จากค่านิยมเรื่อรูปร่างและสุขภาพ และการควบคุมปริมาณน้ำตาลในการบริโภคอาหาร ซึ่งสารให้ความหวานแทนน้ำตาล จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ถูกนำมาใช้และใช้อย่างต่อเนื่องโดยไม่รู้ว่าอาจเป็นอันตราย มีแคลอรี่ต่ำ และคุณค่าทางโภชนาการน้อย สารให้ความหวานแทนน้ำตาลแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1: สารให้ความหวานที่ให้พลังงาน ได้แก่ ฟรุกโตส(น้ำตาลจากผลไม้) มอลทิทอล ซอร์บิทอล ไซลิทอล สารให้ความหวานกลุ่มนี้ไม่เหมาะกับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักและผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มที่ 2: สารให้ความหวานที่ไม่ให้พลังงานหรือให้พลังงานต่ำ ได้แก่ ซูคราโลส สตีเวีย แอสปาแตม แซคคารีน และไฮไลต์ของมันมากับอาหาร ในวันนี้ คือ สารอะซีซัลเฟมเค สารให้ความหวานกลุ่มนี้ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักและผู้ป่วยเบาหวาน แต่ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เนื่องจากอาจจะไม่ส่งผลต่อร่างกายทันที แต่เมื่อสะสมไปเรื่อยๆ จะมีผลข้างเคียงกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำได้ จึงขอเตือนผู้ที่นิยมบริโภคสารชนิดนี้ว่ากินได้แต่ต้องไม่บ่อยเกินไป
ที่มา: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 5 กันยายน 2551
Relate topics
- รณรงค์เลิกใช้โฟม
- รายการสงขลามหาชน ตัวอย่างอาหารของแม่ ตอน " บทบาทของพ่อ " อาหารของแม่ สร้างความอบอุ่นของครอบครัวกับมื้ออร่อยที่แม่บรรจงปรุงเพื่อลูก
- ข่าวดีจะดัง ตอนที่ 265 โรงเรียนสุขภาพดี ของ อบต.ควนรู( http://youtu.be/KsuLA7Fguy8 )
- ข่าวดีจะดัง ตอนที่ 265 โรงเรียนสุขภาพดี ของ อบต.ควนรู(7 เม.ย 5…: http://youtu.be/KsuLA7Fguy8 )
- รายการอาหารของแม่ ตอน " อาหารคือภาคีและพื้นที่ " เปิดอร่อยด้วย ยำบัวบก สูตรสมุนไพรภูมิปัญญาถิ่น อบต.ท่าข้าม ของป้ายุพา ผลชนะ