือกแปลงเกตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน (โซนคาบสมุทรสะทิงพระและพื้นที่ชายฝั่งทะเลครอบคลุม อ.สิงหนคร อ.สะทิงพระ อ.กระแสสินธุ์ อ.ระโนด เป็นพื้นที่ที่เน้นการดำเนินการบูรณาการอาหารด้วยวิถีโหนดนาเล เป็นพื้นที่ทำนา

กิจกรรมตามแผน

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย ณพงศ์ แสงระวี  ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกันดังนี้ พื้นที่ปลูก 3 งาน

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เลือกแปลงเกษตรกรชื่อ นาย ณพงศ์ แสงระวี  ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พืชที่เจอในแปลงเกษตรกรหรือพืชที่ปลูกร่วมกันดังนี้ พื้นที่ปลูก 3 งาน ไม้ยืนต้น 10 ชนิด น้อยหน่า ม่าเหมี่ยว กระท้อน ชมพู่น้ำ มังคุด มะขามป้อมอินเดีย มะกอก มะม่วงเบา ตะขบ ขนุน
ไม้ใช้สอยมี 4 ชนิด ไผ่กิ้มซุง ไผ่ฃ กล้วย 5 ชนิด กล้วยหอมเขียว กล้วยหอมทอง กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ กล้วยป่า พืชผัก 40 ชนิด มะกรูด ผักโขม มะม่วงกลมสีม่วง ทุเรียนเทศ พริกไทย คะน้า มะเขือ สะตอ ผักกูด ข่า ผักกาดหอม ผักกาดขาว กวางตุ้ง เสาวรส มะนาว กระเพรา ข่า ชะอม ผักเหลียง มะขาม(กินยอด) อ้อย มะนาวโห่ มะเขือพวง หม่อนเบอรรี่ เนียง ต้นหอม ตะไคร้ มันปู พริกชี้ฟ้า ตำลึง บวบ มะเขือยาว ขี้พร้าไฟ ผักชี อ้อดิบ บัวบกอัญชัน ผักหวานป่า ผักบุ้ง มะเขือเทศ

พืชสมุนไพร 34 ชนิด

มะระขี้นก มะระ ฉิ้ง พลู บวบงู ชะมวง มะม่วงหิมพานต์ บวบเหลี่ยม ขจร ส้มจี๊ด สะเดาเทียม พุทรา ปูเล่ พาโหม ผักบุ้งจีน ดอกแคร์ ฟักทอง ผักชีล้อม เล็บครุฑ มะพร้าว ฟักเขียว มะละกอ ละไม เหลียง ผักชีล้อมขึ้นฉ่าย ถั่วฝักยาว ขมิ้น แตงกวา สะตอ สาระแหน่ ยี่หร่า ชะพลู ขี้เหล็ก

ผลตามแผน

จดบันทึกชนิดพืชและสัตว์ที่มีอยู่และพบในแปลงเกษตรกร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ทราบชนิดพืชและสัตว์ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,500.00 0.00 2,000.00 0.00 0.00 0.00 4,500.00
10 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยdezinedezineเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:26:11
Project creater , Project trainer
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558 09:26:27 น.

ชื่อกิจกรรม : รวบรวม จัดเก็บข้อมูลเพื่อผลิตเป็นเอกสารตำรับอาหารพื้นบ้านในสวนยางแบบดั้งเดิม

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

-

กิจกรรมตามแผน

-

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

-

ผลตามแผน

-

ผลที่เกิดขึ้นจริง

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
10,000.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 10,000.00
29 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:57:37
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:37:28 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

เป็นวิทยากรพิเศษอบรมครูยางของจังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–แนะนำเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของกิจกรรมการเกษตรกรสวนยางปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต -ผู้เข้ากิจกรรม 500 คน
-บรรยาย / ให้แสดงความคิดเห็น / มีตัวอย่างภาพประกอบ - ตอบปัญหา / คำถาม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–แนะนำเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของกิจกรรมการเกษตรกรสวนยางปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต -ผู้เข้ากิจกรรม 500 คน
-บรรยาย / ให้แสดงความคิดเห็น / มีตัวอย่างภาพประกอบ - ตอบปัญหา / คำถาม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
8 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:53:58
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2558 09:34:22 น.

ชื่อกิจกรรม : ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ร่วมประชุมจัดตั้งกลุ่มชาวบ้านทำวนเกษตรยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–ให้เกษตรกรที่เข้าร่วมเขียนแผนที่ตำแหน่งที่ดินที่ถือคลอง จำนวนพื้นที่ พืชพรรณที่ขึ้นอยู่จริงปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต
-ผู้เข้ากิจกรรม 18 คน รายที่เข้าร่วมไม่ได้เพราะติดงานประชุมร่วมที่อื่น -เปิดอภิปรายปัญหาและแนวทางคิดจะแก้ไข -ให้เสนอชื่อกลุ่ม สมาชิกให้ชื่อกลุ่มรวม 6 ชื่อ แต่เห็นชอบร่วมกันเลือกเอาชื่อ”กลุ่มวนเกษตรปลูกพืชร่วมยางรักษ์ท่าข้าม”

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–ให้เกษตรกรที่เข้าร่วมเขียนแผนที่ตำแหน่งที่ดินที่ถือคลอง จำนวนพื้นที่ พืชพรรณที่ขึ้นอยู่จริงปัจจุบัน และที่ต้องการนำเข้ามาปลูกร่วมหรือปลูกแซมในอนาคต
-ผู้เข้ากิจกรรม 18 คน รายที่เข้าร่วมไม่ได้เพราะติดงานประชุมร่วมที่อื่น -เปิดอภิปรายปัญหาและแนวทางคิดจะแก้ไข -ให้เสนอชื่อกลุ่ม สมาชิกให้ชื่อกลุ่มรวม 6 ชื่อ แต่เห็นชอบร่วมกันเลือกเอาชื่อ”กลุ่มวนเกษตรปลูกพืชร่วมยางรักษ์ท่าข้าม”

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
29 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:48:46
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:36:35 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ตามคำเชิญ สกย. ปัตตานีให้เป็นวิทยากรหลักสูตร“ดูแลบำรุงรักษาสวนยางและการทำวนเกษตรในสวนยางพาราเพื่อสู้วิกฤติราคายาง”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 990.00 0.00 0.00 0.00 3,390.00
28 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:46:34
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:35:59 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

ตามคำเชิญ สกย. ปัตตานีให้เป็นวิทยากรหลักสูตร“ดูแลบำรุงรักษาสวนยางและการทำวนเกษตรในสวนยางพาราเพื่อสู้วิกฤติราคายาง”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

–บรรยายให้เกษตรกรปลูกยางแบบ ๕ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหาร สร้างรายได้เสริม และช่วยอนุรักระบบนิเวศ
-ผู้เข้าอบรมวันละ ๕๐๐ คนรวม 2 วัน 1,000 คน -ผู้เข้าอบรมมาจาก ๓ จังหวัดชายแดนใต้ -อบรมให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกใหม่ที่ไม่มียางมาก่อน โดย สกย. ให้เฉพาะพันธุ์ยางและปุย เท่านั้น -ผมแนะนำเกษตรกรให้ทำตามภาระงานของ สจรส. กล่าวคือ เพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพร่วมสวนยางเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันทางอาหารและสิ่งแวดล้อม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 990.00 0.00 0.00 0.00 3,390.00
8 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยnattapolnattapolเมื่อ 13 กรกฎาคม 2558 10:28:20
Project owner
แก้ไขโดย dezine เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2558 09:35:17 น.

ชื่อกิจกรรม : - ผศ.ดร. ปราโมทย์ แก้ววงศ์ศรี หัวหน้าโครงการวนเกษตรยางพารา แผนงานความมั่นคงทางอาหาร เป็นวิทยากร

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อให้บรรลุผลตาม เอกสารหมายเลข 1 ข้อตกลงเลขที่ 57-ข-012 

กิจกรรมตามแผน

เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับ “การทำวนเกษตรยางพาราเพื่อเป็นภูคุ้มกันทางอาหาร”

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แนะนำกลุ่มเกษตรกรทำวิจัยชุมชนเกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา เนื้อหาเสวนาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร? - โครงการวิจัยชุมชนทำอย่างไร? - ความมั่นคงทางอาหารสำคัญอย่างไร - ใครมีความพร้อม/ต้องการความช่วยเหลืออะไรเกี่ยวกับการทำวนเกษตรยางพารา? ผู้เข้าร่วม ประชุม จำนวน 28 คน

ผลตามแผน

ตามเป้าหมายที่วางไว้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

แนะนำกลุ่มเกษตรกรทำวิจัยชุมชนเกี่ยวกับวนเกษตรยางพารา เนื้อหาเสวนาประกอบด้วย - วนเกษตรยางพาราสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร? - โครงการวิจัยชุมชนทำอย่างไร? - ความมั่นคงทางอาหารสำคัญอย่างไร - ใครมีความพร้อม/ต้องการความช่วยเหลืออะไรเกี่ยวกับการทำวนเกษตรยางพารา? ผู้เข้าร่วม ประชุม จำนวน 28 คน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
2,400.00 0.00 200.00 0.00 0.00 0.00 2,600.00
Comment #1
คุณไก่
Posted @June,25 2017 10.52 ip : 171...77

เปิดดูสองคลิปนี้..มีคำตอบ ปลูกต้นไม้ได้อะไรมากกว่าที่คิด https://youtu.be/EaF8r2xyF8s

https://youtu.be/50s-9KFhWVA สนใจกล้าพันธุ์ไม้ติดต่อ คุณไก่กล้าพันธุ์ไม้ รวมทั้งตัวแทนและสาขาทั่วประเทศ
โทร. 0954654546      0946465654 www.takuyak.com ID.Line  :  kai54654546 www.youtube.com ช่อง ชัยชนะ เสือเพ็ง Page: คุณไก่กล้าพันธุ์ไม้ Page: ชมรมเกษตรกรผู้ปลูกพะยูงแห่งประเทศไทย ใบทะเบียนพาณิชย์กิจ เลขที่36501005xxxxx?

แสดงความคิดเห็นสำหรับบุคคลทั่วไป (สำหรับพี่เลี้ยงโครงการ กรุณาส่งรายงานพี่เลี้ยง)

กรุณาป้อน Username / Password ที่ท่านได้ลงทะเบียนไว้กับเว็บไซท์แห่งนี้ หรือ สมัครเป็นสมาชิกของเว็บไซท์
Bold Italic Underline Left Center Right Ordered List Bulleted List Horizontal Rule Page break Hyperlink Text Color :) Quote
คำแนะนำ เว็บไซท์นี้สามารถเขียนข้อความในรูปแบบ มาร์คดาวน์ - Markdown Syntax:
  • วิธีการขึ้นบรรทัดใหม่โดยไม่เว้นช่องว่างระหว่างบรรทัด ให้เคาะเว้นวรรค (Space bar) ที่ท้ายบรรทัดจำนวนหนึ่งครั้ง
  • วิธีการขึ้นย่อหน้าใหม่ซึ่งจะมีการเว้นช่องว่างห่างจากบรรทัดด้านบนเล็กน้อย ให้เคาะ Enter จำนวน 2 ครั้ง