ความมั่นคงทางอาหารกับวิถีสุขภาพ อำเภอจะนะ

แผนงานความมั่นคงด้านอาหาร

by dezine @September,29 2014 10.33 ( IP : 202...129 )

รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 57-ข-008
งวดที่ 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)

ชื่อโครงการ ความมั่นคงทางอาหารกับวิถีสุขภาพ อำเภอจะนะ

กิจกรรมผลงาน
(ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี)
ผลสรุปที่สำคัญประเมินผล คุณภาพกิจกรรม
4321
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 26 ตุลาคม 2557 เวลา 17:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งบ้านสวนกง

มีการวางแผนการดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหาร ดังนี้

  • มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสินค้าอาหารทะเลแปรรูปของชุมชน เพื่อการต่อยอดการเรียนรู้และการจัดการความมั่นคงทางอาหารทะเลจะนะ ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนที่มีรูปธรรมที่ชัดเจนของแต่ละชุมชน โดยได้มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ฯในพื้นที่ 3 หมู่บ้านได้แก่บ้านสวนกง ตำบลนาทับ บ้านปากบางสะกอม และบ้านบ่อโชน ตำบลสะกอม

  • การเรียนรู้การแลกเปลี่ยนในการสร้างความมั่นคงทางอาหารบนบกริมชายฝั่งทะเลจะนะ ที่มีการปลูกพืชไร่เช่นแตงโม มันสำปะหรัง กล้วย มะพร้าว และพืชอื่นๆ

  • การเรียนรู้ภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่อำเภอจะนะและอำเภอเทพาโดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหาเรื่องการเดินทางในการรวมกลุ่มพูดคุยกันของคนในชุมชนที่บางคนไม่สามารถออกนอกพื้นที่ได้เนื่องจากมีภารกิจในครอบครัว


แนวทางแก้ไขคือการประชุมกลุ่มย่อยในแต่ละหมู่บ้านและมีการรายงานความคืบหน้าในการดำเนินของแต่ละพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมความมั่นคงทางอาหารกับการกำหนดผังเมืองพื้นที่

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2557 เวลา 10:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เวทีเรียนรู้เรื่องความมั่นคงอาหาร และการกำหนดผังเมืองร่วมกันของคนในชุมชน

แผนงานนโยบายผังเมืองที่เรากำหนดเอง - ความมั่นคงทางอาหารและศักยภาพของพื้นที่ต้องรักษาไว้

  • กำหนดอนาคตของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

  • รณรงค์พื้นที่อาหาร พื้นที่แหล่งความมั่นคงทางอาหาร

  • สร้างการมีส่วนร่วมกันของชุมชนในการกำหนดแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน

แผนการทำงานข้างหน้า - การทำงานร่วมกับท้องถิ่น เช่นผลักดันและร่วมกันจัดทำข้อบัญญัติท้องถิ่น คุ้มครองพื้นที่อาหาร

  • สร้างพื้นที่ปฏิบัติการเรียนรู้

  • ขับเคลื่อนร่วมกันเป็นเครือข่ายจังหวัด

  • ทำความเข้าใจเรื่องความมั่นคงทางอาหาร การจัดทำผังเมืองกับกระบวนการอีไอเอ

  • การทำข้อมูลเชื่อมร้อยพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารที่มีระบบนิเวศต่างกัน

  • กำหนดโซนเศรษฐกิจความมั่นคงทางการอาหาร

  • ติดตามการจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 3 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • จัดตั้งเครือข่ายสวนป่ายางสมุนไพร
  • วางแผนการดำเนินงานของเครือข่าย
  • ลงดูพื้นที่ที่จะจัดทำเป็นสวนสมุนไพรตัวอย่างของศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติเพื่อชุมชน

จัดตั้งคณะทำงานเครือข่ายสวนป่ายางสมุนไพรและมีการแบ่งหน้าที่ตามศักยภาพของแต่ละองค์กรดังนี้

  • โรงพยาบาลจะนะ ทำหน้าที่เป็นหน่วยกลางในการให้ความรู้เรื่องสมุนไพรและจัดหาตลาดแก่ชุมชน

  • สถานีอนามัยตำบลสะพานไม้แก่น ทำหน้าที่ให้ความรู้และประสานเชื่อมประสานชุมชน

  • ศูนย์เรียนรู้วิถีธรรมชาติเพื่อชุมชน ทำหน้าที่เชื่อมประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสริมสร้างหนุนช่วยชุมชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการ

  • สถาบันการจัดระบบสุขภาพ (มอ.) ทำหน้าที่เชื่อมประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและให้การสนับสนุนงบประมาณในกระบวนการเรียนรู้

แผนการดำเนินงานของเครือข่ายสวนป่ายางสมุนไพร

  • การศึกษาเรียนรู้ดูงานสวนป่ายางสมุนไพร

-ิ เตรียมพื้นที่และวางผังสวนสมุนไพร

  • การสร้างองค์ความรู้เรื่องสมุน และศึกษาเรียนรู้เรื่องการตลาด

  • จัดตั้งองค์กรในการปฏิบัติการของชุมชน โดยเริ่มจากต.สะพานไม้แก่นเป็นพื้นที่ต้นแบบในการทำสวนป่ายางสมุนไพร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เจ้าหน้าสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีลงพื้นที่จะนะ

วันที่ 8 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • พูดคุยแลกเปลี่ยน เสนอความต้องการของชุมชน
  • คนในชุมชนได้เห็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อแปรรูปสัตว์น้ำมากขึ้น ทำให้เกิดความมั่นใจที่จะต่อยอดการแปรรูปสัตว์น้ำของชุมชนมากขึ้น
  • สร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกันมากขึ้น มีการคิดหาแนวทางวิธีการในการดำเนินต่อยอดสินค้าของชุมชนมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ดูงานสวนป่ายางสมุนไพร

วันที่ 18 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ศึกษาเรียนรู้การทำสวนป่ายางสมุนไพร ตามแนวทางเกษตรวิถีพุทธ ที่ไม่ต้องใส่ปุ๋ยแต่มีวิธีการให้ปุ๋ยโดยธรรมชาติ

  • พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน

  • เกิดการเรียนรู้ถึงเทคนิควิธีการทำสวนป่ายางสมุนไพรโดยไม่ต้องใส่ปุ๋ย ก็ทำให้น้ำยางออกในปริมาณที่มาก และสามารถลดต้นทุนลงได้มากขึ้น

  • เกิดการจัดตั้งเครือข่ายสวนป่ายางสมุนไพร หลังจากการเรียนรู้ดูงานในหลายพื้นที่ในอ.จะนะ และอ.เทพา ซึ่งได้มีการประชุมร่วมกันเพื่อปฏิบัติการในพื้นที่และสร้างเครือข่ายต่างอำเภอ เพื่อหาทางออกในวิกฤตที่ยางมีราคาถูก

  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการทำสวนป่ายางสมุนไพร และได้เห็นรูปธรรมที่ชัดเจน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมเครือข่ายความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา

วันที่ 14 มกราคม 2558 เวลา 10:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ประชุมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมทั้งเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานที่ผ่านมาของแต่ละพื้นที่ร่วมกัน

จัดตั้งคณะทำงานเครือข่าย

  • เกิดการจัดตั้งเครือข่ายการดำเนินงานร่วมกันประกอบด้วย เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น กลุ่มทุ่งตำเสารักษ์ถิ่น กลุ่มเนินพิจิตร เครือข่ายประชาชนพัฒนาเมืองเทพา สภาองค์กรชุมชน และเครือข่ายพลเมืองสงขลา โดยในที่ประชุมมีมติมีการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหารควบคู่กับการติดตามเรื่องผังเมืองรวมจังหวัดสงขลา เนื่องจากผังเมืองเป็นส่วนสำคัญที่มีผลกับการเปลี่ยนในพื้นที่และการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหาร

โดยได้มีการวางแผนการดำเนินการเครือข่ายดังนี้

  • การจัดทำข้อมูลศักยภาพของพื้นที่โดยเฉพาะเรื่องความมั่นคงทางอาหารของแต่ละโซนพื้นที่

  • การติดตามการจัดทำผังเมืองอย่างต่อเนื่อง

  • การประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

  • นำข้อมูลศักยภาพในแต่ละพื้นที่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

หน่วยที่เกี่ยวข้องงานลงพื้นที่สำรวจ อ.จะนะ

วันที่ 21 มกราคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • ลงพื้นที่สำรวจความต้องการและพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน
  • เกิดการประชุมพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกัน โดยชุมชนได้นำเสนอศักยภาพของชุมชน รวมทั้งความต้องการของชุมชนที่จะมีการต่อยอดในการแปรรูปสัตว์น้ำ

เจ้าหน้าที่ หน่วยงานที่มีองค์ความรู้ได้พูดคุยแนะนำ และนำเสนอองค์ความรู้ที่ชุมชนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชุมชนได้ รวมทั้งการวางแผนในการเรียนรู้และหนุนเสริมชุมชนต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ศึกษาดูงานอาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงราย

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เรียนรู้วิถีธรรมชาติบำบัด

วันที่ 2 มีนาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • เวทีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเติมความรู้และหลักการทางธรรมชาติบำบัด โดยมีกรณีศึกษาเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคนิ่วในกรวยไต โรคริดสีดวงทวาร โรคอ้วน และอาการปวดท้องเมื่อมีปรำจำเดือน

-เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันเป็นกลุ่ม

-เกิดกระบวนการติดตามและเฝ้าร่วมกันของกลุ่ม

-เกิดการเรียนรู้และทบทวนหลักการการรักษาโรคด้วยวิถีทางธรรมชาติบำบัดมากขึ้น นำไปสู่การปฏิบัติตนและเคร่งครัดในการปฏิบัติมากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-เวลาในการจัดกระบวนการน้อยเนื่องจากวิทยากรมีภารกิจ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมคณะทำงานสวนป่ายางสมุนไพร

วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-เกิดกระบวนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ปัญหาในการทำสวนป่ายางสมุนไพรร่วมกัน

-เกิดการสืบค้นประวัติบ้านสะพานไม้แก่นเพื่อค้นหาศักยภาพของชุมชน

-เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และปัญหาที่เกิดขึ้น และได้มีการร่วมกันเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน

-เกิดกระบวนการคิดค้นหาประวัติศาสตร์บ้านสะพานไม้แก่นเพื่อการเรียนรู้ของคนในชุมชนและเด็กรุ่นหลังเพื่อยกระดับความรู้ ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เวทีเรียนรู้เทคนิคการจัดทำข้อมูลชุมชน

วันที่ 18 มีนาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-เรียนรู้แลกเปลี่ยนการจัดทำข้อมูลชุมชนจากประสบการณ์การทำข้อมูลของคนในชุมชน -เรียนรู้ความเป็นมาของชุมชน เรียนรู้จุดเด่นจุดแข็งทีมีอยู่ในชุมชนที่สามารถนำมาใช้ในการพัฒนาพื้นที่ชุมชนตอไปได้ -เรียนรู้ทบทวนศักยภาพของชุมชนทีสามารถนำมาต่อยอดสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนบนฐานทรัพยากรและสิงแวดล้อม

-ชุมชนมีเครืองมือในการจัดทำข้อมูลของชุมชนจากการแลกเปลี่ยนและเรียนรู้การจัดทำข้อมูลของชุมชนอื่นและนำมาปรับใช้ในชุมชนของตนเอง -คนในชุมชนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าความเป็นมาของชุมชนมากขึ้น เกิดกระบวนการคิดวางแผนให้เด็กและเยาวชนเข้ามาเรียนรู้เรื่องราวของชุมชน -เกิดเครือข่ายในการจัดทำข้อมูลชุมชนร่วมกันของคนในพื้นที่จะนะ และอำเภอใกล้เคียง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมเครือข่ายความมั่นคงอาหาร

วันที่ 25 มีนาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-ประชุมวางแผนการดำเนินงานรวมกันของเครือข่ายฯ -นำเสนอศักยภาพของพื้นที่อ.จะนะ-อ.เทพาเบื้องต้น

-เกิดเครือข่ายความมั่นคงทางอาหาร อ.จะนะ-อ.เทพา -ข้อมูลศักยภาพพื้นที่แหล่งอาหาร(เบื้องต้น)ของอ.จะนะ ประกอบด้วยพื้นที่นา พื้นที่ไร่นาสวนผสม พื้นที่ทะเล พื้นที่คลองนาทับ คลองสะกอม และคลองสาขาในชุมชน -ข้อมูลศักยภาพพื้นที่แหล่งอาหาร(เบื้องต้น)ของอ.เทพา ประกอบด้วยพื้นที่นา พื้นที่ไร่นาสวนผสม พื้นที่ทะเล พื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่คลองตุหยง คลองเทพาและคลองสาขา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมเครือข่ายความมั่นคงอาหาร

วันที่ 13 พฤษภาคม 2558 เวลา 10:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 12 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมเครือข่ายความมั่นคงอาหาร

วันที่ 30 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

เวทีเสนอข้อมูลชุมชน

วันที่ 20 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  • นำเสนอข้อมูลชุมชนประกอบด้วยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเกษตร และการเลี้ยงนกเขาชวา
  • นำเสนอแนวทางการพัฒนาที่ชุมชนกำหนดเอง
  • นำเสนอข้อมูลชุมชน จากการจัดทำข้อมูลของชุมชนพบว่าสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบและลาดเทเชิงเขา  ในบางตำบลมีสภาพเป็นป่าเขา ซึงประกอบไปด้วยป่าเศรษฐกิจและป่าอนุรักษ์ ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นทีตำบลน้ำขาว นาหว้า สะพานไม้แก่น จะโหนง และท่าหมอไทร พื้นที่ราบลุ่มประกอบไปด้วยพื้นทีทำนาและปลูกพืชล้มลุก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

จัดทำชุดข้อมูลและถอดประสบการณ์การใช้ธรรมชาติบำบัดในการรักษาโรค

วันที่ 20 กันยายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-จัดทำข้อมูลพื้นฐานการเรียนรู้วิถีธรรมชาติบำบัดและถอดบทเรียนประสบการณ์การรักษาโรคด้วยวิธีการธรรมชาติบำบัด

-เกิดการเก็บรวบรวมชุดประสบการณ์และองค์ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติบำบัด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-งบประมาณน้อยเกินไปไม่สามารถจัดพิมพ์เป็นเอกสารเพื่อเผยแพร่ชุดความรู้ได้

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

งานอะโบ๊ยหมะ เลจะนะหรอยจ้าน

วันที่ 27 กันยายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-