โครงการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จ.สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส

แผนงานโภชนาการและอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัย

by wanna @January,09 2020 16.31 ( IP : 202...135 )

บันทึกรายงานกิจกรรมของพื้นที่

วันที่ - เวลากิจกรรม - รายละเอียด
17 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 19 มีนาคม 2563 14:58:56
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 15:09:42 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมเกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแสง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้การทำเกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน

กิจกรรมตามแผน

เรียนรู้พื้นที่แปลงต้นแบบเกษตรผสมผสาร นายณัฐพล หนูแสง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแสง บ้านเลขที่ 156/1 ม.4 ต.บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา โทรศัพท์ 089-6530164

ภาคเช้า เวลา 10.00-12.00น.แลกเปลี่ยนแนวคิดการทำเกษตรผสมผสารแนวคิด 1ไร่1แสน หมายถึง การทำเกษตรที่หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ในพื้นที่เดียวกัน มีการสร้างระบบเกษตรการเกษตรที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ เลี้ยงครอบครัวได้ มีการวางแผนการผลิต และการแปรรูป มีรายได้ต่อเนื่อง มั่นคง  มีอาหารปลอดภัยไว้บริโภคและจำหน่ายให้กับผู้บริโภคทั้งในชุมชนและนอกชุมชน นายณัฐพล หนูแสง (ผญ.เส) บรรยายการทำเกษตรแนวคิด1ไร่1แสน - วิสัยทัศน์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - หลักคิด ความมั่นคงทางอาหาร พึ่งพาตนเองได้ ชุมชนบ้านคูวา มีครัวเรือนทั้งหมด 157 ครัวเรือน มีครัวเรือนที่เข้าร่วมทำเกษตรแบบผสมผสาร จำนวน 10ครัวเรือน มีการปรับพื้นที่ในลักษณะโคก หนอง นา  ในช่วงปี พศ.2539 มีโครงการพัฒนาลุ่มน้ำปากพนัง ,โครงการปิดทองหลังพระ  ทางชุมชนได้เข้าร่วม มีการทำกิจกรรม คือ

สำรวจข้อมูล

จัดทำแผนที่

วิเคราะห์ข้อมูล ในประเด็น ภูมิทางสังคม ทางวัฒนธรรม (ดิน น้ำ ป่า วิถีเกษตร แหล่งพลังงาน )

มีการนำหลักปฎิบัติเกษตรทฤษฎีใหม่ มาขับเคลื่อนชุมชน ยืดหยุนตามพื้นที่ดินที่มี แบ่งพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำ พื้นที่ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ มีการพึ่งพาทรัพยากรในพื้นที่เป็นหลัก ลดการพึ่งพาจากภายนอก  ลดต้นทุนในเรื่องปุ่ย การปลูกพืชตามฤดูกาล หมุนเวียน ไม่ปลูกซ้ำ เช่น พริกเขียว บวม มะระ และเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว เป็ด ไก่ไข่ ปลาดุก ปลาหมอ ในการแปรรูป เช่น ไข่เค็ม ปลาดุกแดดเดียว

ภาคบ่าย เวลา 13.00-16.00น. ลงพื้นที่แปลงต้นแบบการเลี้ยงวัว แปลงคอกวัวคุณประสาน และการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เป็ด ไก่ ปลาน้ำจืด บ้านผญ.เส สรุปจากสิ่งที่เรียนรู้ การทำเกษตรต้องอาศัยความขยัน ต้องมีการวางแผนการผลิต ไม่ปลูกตามคนอื่น เน้นปลูกแบบปลอดภัย (ยังไปไม่ถึงปลูกแบบอินทรีย์ เพราะเมล็ดพันธุ์ยังต้องซื้อจากบริษัท) การตลาดเน้นตลาดภายในชุมชน ไม่ไปข้างนอก เพราะต้องการเวลาในการทำกิจกรรม

ผลตามแผน

เกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแสง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรผู้เข้าร่วมจาก16อำเภอของจังหวัดสงขลา เป็นเกษตรกรจำนวน 30ราย ที่เข้าร่วมโครงการ สนง.เกษตรจังหวัดสงขลา โดยเกษตรกรที่ได้มาเรียนรู้ นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในพื้นที่ตนเอง  ตามบริบทพื้นที่ โดยมีเป้าหมายการสร้างความมั่นคงทางอาหาร การทำเกษตรที่สามารถเลี้ยงตนเอง เลี้ยงครอบครัว พึ่งพาตนเองได้ และมีผลิตที่มีความปลอดภัย ในการทำระยะแรก เน้นการปลูกพืชระยะสั้นเพื่อสร้างรายได้ในแต่ละวัน ทำเรื่อยๆสะสมประสบการณ์ เรียนรู้ และการมีศรัทธา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
12 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 19 มีนาคม 2563 14:00:12
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 15:00:22 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมเกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแสง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่แปลงต้นแบบเกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน นายณัฐพล หนูแสง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแสง บ้านเลขที่ 156/1 ม.4 ต.บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา โทรศัพท์ 089-6530164

ภาคเช้า เวลา 10.00-12.00น.แลกเปลี่ยนแนวคิดการทำเกษตรผสมผสารแนวคิด 1ไร่1แสน หมายถึง การทำเกษตรที่หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ในพื้นที่เดียวกัน มีการสร้างระบบเกษตรการเกษตรที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ เลี้ยงครอบครัวได้ มีการวางแผนการผลิต และการแปรรูป มีรายได้ต่อเนื่อง มั่นคง  มีอาหารปลอดภัยไว้บริโภคและจำหน่ายให้กับผู้บริโภคทั้งในชุมชนและนอกชุมชน นายณัฐพล หนูแสง (ผญ.เส) บรรยายการทำเกษตรแนวคิด1ไร่1แสน
- วิสัยทัศน์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- หลักคิด ความมั่นคงทางอาหาร พึ่งพาตนเองได้
ชุมชนบ้านคูวา มีครัวเรือนทั้งหมด 157 ครัวเรือน มีครัวเรือนที่เข้าร่วมทำเกษตรแบบผสมผสาร จำนวน 10ครัวเรือน มีการปรับพื้นที่ในลักษณะโคก หนอง นา  ในช่วงปี พศ.2539 มีโครงการพัฒนาลุ่มน้ำปากพนัง ,โครงการปิดทองหลังพระ  ทางชุมชนได้เข้าร่วม มีการทำกิจกรรม คือ

  • สำรวจข้อมูล

  • จัดทำแผนที่

  • วิเคราะห์ข้อมูล ในประเด็น ภูมิทางสังคม ทางวัฒนธรรม (ดิน น้ำ ป่า วิถีเกษตร แหล่งพลังงาน )

มีการนำหลักปฎิบัติเกษตรทฤษฎีใหม่ มาขับเคลื่อนชุมชน ยืดหยุนตามพื้นที่ดินที่มี แบ่งพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำ พื้นที่ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ มีการพึ่งพาทรัพยากรในพื้นที่เป็นหลัก ลดการพึ่งพาจากภายนอก  ลดต้นทุนในเรื่องปุ่ย การปลูกพืชตามฤดูกาล หมุนเวียน ไม่ปลูกซ้ำ เช่น พริกเขียว บวม มะระ และเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว เป็ด ไก่ไข่ ปลาดุก ปลาหมอ ในการแปรรูป เช่น ไข่เค็ม ปลาดุกแดดเดียว

ภาคบ่าย เวลา 13.00-16.00น. ลงพื้นที่แปลงต้นแบบการเลี้ยงวัว แปลงคอกวัวคุณประสาน และการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เป็ด ไก่ ปลาน้ำจืด บ้านผญ.เส สรุปจากสิ่งที่เรียนรู้ การทำเกษตรต้องอาศัยความขยัน ต้องมีการวางแผนการผลิต ไม่ปลูกตามคนอื่น เน้นปลูกแบบปลอดภัย (ยังไปไม่ถึงปลูกแบบอินทรีย์ เพราะเมล็ดพันธุ์ยังต้องซื้อจากบริษัท) การตลาดเน้นตลาดภายในชุมชน ไม่ไปข้างนอก เพราะต้องการเวลาในการทำกิจกรรม

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกษตรผสมผสารด้วยแนวคิด 1ไร่1แสน แปลงต้นแบบนายณัฐพล หนูแส

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้เข้าอบรมเป็นเกษตรที่มาจาก ทม.สิงหนคร ทต.ระโนด ที่มีความสนใจการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เนื่องจาก พื้นที่สิงหนครและระโนดเป็นที่ลุ่ม สามารถที่จะนำความรู้มาปรับใช้ในพื้นที่ตนเอง

2.เกษตรกรบางรายได้มีข้อจำกัดในเรื่องของปัจจัยการผลิต เพราะต้องใช้ทุนในการปรับพื้นที่ และการขาดแหล่งน้ำซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการทำเกษตร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
11 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:21:47
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:59:26 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายสรพล นภาพงษ์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายสรพล นภาพงษ์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายสรพล นภาพงษ์ บ้านเลขที่65 หมู่6 บ้านหน้าถ้ำ ต.ปาดังฯ อ.สะเดา จ.สงขลา โทรศัพท์ 089-7338839

ภาคเช้า เวลา 10.00 น.-12.00 น.:เยี่ยมชมแปลงยางแบบขยายแถว มีการปลูกทุเรียน มะพร้าว กาแฟ และมีการปลูกมะละกอพันธุ์เรดเลดี้ แขกดำ ผักหวานบ้าน เพื่อจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับสมาชิกในครอบครัว แปลงมีการไถเปิดหน้าดินในบางส่วนและไม่ได้ปลูกพืชแซม ทำให้ดินมีการระเหยของน้ำ ทำให้แห้งแล้ง ระบบน้ำที่ท่อส่งน้ำเล็กทำให้การรดน้ำไม่ทั่วถึงกับพืชที่อยู่ในแปลง

ภาคบ่าย เวลา 13.00-16.00น. แลกเปลี่ยนแนวคิดการทำเกษตรผสมผสาร เพื่อให้คนในท้องถิ่นได้เข้ามาเรียนรู้ และคนในครอบครัวของตนเองอยู่ได้ เลี้ยงชีพได้ การทำเกษตรเป็นความชอบส่วนตัว และอยากให้คนในชุมชนได้เกิดการอนุรักษ์สัตว์น้ำ สัตว์ป่า เนื่องจากแปลงที่อาศัยอยู่ติดกับเขารูปช้างมีสัตว์ป่ามากมาย ตลอดจนอยากให้เกิดการเรียนรู้วิถีของชุมชนสร้างเครือข่ายชุมชน เช่น การทำนา การปลูกพืช ไม้ผล

ข้อค้นพบ /ข้อเสนอแนะ : การไถหน้าดินเพื่อจำกัดวัชพืช ควรไถหน้าฝน หน้าดินที่มีการไถแล้วให้มีการปลูกพืชคลุมดิน เช่น ถั่วบราซิล หรือถั่วลิสง

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายสรพล นภาพงษ์

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.เกษตรกรจากกลุ่มเครื่องของ ทม.สะเดา ,รพ.ปาดังฯ เข้าร่วมเรียนรู้

2.นายสรพล เจ้าของแปลงไม่ได้เป็นคนลงมือทำเกษตรด้วยตนเอง มีสมาชิกในครอบครัว(คนรู้จัก) ที่ได้เข้ามาอยู่อาศัยที่แปลงเป็นคนปฎิบัติการในการปลูกพืช ผักสวนครัว ในพื้นที่50ไร่ ทีมปฎิบัติการขาดความรู้ในการปลูกพืชสวน และการจัดการน้ำ จึงต้องมีการปรับปรุงอีกเล็กน้อยและการเพิ่มเติมความรู้ ประสบการณ์จากเครื่อข่ายและการอบรมฯ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 19 มีนาคม 2563 11:05:42
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 12:51:25 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายพันธ์ ประพรม

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา 

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายพันธ์ ประพรม

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายพันธ์ ประพรม บ้านเลขที่ 34หมู่6 ต.ทุ่งลาน อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา โทรศัพท์ 087-4782982 พื้นที่สวนทั้งหมด 8ไร่  มีแบ่งเป็น2แปลง แปลงที่1 ติดกับริมห้วยสาขาคลองอู่ตะเภา มีแหล่งน้ำเพียงพอกับพืชที่ปลูก มีการปลูกพืชหลายหลายชนิดทั้งไม้ผล เช่นทุเรียน สะตอ เงาะ กล้วย ฯลฯ และปลูกหญ้าเลี้ยงวัว แปลงที่2 ยางพาราปลูกร่วมกับกาแฟ

ภาคเช้า เวลา 10.00-12.00 น.: เยี่ยมชมแปลงเพื่อเรียนรู้พันธุ์ไม้ นายพันธุ์ ให้ความรู้การขยายลำต้นต้นไม้ผล เช่นทุเรียน โดยการกรีดที่โคนต้น เพื่อให้ต้นไม้ได้สร้างเนื้อเยื้อ ทำให้ลำต้นมีความแข็งแรง และให้ความรู้ในการปลูกกาแฟ กาแฟในแปลงมีอายุ2-3ปี เริ่มให้ผลผลิต มีการเก็บเมล็ดกาแฟ ครั้งละประมาณ 5-10 กิโลกรัม/ครั้ง

ภาคบ่าย เวลา 13.00 -16.00น.: นายพันธ์ให้ความรู้การผลิตกาแฟ โดยเริ่มจากการกะเทาะเปลือกออก แยกเมล็ดกาแฟ การตาก การคั่ว และบด และการชง  การตลาด มีการขายตอนเช้าโดยเปิดเป็นร้านน้ำชา ขนม กาแฟสด ที่ผลิตเอง ลูกค้าเป็นคนในชุมชนและนักปั่นจักรยาน ความภาคภูมิใจ: กาแฟที่ปลูกสามารถทำให้คนในชุมชนได้ทานกาแฟที่ถูก และดี ครอบครัวก็มีความสุข สามารถบอกเล่าเรื่องราว ประสบการณ์ให้คนทั่วไปที่สนใจได้เข้ามาเรียนรู้

ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ : พื้นที่แปลงกาแฟ ในส่วนที่ต้นกาแฟตาย อาจจะมีการปลูกกล้วยทดแทน

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายพันธ์ ประพรม

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้เข้าร่วมอบรม มาจากเกษตรกรและผู้สนใจ จากศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ทม.คอหงส์, โรงเรียน,กลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าหมอไทร
2.นายพันธ์ ประพรม สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ จากการปลูกกาแฟ การผลิตกาแฟ ให้กับผู้เข้าร่วมอบรมได้แลกเปลี่ยน ทำให้เกิดประโยชน์กับหลายๆคนที่สนใจเกี่ยวกับกาแฟ และสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ได้ เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถใช้ภูมิปัญญาและเทคโลโลยีที่ไม่ยุ่งยากมากนัก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
3 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 19 มีนาคม 2563 10:23:22
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 12:52:35 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายปฎิญญา นางอาทิตยา อิบรอเห็น

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายปฎิญญา นางอาทิตยา อิบรอเห็น

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายปฎิญญา นางอาทิตยา อิบรอเห็น บ้านเลขที่ 143 หมู่ที่5 ต.สำนักขาม อ.สะเดา จ.สงขลา โทรศัพท์ 089-6543466

ภาคเช้า เวลา 10.00 -12.00น.:ได้ลงเยี่ยมแปลงพื้นที่สวน 17ไร่ ยางพาราร่วมไม้เศรษฐกิจ ไม้ผล เช่น ต้นสัก ตะเคียนทอง ต้นทุเรียน ต้นสละอินโด ฯลฯ แปลงสวนยางที่มีพันธุ์ไม้ เช่น ไฝ่ ผักเหรียง เนื่องจากฝนแล้ง เริ่มส่งผลกระทบกับผักกูดที่ในพื้นที่ร่องน้ำขาดน้ำ และพื้นที่แปลงที่มีการปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่ไข่ ดังนั้นกิจกรรมในแปลงบางส่วนต้องมีการพักไว้ก่อน เพื่อรอหน้าฝน

ช่วงบ่าย เวลา 13.00 -16.00น.:แลกเปลี่ยนแนวคิดการทำเกษตรผสมผสาร เริ่มจากพื้นที่17ไร่ที่เริ่มทำมากับพ่อ และเริ่มปลูกใหม่ในแนวคิด "ป่าพออยู่ ป่าพอกิน ดินพอเพียง" มีการปลูกพืชสวนครัว ปลูกผัก กินผักที่ปลูกเอง ลดรายจ่าย สร้างภูมิค้มกันให้กับครอบครัว มีแผนในการปลูกตะใตร้หอมระหว่างต้นทุเรียน เพื่อลดแมลงศัตรูพืชรบกวน

ข้อค้นพบ /ข้อเสนอแนะ: ควรมีการปลูกกล้วยเพิ่มเติมในแปลง

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายปฎิญญา นางอาทิตยา อิบรอเห็น

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้เข้าร่วมอบรมกยท.สาขาสะเดา ส่งเกษตรกรเข้าร่วม 5ราย ที่สนใจการปลูกยางและมีการขอทุนสงเคราะห์แบบ5  ตลอดจนบุคคลที่สนใจที่มาจากส่วนท้องถิ่น,โรงเรียน  ได้เรียนรู้การปลูกไม้เศรษฐกิจ และการปลูกไม้ผล เช่น ทุเรียน สละอินโด

2.เป็นช่วงฤดูแล้ง ขาดน้ำ ทำให้ไม่สามารถเรียนรู้เรื่องการปลูกผักสวนครัว และผักกินใบชนิดอื่นๆ เช่น ผักสลัด ผักบุ้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2 มีนาคม 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 18 มีนาคม 2563 14:02:14
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:19:57 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายอาทร สุกสว่างผล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้การทำเกษตรผสมผสารในสวนยางพารา 

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพาราพื้นที่แปลงนายอาทร สุกสว่างผล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพาราพื้นที่แปลงนายอาทร สุกสว่างผล บ้านเลขที่ 68 หมู่ที่ 6 ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โทรศัพท์089-3801515

ภาคเช้า เวลา 10.00-12.00น.: นายอาทร สุกสว่างผล ได้บรรยายหลักคิดการทำแปลงผสมผสารแบบสวนสมรม แนวคิดการทำเกษตรแบบมีความสุข  ในพื้นที่แปลงตนเอง จำนวน10ไร่ ที่เป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษ ซึ่งมีความหลากหลายอยู่เดิม เช่น ต้นมะพร้าว อายุประมาณ30ปี ยางพารา สะตอ จำปาดะ มีการขยายกลุ่มเครือข่ายในชุมชนในช่วงปี 2548 ขับเคลื่อนนโยบายเกษตรอินทรีย์ การทำปุ่ย การตลาดจำหน่ายผลผลิต ตลาดภายนอกชุมชน เช่น หลาดสยาม ตลาดเกษตร มอ. มีการปลูกพืชผักกินใบ ผักเหนาะ ประเภทต้นมันปู ผักเหรียง ขยายต้นไม้เพิ่มขึ้น เช่น สละอินโด มะปลิง มะปราง ไม้ป่า ต้นเปรียง ต้นจำปูริงหรือต้นจำไหร มีการปล่อยให้พื้นที่สวนเป็นป่ารกบ้างเพื่อให้สัตว์ เช่น นก ไก่เถื่อน ได้มาอยู่อาศัย

ภาคบ่ายเวลา 13.00-16.00 น.:เดินชมแปลง และพันธุ์ไม้ โดยเจ้าของแปลงได้บอกวิธีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้เดิมไว้ในแปลง และการปลูกเพิ่ม ทั้งไม้ผล พืชสมุนไพร

ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ ต้นไม้ในแปลงค่อนข้างผอม และมีการปลูกในระยะที่ชิดและแน่น ขาดการบำรุงการให้ปุ่ย ควรมีการใส่ปุ่ยเพิ่มเติม

ผลตามแผน

เรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพาราพื้นที่แปลงนายอาทร สุกสว่างผล

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ขาดกลุ่มเกษตรกรในส่วนของ กยท.เข้าร่วม มีผู้เข้าร่วมที่มาจากโรงเรียน อบต.สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ เรือนจำ เข้าร่วมเรียนรู้ ผู้เข้าร่วมมีความสนใจการปลูกพืช หรือพันธุ์ไม้หายาก และการปลูกสละอินโด

2.นายอาทร มีการเพาะพันธุ์ไม้หายากหรือพันธุ์ไม้ท้องถิ่น แจกจ่ายให้กับบุคคลทั่วไปที่สนใจ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการสร้างความมั่นคงทางอาหารในแปลงยางพารา

3.การจัดการตลาดเพื่อจำหน่ายผลผลิตของกลุ่มเครื่อข่ายเกษตรกรของชุมชน จึงทำให้กลุ่มสามารถเลี้ยงตนเองได้ เกิดการแบ่งปันแลกเปลี่ยนสินค้า ผลผลิตในแปลง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
26 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 18 มีนาคม 2563 12:43:44
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:20:45 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายเจียร ทองคง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายเจียร ทองคง

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพาราพื้นที่แปลงนายเจียร ทองคง บ้านเลขที่ 119/1 หมู่ที่ 14 ต.ท่าม่วง อ.เทพา จ.สงขลา โทรศัพท์ 081-0948223

ภาคเช้า เวลา 10.00312.00น.:นายเจียร ทองคง บรรยายหลักเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดการทำแปลงผสมผสารในสวนยาง จำนวน 6ไร่ ซึ่งมีการปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ร่วมกับยางพารา เช่น ลองกอง พืชผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ เช่น การเลี้ยงไก่ตะกร้า การเลี้ยงปลาดุก การเลี้ยงวัว ในการเพิ่มเติมความรู้ในตนเองได้มีการไปเรียนรู้จากแหล่งภายนอก และกลับมาทำแปลงของตนเอง การที่จะประสบความสำเร็จ มองใน3เรื้อง คือ ด้านอุดมการณ์ ,ด้านวิชาการ,และด้านประสบการณ์ ในส่วนของการทำเกษตรให้เกิดผลและสามารถเลี้ยงตนเองได้ ซึ่งเป็นสูตรสำเร็จของเกษตรกรไทย ดังนี้

-ดินดี (ในดินมีใสเดือนอยู่อาศัย)

-น้ำดี (หากมีน้ำในแปลง จะช่วยในเรื่องของการปรับปรุงดิน)

-พันธุ์ดี (เมล็ดพันธุ์ ที่มีความแข็งแรง ต่อสู่กับโรคแมลงได้ ไม่อ่อนแอ

-การจัดการ (การตลาด, ด้านสวล.)

-วิชา (ประสบการณ์ การเรียนรู้ตำรา ภายนอก)

ภาคบ่าย เวลา 13.00316.00 น.:นายเจียร ให้ความรู้การเลี้ยงไก่ การทำน้ำส้ม(น้ำหมักชีวภาพ ใช้ในการทำก้อนยางพารา การทำแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ และพาเดิมชมแปลง

ข้อค้นพบ / ข้อเสนอแนะ การบำรุงต้นไม้ พันธุ์ไม้ในแปลง เนื่องจากมีการปลูกชิดมากเกินไป ตลอดจนยางแบบ3x7เมตร ในระยะที่ชิด ทำให้ไม้ผลไม่ให้ผลผลิต เนื่องจากขาดแสง พืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้

ผลตามแผน

เรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายเจียร ทองคง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ขาดกลุ่มเป้าหมายเกษตกรในส่วนของ กยท.เข้าร่วม มีเพียงโรงเรียน อบต.ในพื้นที่ใกล้เคียงได้เลือกเข้าร่วมเรียนรู้ ซึ่งมีจำนวนน้อย แต่ก็เห็นถึงความตั้งใจของเจ้าของแปลงต้นแบบที่มีการถ่ายทอดความรู้ หลักคิด ศก.พอเพียงให้กับผู้เข้าร่วม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
25 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 13 มีนาคม 2563 15:42:32
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:15:29 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายนิวัตน์ เนตรทองคำ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา แปลงต้นแบบนายนิวัตน์ เนตรทองคำ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายนิวัตน์ เนตรทองคำ บ้านเลขที่ 89/2 หมู่ 7 ต.ทุ่งตำเสา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โทรศัพท์ 087-3907426 พื้นที่แปลงทั้งหมด 13ไร่ พื้นที่แปลงแบ่งเป็น 2ส่วน ส่วนที่1 จำนวน10ไร่ มีการปลุกยาง ร่วมกับไม้ผล เช่น ลองกอง มะนาว ส่วนที่ 2 มีการปลูกกล้วยไข่ ผักกูด แนวคิดการทำเกษตรผสมผสาร ปลูกพืชหลากหลายชนิดประมาณ 90ชนิด ทั้งพืชสวนครัว มะนาว พริก พืชกินผล กินใบ เช่น กล้วย มะละกอ ผักเหรียง  และเลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลาน้ำจืด แต่ที่เด่นคือ การปลูกผักกูดในแปลงยางที่มีการจำหน่ายทั้งต้นพันธุ์ และการเก็บยอดส่งขายในตลาดภายในชุมชน และนอกพื้นที่ ทำให้สามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัว

เวลา 13.00น.ลงเยี่ยมแปลงผักกูด สวนกล้วย และบ่อเลี้ยงปลา ในการลงแปลงทำให้เห็นชนิดของพืชทั้งที่ปลูกเอง และงอกตามธรรมชาติ

เวลา 15.00 น. สรุปประสบการณ์จากลงแปลง ผู้เข้าร่วมมีความสนใจในชนิดพืชต่างๆ และการทำปุ่ยใช้เองในแปลง ปุ่ยจากมูลหมู มูลเป็ด ทำให้ลดการซื้อปุ๋ย ลดการใช้สารเคมี

ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ การเลี้ยงเป็ด หมู ทำให้เกษตรลดการซื้อปุ่ย ลดค่าใช้จ่าย ผักที่ปลูกในแปลงมีความปลอดภัย การปลูกหลากหลายทำให้สามารถมีผลิตหมุนเวียนตลอดทั้งปี

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา 

ผลที่เกิดขึ้นจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายนิวัตน์ เนตรทองคำ ผู้ที่เข้าร่วมเป็นเกษตรในเครื่อข่ายวิสาหกิจชุมชน ต.คอหงส์ ที่มีความสนใจการทำเกษตรผสมผสาร ที่มีการปลูกพืชอย่างหลากหลาย พืชที่ปลูกสามารถทำรายได้ และเป็นพื้นที่แหล่งอาหารให้กับครอบครัว ชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
24 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 13 มีนาคม 2563 14:32:16
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 19 มีนาคม 2563 13:19:04 น.

ชื่อกิจกรรม : โปรแกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำเกษตรผสมผสารสวนยางพารา พื้นที่แปลงนายจรูญ พรหมจรรย์

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ การทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ การทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา แปลงต้นแบบนายจรูญ พรหมจรรย์

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ แนวคิดการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา โดย นายจรูญ พรหมจรรย์ บ้านเลขที่ 33/9 ซอยโล๊ะผักกูด หมู่ที่8 ต.ทุ่งตำเสา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โทรศัพท์ 086-9645561

เวลา10.00 น. นายจรูญ เจ้าของแลงต้นแบบ ร่วมแลกเปลี่ยนความเป็นมา แนวคิดการทำเกษตรผสมผสารในสวนยางพารา เกิดจากการไปเรียนรู้จังหวัดพัทลุง และกลับมาพัฒนาในพื้นที่10ไร่ เริ่มแรกมีการปลูกพืช เช่น มะละกอ ผักสลัด และเชื่อมประสานกับหน่วยงานในพื้นที่ เช่น กยท.ในการขอสงเคราะห์การทำสวนยางแบบผสมผสาร ในยุคเศรษฐกิจที่ยางพารามีราคาต่ำ รายได้ไม่เพียงพอเริ่มมาปลูกพืช เช่น สละ (ที่ดิน 4ไร่ ) เลี้ยงแพะโดยได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการฯ(สสส.) โดยซื้อพ่อพันธ์ุ แม่พันธ์ุจำนวน2ตัว จนปัจจุบันขยายเป็น 20ตัว การจำหน่ายผลผลิต มีพ่อค้า แม่ค้า มารับซื้อผลสละที่แปลง ในส่วนแพะมีการสั่งซื้อจากเพื่อนบ้านใช้ในงานบุญ และจำหน่ายเป็นพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ให้กับคนที่สนใจมีการไปร่วมเรียนรู้กับเกษตรกร  รายอื่นๆ และเข้าอบรมความรู้กับหน่วยงาน สถาบันการศึกษาทำให้การทำเกษตรของตนเองปัจจุบันสามารถทำให้เลี้ยงตนเอง ครอบครัวได้ มีสุขภาพที่ดี ทั้งด้านร่างกาย และด้านจิตใจ

เวลา 13.00น.ลงพื้นที่แปลงสวนในฝัน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ โดยมีการสาธิตการผสมเกษรต้นสละ และการให้ความรู้ชนิดของพันธุ์พืชที่อยู่ในแปลง และการเลี้ยงแพะ

เวลา 15.00น.ร่วมแชร์ประสบการณ์ระหว่างแปลงต้นแบบและผู้เข้าร่วม การปลูกพืชแต่ละชนิดในสวนยางให้ดูเรื่องของอายุยาง แสงสว่าง และควรเสริมกล้วยในแปลงเพื่อเพิ่มความชุมชื่นให้กับดิน และช่วยบำรุงดิน

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ การทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา 

ผลที่เกิดขึ้นจริง

การยางแห่งประเทศไทย สาขาหาดใหญ่ (กยท.) ส่งเกษตรกรเข้าร่วมเรียนรู้ จำนวน 7คน โดยเกษตรกรดังกล่าวมีความสนใจการทำสวนยางแบบ5 (ปลูกพืชร่วมกับยาง) และหน่วยงานอื่นเข้าร่วมอีก เช่น โรงเรียน อปท. เรือนจำ
จากการเข้าร่วมทำให้เกิดความรู้การปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ (แพะ) ในสวนยางพารา ซึ่งจะทำให้เกษตรกรที่คิดอยากจะทำ สวนยางแบบ5 สามารถนำไปปรับใช้ในแปลงต้นเอง เช่น การปลูก สละ ควรมีการเลี้ยงผึ้ง หรือชันโรง เพื่อให้เกิดการผสมเกสรตามธรรมชาติ และมีการปลูกต้นพันธุ์ชนิดตัวผู้ไว้ในแปลงร่วมกับชนิดพันธุ์ตัวเมีย ส่วนไม้ชนิดอื่นขึ้นอยู่กับเจ้าของแปลงที่มีความชอบพืชชนิดไหน เช่น ชนิดไม้ป่า  ประเภทกินใบ(ผักเหรียง ผักกุด ฯลฯ )

การลดค่าใช้จ่ายของเกษตรกร เช่น ซื้อปุ่ย สารเคมี เกษตรต้องทำเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว แพะ หมู เป็ด ไก่ ฯลฯ จะช่วยลดการซื้อปุ่ย และการทำน้ำหมักใช้เอง เพื่อลดสารเคมี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
1 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:16:10
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:23:40 น.

ชื่อกิจกรรม : ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในอำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

แผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดสงขลาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย อย่างน้อย 15 โครงการ

กิจกรรมตามแผน

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในอำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา วันที่ 31 ตุลาคม 2562 – 1 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

สปสช.เขต 12 สงขลา และท้องถิ่นในอำเภอสะบ้าย้อย จำนวน 8แห่ง และอำเภอเทพา จำนวน 2 แห่ง เข้าร่วมพัฒนาโครงการโดยมีศูนย์พัฒนาเด็กเด็กเล็ก และกองการศึกษาของ อปท. พัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในเว็บไซต์ http://localfund.happynetwork.org

ผลตามแผน

มีจำนวนโครงการที่บรรจุเข้าสู่แผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดสงขลาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย อย่างน้อย 15 โครงการ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

การพัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในเว็บไซต์ http://localfund.happynetwork.org  เกิดข้อเสนอโครงการ โดยท้องถิ่นอำเภอสะบ้าย้อย มีจำนวนโครงการ 10 โครงการ และอำเภอเทพา 2 โครงการ รวม 12 โครงการ โดยพัฒนาอยู่บนเว็บไซต์http://localfund.happynetwork.org/ ซึ่ง สปสช.เขต 12 สงขลา จะทำเอกสารชี้แจงให้กับท้องถิ่นพิจารณาโครงการทั้ง 12 โครงการ

1) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแกแดะ อบต.ธารคีรี

2) โครงการหนูน้อยอิ่มและปลอดภัยจากการปนเปื้อนในอาหาร ของศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา องค์กรนำเสนอโครงการองค์การบริหารส่วนตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

3) โครงการอาหารปลอดภัยเด็กเล็กมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโหย องค์กรเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโหย อบต.บาโหย

4) โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศพด.บ้านโหนด องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโหนด อบต.บ้านโหนด

5) โครงการส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะเชะ องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะเชะ อบต.บ้านโหนด

6) โครงการส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาม่วง องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาม่วง อบต.บ้านโหนด

7) โครงการเพิ่มภาวะโภชนาการในเด็ก ศพด. มูอาบาดาตีมะมุด องค์กรนำเสนอโครงการองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพอ

8) โครงการส่งเสริมโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลเปียน องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลเปียน

9)โครงการส่งเสริมเพิ่มเติมปัญญาด้วยระบบโภชนาการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสะบ้าย้อย

10) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลจะแหน องค์กรนำเสนอโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลจะแหน

11) โครงการอาหารดีมีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังใหญ่ องค์กรนำเสนอโครงการ อบต.วังใหญ่

12) โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน เทพา (ศพด.บ้านพระพุทธ) องค์กรนำเสนอโครงการ อบต.เทพา


ผลการดำเนินงานงวดที่ 2 ผลักดันแผนงานโครงการความมั่นคงทางอาหาร  อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลานำร่อง 10 ตำบล ( 15 โครงการ)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
29 ตุลาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:38:28
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 11:38:59 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการเลี้ยงไส้เดือนฝอยให้กับเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา 

กิจกรรมตามแผน

อบรมเชิงปฏิบัติการเลี้ยงไส้เดือนฝอย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการเลี้ยงไส้เดือนฝอยให้กับเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา วันที่ 29 ตุลาคม 2562 ร่วมกับ สนง.พัฒนาการส่งเสริมการเกษตรเขตที่ 8 อบรมการเลี้ยงไส้เดือนฝอย โดยให้เกษตรได้ฝึกทดลองการเพาะเลี้ยงไส้เดือนฝอย ซึ่งเกษตรกรให้ความสนใจ และหารือถึงแนวทางการรวมกลุ่มในการเพาะเลี้ยงไส้เดือนฝอย

ผลตามแผน

อบรมเกษตรกรให้มีความรู้เรื่องไส้เดือนฝอย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

อบรมเชิงปฏิบัติการเลี้ยงไส้เดือนฝอยให้กับเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา เกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
28 ตุลาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:09:33
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:50:08 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการอบรมความรู้เรื่องผลกระทบการใช้สีผสมอาหาร และเทคนิคการใช้บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติบรรจุอาหาร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคในตลาดเทศวิวัฒน์ มีความรอบรู้(health literacy) และมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อยร้อยละ 65

กิจกรรมตามแผน

อบรมความรู้เรื่องผลกระทบการใช้สีผสมอาหาร และเทคนิคการใช้บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติบรรจุอาหาร

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

อบรมความรู้เรื่องผลกระทบการใช้สีผสมอาหาร และเทคนิคการใช้บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติบรรจุอาหาร  โรงพยาบาลปัตตานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องอันตรายของสีผสมอาหาร โดยนำกรณีไก่สดสีเหลือง กุ้งแห้งสีชมพู มาเป็นกรณีศึกษา และขอความร่วมมือผู้ประกอบการในหลีกเลี่ยงซื้ออาหารใส่สีมาประกอบการอาหาร

ผลตามแผน

ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคในตลาดเทศวิวัฒน์ มีความรอบรู้(health literacy) และมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อยร้อยละ 65

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอจำนวน 30 ราย (ผู้ประกอบการทั้งหมด) และตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 30 คน (ผู้ประกอบการโซนอาหารปรุงสุก อาหารสด ) เกิดกระบวนการเรียนรู้เรื่องอาหารปลอดภัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ปราศจากสีผสมอาหารมาปรุงจำหน่ายให้กับผู้บริโภค

2.เทศบาลเมืองปัตตานีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะสร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องอาหารใส่สีอย่างต่อเนื่อง และมีนโยบายลดการใส่สีในอาหาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5 ตุลาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:04:00
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:05:41 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมพัฒนามาตรการด้านอาหารปลอดภัยตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี จ.ปัตตานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

การประชุมพัฒนามาตรการด้านอาหารปลอดภัยตลาดจะบังติกอ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

กิจกรรมการประชุมพัฒนามาตรการด้านอาหารปลอดภัยตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี จ.ปัตตานี ได้ลงติดตามประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ จากนั้นนำข้อมูลมาหารือกับผู้ประกอบการ โดยขอความร่วมมือผู้ประกอบการผู้ชายไม่ให้สูบบุหรี่ ผู้ประกอบการมีการแต่งกายที่สะอาดขึ้น

ผลตามแผน

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

นำข้อมูลมาหารือกับผู้ประกอบการ โดยขอความร่วมมือผู้ประกอบการผู้ชายไม่ให้สูบบุหรี่ ผู้ประกอบการมีการแต่งกายที่สะอาดขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4 ตุลาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:45:41
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:47:17 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมประชุมชี้แจงการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย พร้อมจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร ชนิดและปริมาณผลผลิตปริมาณการจำหน่าย และเครือข่ายกลุ่มผู้บริโภคระดับองค์กร

กิจกรรมตามแผน

ประชุมชี้แจงการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมชี้แจงการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินโครงการพัฒนาอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล จำนวน 8 แห่งได้แก่ โรงพยาบาลรัตภูมิ โรงพยาบาลบางกล่ำ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลควนเนียง โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลจะนะและโรงพยาบาลนาหม่อม สร้างกระบวนการพัฒนาเกษตรกรในพื้นที่ให้ทำเกษตรแบบปลอดภัยให้ได้มาตรฐาน GAP การยกระดับตลาดสีเขียวในโรงพยาบาลให้เข้มแข็งขึ้น การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้บริโภคเรื่องอาหารปลอดภัย

ผลตามแผน

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย พร้อมจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร ชนิดและปริมาณผลผลิตปริมาณการจำหน่าย และเครือข่ายกลุ่มผู้บริโภคระดับองค์กร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรระหว่างเกษตรกรและโรงพยาบาล

  2. ผลผลิตการเกษตรในชุมชนได้รับการพัฒนามาตรฐานเกษตรปลอดภัย เช่น มาตรฐาน GAP มาตรฐาน PGS

  3. เกิดการผลักดันนโยบายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและขยายผลไปสู่ชุมชน

  4. เกิดการพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่ให้มีการผลิตอาหารที่ปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
25 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:00:28
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:02:03 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

การแลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2  ได้หารือร่วมกับเทศบาลเมืองปัตตานี สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนาฯ ในการออกแบบสถานที่รับประทานอาหารบริเวณตลาดจะบังติกอ  โดยสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนาฯ จะยกระดับให้ตลาดจะบังติกอเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางอาหารของปัตตานี

ผลตามแผน

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนาฯ จะยกระดับให้ตลาดจะบังติกอเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางอาหารของปัตตานี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
24 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:32:17
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:35:48 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา ครั้งที่2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา ครั้งที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา ครั้งที่ 2
เทศบาลนครยะลา ร่วมกับสนง.หลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา เครือข่ายโรงเรียน จำนวน 6 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง ชุมชน พัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในเว็บไซต์https://localfund.happynetwork.org/ มีโครงการที่พัฒนา จำนวน 8 โครงการ

1) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยเเละประถมศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 4 (ธนวิถี)

2) เครือข่ายร่วมใจ ใส่ใจคุ้มครองผู้บริโภค เขตเทศบาลนครยะลา องค์กรเสนอโครงการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

3) โครงการชุมชนคุปตาสาร่วมใจ ผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน องค์กรเสนอโครงการคณะกรรมการชุมชนคุปตาสาเทศบาลนครยะลา

4) โครงการร้านอาหารต้นแบบปลอดผงชูรส และปลอดขยะสวนสาธารณะสนามช้างเผือก องค์กรเสนอโครงการกลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยสนามช้างเผือก เทศบาลนครยะลา

5) โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัย ท.5 องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า)

6) โครงการหุ่นดี หน้าใส องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านมลายูบางกอก)

7) โครงการท ๑ บ้านสะเตง พิชิตผอมสุดฤทธิ องค์กรนำเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านสะเตง)

8) โครงการพิชิตผอมในโรงเรียนเทศบาล3 (วัดพุทธภูมิ) องค์กรนำเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดพุทธภูมิ)

ผลตามแผน

จัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา ครั้งที่2

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เครือข่ายโรงเรียน จำนวน 6 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง ชุมชน พัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในเว็บไซต์https://localfund.happynetwork.org/ มีโครงการที่พัฒนา จำนวน 8 โครงการ

1) การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยเเละประถมศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (ธนวิถี) องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 4 (ธนวิถี)

2) เครือข่ายร่วมใจ ใส่ใจคุ้มครองผู้บริโภค เขตเทศบาลนครยะลา องค์กรเสนอโครงการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา

3) โครงการชุมชนคุปตาสาร่วมใจ ผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน องค์กรเสนอโครงการคณะกรรมการชุมชนคุปตาสาเทศบาลนครยะลา

4) โครงการร้านอาหารต้นแบบปลอดผงชูรส และปลอดขยะสวนสาธารณะสนามช้างเผือก องค์กรเสนอโครงการกลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยสนามช้างเผือก เทศบาลนครยะลา

5) โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการและอาหารปลอดภัย ท.5 องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 5 (บ้านตลาดเก่า)

6) โครงการหุ่นดี หน้าใส องค์กรเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านมลายูบางกอก)

7) โครงการท ๑ บ้านสะเตง พิชิตผอมสุดฤทธิ องค์กรนำเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านสะเตง)

8) โครงการพิชิตผอมในโรงเรียนเทศบาล3 (วัดพุทธภูมิ) องค์กรนำเสนอโครงการโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดพุทธภูมิ)

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
21 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:56:43
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:58:40 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมพัฒนาตลาดจะบังติกอให้เป็นตลาดอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

ประชุมพัฒนาตลาดจะบังติกอให้เป็นตลาดอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมพัฒนาตลาดจะบังติกอให้เป็นตลาดอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2 ได้ให้ผู้ประกอบการ จำนวน 45 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตลาดเกษตร ม.อ. เรื่องการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย

ผลตามแผน

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมพัฒนาตลาดจะบังติกอให้เป็นตลาดอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2  ได้ให้ผู้ประกอบการ จำนวน 45 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตลาดเกษตร ม.อ. เรื่องการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
19 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:41:47
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:44:00 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และตลาด Green ในโรงพยาบาลบางกล่ำ

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย พร้อมจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร ชนิดและปริมาณผลผลิตปริมาณการจำหน่าย และเครือข่ายกลุ่มผู้บริโภคระดับองค์กร

กิจกรรมตามแผน

ประชุมเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และตลาด Green ในโรงพยาบาลบางกล่ำ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

โรงพยาบาลบางกล่ำ ได้หารือกับเกษตรกรจำนวน 75 คน เพื่อจัดหาวัตถุดิบที่ปลอดภัยเข้าสู่โรงครัวโรงพยาบาล โดยจะส่งเสริมให้เกษตรกรส่งผลผลิตการเกษตรให้กับโรงครัวโรงพยาบาล และขายผลผลิตการเกษตรในตลาดเขียวโรงพยาบาลบางกล่ำ

ผลตามแผน

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย พร้อมจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร ชนิดและปริมาณผลผลิตปริมาณการจำหน่าย และเครือข่ายกลุ่มผู้บริโภคระดับองค์กร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรระหว่างเกษตรกรและโรงพยาบาล ตลาดเขียวโรงพยาบาลบางกล่ำตลาดโรงพยาบาลบางกล่ำ ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 6.30 - 12.00 น.

  2. ผลผลิตการเกษตรในชุมชนได้รับการพัฒนามาตรฐานเกษตรปลอดภัย เช่น มาตรฐาน GAP มาตรฐาน PGS

  3. เกิดการผลักดันนโยบายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและขยายผลไปสู่ชุมชน

  4. เกิดการพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่ให้มีการผลิตอาหารที่ปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
18 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:42:21
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 11:43:22 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา 

กิจกรรมตามแผน

อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอย ให้กับกลุ่มเกษตรกรพื้นที่อำเภอสะเดา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา เป็นความร่วมมือระหว่างเกษตรกรในบ้านหนำคอก อำเภอสะเดา ที่มีความสนใจลดการใช้สารเคมีในสวนยางพารา สวนผักและสวนผลไม้ โครงการฯจึงจัดกระบวนการให้ความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์ และการใช้ไส้เดือนฝอย ซึ่งเป็นงานวิจัยของกรมวิชาการเกษตร โดยเกษตรกรมีความสนใจในผลิตภัณฑ์มาก แต่มีข้อกำจัดในการสั่งซื้อสินค้า เนื่องจากต้องสั่งซื้อจากกรมวิชาการเกษตร ไม่ได้มีขายในท้องตลาดทั่วไป

ผลตามแผน

พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีความรู้เรื่องการใช้สารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือนฝอยของเครือข่ายเกษตรกรอำเภอสะเดา 

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรมีความรู้เรื่องสารชีวภัณฑ์และการใช้ไส้เดือน ในแปลงเกษตร ช่วยลดสารเคมี

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
17 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:46:55
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:11:44 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราให้กับเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยาง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราให้กับเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยาง

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงต้นแบบเกษตรกร 3 ราย ได้แก่ สวนนายนิวัฒน์  เนตรทองคำ นายมนัส ติบุญ  และนายจรูญ พรหมจรรย์ เพื่อเป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรเกษตรกรจำนวน 38 ราย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราให้กับเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยาง ได้ให้เกษตรกรจำนวน 38 ราย จาก 44ราย ที่เป็นต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรจำนวน 3 ราย ได้แก่ สวนนายนิวัฒน์  เนตรทองคำ นายมนัส ติบุญ  และนายจรูญ พรหมจรรย์

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราให้กับเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยาง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เกษตรกรจำนวน 38 ราย จาก 44 ราย  ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรจำนวน 3 ราย ได้แก่ สวนนายนิวัฒน์  เนตรทองคำ นายมนัส ติบุญ  และนายจรูญ พรหมจรรย์ แปลงต้นแบบการทำเกษตรผสมผสารในสวนยางพารา โดยทั้ง 3 แปลง มีความแตกต่างกันในการบริหารจัดการในแปลงยางพารา โดยแปลงที่ได้รับความสนใจและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี คือแปลงนายนิวัฒน์  เนตรทองคำ

ผลการดำเนินงานงวดที่ 2 การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดสงขลาและสำนักงานเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดสงขลาเป็นกลไกสนับสนุนเกษตรกรในอำเภอหาดใหญ่รัตภูมิ สะเดา เทพา คลองหอยโข่งและระโนดเพิ่มพื้นที่ผักและผลไม้ในพื้นที่สวนยางพาราและพื้นที่นาข้าว พร้อมกับส่งเสริมเป็นพื้นที่เรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานให้กับเกษตรกรรายอื่นๆต่อไป

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
13 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:53:17
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:55:04 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

แลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

แลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ได้ให้ผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ จำนวน 49 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตลาดเกษตร ม.อ. เรื่องการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย

ผลตามแผน

แลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี

ผลที่เกิดขึ้นจริง

แลกเปลี่ยนความรู้การดำเนินงานตลาดเกษตร ม.อ. ร่วมกับผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ  จำนวน 49 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตลาดเกษตร ม.อ. เรื่องการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
12 กันยายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:36:43
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 13:38:08 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดแผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดนราธิวาสมีนโยบายในการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อย 3 เรื่อง

กิจกรรมตามแผน

หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สนง.เกษตรและสหกรณ์, สนง.เกษตรจังหวัด, สนง.ประมงจังหวัด สนง.สาธารณสุขจังหวัด,มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ในการรวมรวบข้อมูลสถานการณ์ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

หารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สนง.เกษตรและสหกรณ์, สนง.เกษตรจังหวัด, สนง.ประมงจังหวัด สนง.สาธารณสุขจังหวัด,มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ในการรวมรวบข้อมูลสถานการณ์ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย โดยนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์เป็นผู้เรียบเรียงข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส

ผลตามแผน

เกิดแผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดนราธิวาสมีนโยบายในการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อย 3 เรื่อง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส

2.เกิดแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัยบรรจุในหน่วยงานราชการและสถาบันวิชาการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
31 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:49:45
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:51:15 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมจัดทำแผนพัฒนาตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

ประชุมจัดทำแผนพัฒนาตลาดจะบังติกอ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมจัดทำแผนพัฒนาตลาดจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานี
ระดมความคิดเห็นระหว่างเทศบาลเมืองปัตตานี และผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ ในการพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในตลาด โดยจัดให้มีสถานที่รับประทานอาหาร การจัดการสุขลักษณะของผู้ประกอบ การจัดการขยะ การแต่งตั้งคณะกรรมการตลาด จำนวน 10 คนเพื่อบริหารตลาด

ผลตามแผน

ประชุมจัดทำแผนพัฒนาตลาดจะบังติกอ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ตลาดจะบังติกอ ยกระดับให้เป็นตลาดที่ขายอาหารของชุมชนให้มีมาตรฐาน และส่งเสริมการท่องเที่ยวแหล่งอาหารชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
30 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:31:30
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:20:48 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมพัฒนามาตรฐานการผลิตการเกษตรแบบ GAP และการพัฒนาตลาดเกษตรปลอดภัยในโรงพยาบาล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย

กิจกรรมตามแผน

ประชุมพัฒนามาตรฐานการผลิตการเกษตรแบบ GAP และการพัฒนาตลาดเกษตรปลอดภัยในโรงพยาบาล

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

กิจกรรมการประชุมพัฒนามาตรฐานการผลิตการเกษตรแบบ GAP และการพัฒนาตลาดเกษตรปลอดภัยในโรงพยาบาล วันที่ 30 สิงหาคม 2562 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยโรงพยาบาล เกษตรกร รวม 109 คน โดยหารือใน 2 ประเด็น การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเกษตรกรที่ได้มาตรฐาน GAP จำนวน 1,597 ราย เพื่อให้โรงพยาบาลเข้าถึงข้อมูล และการพัฒนามาตรฐาน GAP ในผลผลิตการเกษตรของเกษตรกรชาวสวนยาง โดยโครงการฯ จะรวมรวบเอกสารของเกษตรกร

ผลตามแผน

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรระหว่างเกษตรกรและโรงพยาบาล

  2. ผลผลิตการเกษตรในชุมชนได้รับการพัฒนามาตรฐานเกษตรปลอดภัย เช่น มาตรฐาน GAP มาตรฐาน PGS

  3. เกิดการผลักดันนโยบายอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาลและขยายผลไปสู่ชุมชน

  4. เกิดการพัฒนาเครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่ให้มีการผลิตอาหารที่ปลอดภัย


    ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

พัฒนากลไกเพื่อเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรไปสู่บริษัทประชารัฐหน่วยงานราชการ โรงพยาบาล โรงเรียนและศพด.นำร่องในอำเภอหาดใหญ่ รัตภูมิ สะเดา คลองหอยโข่ง เทพา และระโนด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
21 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:25:56
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:22:14 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา ครั้งที่1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

กิจกรรมตามแผน

จัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเทศบาลนครยะลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เทศบาลนครยะลา ร่วมกับสนง.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนงานโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยเข้าสู่แผนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการพัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/

ผลตามแผน

พัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการสมวัยในเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org/

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ชุมชน และบุคลากรของเทศบาลนครยะลา จำนวน 52 คนเข้าร่วมกิจกรรมและพัฒนาโครงการ มีจำนวนโครงการ 3 โครงการและจะพัฒนาต่ออีกครั้งให้สมบูรณ์

1) โครงการชุมชนหน้าศูนย์แม่และเด็ก อิ่มอกอิ่มใจจัดการขยะ ผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน

2) โครงการชุมชนจารุนอกร่วมใจผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน

3) โครงการชุมชนการเคหะร่วมใจ ผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน


ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

ความร่วมมือกับเทศบาลนครยะลาให้มีแผนงานโครงการความมั่นคงทางอาหารอาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย โดยบูรณาการร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
20 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:47:06
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:47:59 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมตลาดอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง พร้อมทั้งติดตามประเมินผลถอดบทเรียนและนำไปขยายผลได้

กิจกรรมตามแผน

จัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมตลาดอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมจัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมตลาดอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี และผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ และตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี จำนวน 52 คน

ผลตามแผน

จัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมตลาดอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี

ผลที่เกิดขึ้นจริง

ผู้ประกอบการตลาดจะบังติกอ และตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี จำนวน52 คน ระดมความคิดเห็นต่อสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร โดยภาพรวมของตลาดเป็นแผงลอยขายอาหาร อาหารที่จำหน่ายไม่มีการปกปิดอาหาร ใช้โฟมบรรจุอาหาร ซึ่งจากการระดมความคิดเห็นผู้ประกอบการยินดีให้ความร่วมมือในการจัดสภาพแวดล้อมบริเวณขายอาหารให้มีความสะอาด และจะพัฒนาให้ตลาดจะบังติกอเป็นตลาดขายอาหารที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว สำหรับตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี พบสถานการณ์เรื่องอาหารใส่สี เช่น กุ้งแห้งสีชมพู ไก่สดสีเหลือง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
9 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 13:33:46
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:25:52 น.

ชื่อกิจกรรม : .กิจกรรมการประชุมปรึกษาหารือการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดแผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดนราธิวาสมีนโยบายในการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อย 3 เรื่อง

กิจกรรมตามแผน

จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส ซึ่งทางจังหวัดนราธิวาสมีความร่วมมือจะดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

เข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน 5 แห่ง หารือในประเด็นการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส ซึ่งทางจังหวัดนราธิวาสมีความร่วมมือจะดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ

ผลตามแผน

เกิดแผนปฏิบัติราชการส่วนจังหวัดนราธิวาสมีนโยบายในการจัดปัจจัยแวดล้อมด้านอาหารเพื่อสุขภาวะอย่างน้อย 3 เรื่อง

ผลที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดความร่วมมือของผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นักวิชาการ จัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส

  2. เกิดการทบทวนสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ของจังหวัดนราธิวาส และผลักดันให้เกิดข้อเสนอนโยบายในการแก้ปัญหาด้านระบบอาหารทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย


    ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
25 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:19:58
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 20 มกราคม 2563 12:22:42 น.

ชื่อกิจกรรม : การประชุมหารือความร่วมมือการดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการโดยบูรณาการกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจังหวัดยะลา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 2

วัตถุประสงค์

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

กิจกรรมตามแผน

หารือกับผู้บริหารเทศบาลนครยะลาในประเด็นการทำงานร่วมกันเรื่องการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของท้องถิ่นในการทำงานด้านระบบอาหารและโภชนาการ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมหารือความร่วมมือการดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการโดยบูรณาการกับกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจังหวัดยะลา ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 หารือกับผู้บริหารเทศบาลนครยะลาในประเด็นการทำงานร่วมกันเรื่องการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของท้องถิ่นในการทำงานด้านระบบอาหารและโภชนาการ โดยพัฒนาโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

ผลตามแผน

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

เทศบาลนครยะลาได้มีมติให้ดำเนินการในเรื่องอาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย สำหรับประเด็นความมั่นคงทางอาหารยังนอกเหนือบทบาทของท้องถิ่น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
24 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 12:40:21
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:18:29 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการขับเคลื่อนงานพัฒนาตลาดเทศบาลเมืองปัตตานีให้เป็นอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์ เทศบาลเมืองปัตตานีจำนวน 1 แห่ง

กิจกรรมตามแผน

ประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาตลาดเทศวิวัฒน์เป็นอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมในการสร้างภาคีเครือข่าย ความร่วมมือกับเทศบาลเมืองปัตตานีเรื่องการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัยภายในเทศบาลเมืองปัตตานี โดยจะสร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องการปลอดภัยให้กับผู้ประกอบการ โดยจะทำกิจกรรมในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี โดยดำเนินการในโซนอาหารปรุงสุก อาหารสด ผักและผลไม้ และตลาดจะบังติกอ โดยวางแผนให้ผู้ประกอบการทั้ง 2 แห่งได้มาเรียนรู้กับตลาดเกษตร ม.อ.

ผลตามแผน

เกิดพื้นที่ต้นแบบการจัดการเชิงบูรณาการเพื่อส่งเสริมให้เป็นอุทยานอาหารปลอดภัยตลาดเทศวิวัฒน์

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.ตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานีดำเนินงานผลักดันลดการใช้สีผสมอาหารในกุ้งแห้ง (กุ้งแห้งสีชมพู) โดยการทำงานวิจัย และนำผลการวิจัยสร้างการเรียนรู้ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ผลิตกุ้งแห้ง เพื่อลดปัญหาการใส่สีในกุ้งแห้ง

2.เกิดแหล่งท่องเที่ยวด้านอาหารของชุมชน


ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

การยกระดับตลาดเทศวิวัฒน์ให้เป็นแหล่งจำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานและมีโภชนาการ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
12 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:16:57
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:15:44 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมปรึกษาหารือพัฒนารูปแบบการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรไปสู่โรงพยาบาล โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่จังหวัดสงขลา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 4

วัตถุประสงค์

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย

กิจกรรมตามแผน

ประชุมปรึกษาหารือพัฒนารูปแบบการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรไปสู่โรงพยาบาล โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่จังหวัดสงขลา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

หารือกับโรงพยาบาลจำนวน 7 แห่ง ได้แก่โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลบางกล่ำ โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ โรงพยาบาลจะนะ โรงพยาบาลรัตภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สนง.เกษตรจังหวัด สนง.เกษตรและสหกรณ์ สสจ. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเครือข่ายเกษตรกร รวม 44 คนในประเด็นหารือ พบว่า โรงพยาบาลมีความต้องการผลผลิตการเกษตร แต่ผลผลิตจะต้องมีมาตรฐาน GAP และเงื่อนไขโรงพยาบาลจะมีระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะมีข้อจำกัดในเรื่องการซื้อ หากเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่มีความต้องการในปริมาณที่มาก เกษตรกรไม่สามารถผลิตให้ได้ หากเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กจะมีปริมาณสั่งซื้อน้อย วิธีแก้ปัญหาของโรงพยาบาลคือสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรในพื้นที่ในการผลิตอาหารให้กับโรงพยาบาล และสร้างกระบวนการให้ผลผลิตทางการเกษตรได้รับการพัฒนามาตรฐาน GAP สำหรับเกษตรกรชาวสวนยางทางโครงการร่วมกับ สนง.พัฒนาการเกษตรฯ รณรงค์ให้เกษตรกรขึ้นทะเบียนมาตรฐาน GAP 

ผลตามแผน

เกิด Matching Model ระหว่างเกษตรกรและผู้บริโภค โรงพยาบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อย่างน้อย 50 ราย พร้อมจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายเกษตรกร ชนิดและปริมาณผลผลิตปริมาณการจำหน่าย และเครือข่ายกลุ่มผู้บริโภคระดับองค์กร

ผลที่เกิดขึ้นจริง

หารือกับโรงพยาบาลจำนวน 7 แห่ง ได้แก่โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลบางกล่ำ โรงพยาบาลเทพา โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ โรงพยาบาลจะนะ โรงพยาบาลรัตภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สนง.เกษตรจังหวัด สนง.เกษตรและสหกรณ์ สสจ. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเครือข่ายเกษตรกร รวม 44 คน ในประเด็นหารือ พบว่า โรงพยาบาลมีความต้องการผลผลิตการเกษตร แต่ผลผลิตจะต้องมีมาตรฐาน GAP และเงื่อนไขโรงพยาบาลจะมีระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะมีข้อจำกัดในเรื่องการซื้อ หากเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่มีความต้องการในปริมาณที่มาก เกษตรกรไม่สามารถผลิตให้ได้ หากเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กจะมีปริมาณสั่งซื้อน้อย วิธีแก้ปัญหาของโรงพยาบาลคือสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรในพื้นที่ในการผลิตอาหารให้กับโรงพยาบาล และสร้างกระบวนการให้ผลผลิตทางการเกษตรได้รับการพัฒนามาตรฐาน GAP สำหรับเกษตรกรชาวสวนยางทางโครงการร่วมกับ สนง.พัฒนาการเกษตรฯ รณรงค์ให้เกษตรกรขึ้นทะเบียนมาตรฐาน GAP

  • ตลาด Hatyai Hospital Green Smile Market ทุกวันศุกร์ เวลา 10.00 - 15.00 น.

  • หลาดกรีนปั้นสุข@โรงพยาบาลรัตภูมิ ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 6.30 - 15.00 น.

  • ตลาดโรงพยาบาลบางกล่ำ ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 6.30 - 12.00 น.

  • ตลาดโรงพยาบาลปาดังเบซาร์ ทุกวันจันทร์ เวลา 6.30-13.00 น.

  • ตลาด Khuanniang Green Market ทุกวันพุธ เวลา 6.30 - 11.30 น.

  • ตลาดโรงพยาบาลนาหม่อม ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 6.30-13.00 น.

  • ตลาดโรงพยาบาลจะนะ ทุกวันอังคาร เวลา 7.00 -10.00 น.

  • ตลาดโรงพยาบาลสงขลา ทุกวันศุกร์  เวลา 14.00 – 17.00 น.

ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

พัฒนากลไกเพื่อเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตรไปสู่บริษัทประชารัฐหน่วยงานราชการ โรงพยาบาล โรงเรียนและศพด.นำร่องในอำเภอหาดใหญ่ รัตภูมิ สะเดา คลองหอยโข่ง เทพา และระโนด

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:05:19
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:13:42 น.

ชื่อกิจกรรม : .กิจกรรมการลงพื้นที่จัดทำข้อมูลหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดต้นแบบของแหล่งผลิตอาหารในสวนยางพารา และต้นแบบแหล่งผลิตอาหารในพื้นที่นาข้าว ในอำเภอหาดใหญ่ สะเดา เทพา รัตภูมิ คลองหอยโข่ง และระโนด

กิจกรรมตามแผน

จัดทำหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสารในสวนยางพารา

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่จัดทำข้อมูลหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา วันที่ 2 กรกฎาคม 2562 ผศ.ดร.ปราโมทย์  แก้ววงศ์ศรี คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้คัดเลือกแปลงสวนยางพาราที่เป็นต้นแบบจาก 44 รายโดยคัดเลือกเพียงจำนวน 12 ราย ในอำเภอหาดใหญ่ รัตภูมิ คลองหอยโข่ง สะเดา และเทพา

ผลตามแผน

จัดทำหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสารในสวนยางพารา นักวิชาการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเกษตรที่ทำสวนยางพาราแบบผสมผสานโดยเลือกแปลงยางพาราที่มีการปลูกผัก  การปลูกผลไม้  การเลี้ยงสัตว์ จำนวน 12 แห่ง ซึ่งอยู่ในอำเภอหาดใหญ่ จำนวน 6 ราย อำเภอรัตภูมิ จำนวน 1 ราย อำเภอคลองหอยโข่ง จำนวน 1 ราย อำเภอสะเดา จำนวน 3 ราย และอำเภอเทพาจำนวน 1 ราย

ผลที่เกิดขึ้นจริง

1.มีหลักสูตรของการบริหารจัดการแปลงยางพาราจำนวน 12 ราย ที่สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเกษตรกรชาวสวนยางพารา โดยสวนยางพาราทั้ง 12 แปลง อยู่ในอำเภอหาดใหญ่จำนวน 6 แปลง อำเภอรัตภูมิจำนวน 1 แปลง อำเภอคลองหอยโข่งจำนวน 1 แปลง อำเภอสะเดาจำนวน 3 แปลง อำเภอเทพาจำนวน 1 แปลงอำเภอหาดใหญ่ ข้อมูลที่ได้เป็นแนวคิดการทำเกษตรแบบผสมผสาน แรงบันดาลใจของเกษตรกร นำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นหลักสูตร และยกระดับให้เกษตรกรทั้ง 12 ราย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราให้กับเกษตรกรชาวสวนยางพารา โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าเรียนรู้จะคัดเลือกจากเกษตรกรที่มีความสนใจโดยการประสานงานผ่านการยางแห่งประเทศไทยทั้ง 5 อำเภอ อำเภอละ 30 ราย


2.การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดสงขลา นำร่องในอำเภอหาดใหญ่ สะเดา เทพา รัตภูมิ คลองหอยโข่งสามารถนำพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราทั้ง 12 แปลงเป็นพื้นที่เรียนรู้ให้กับเกษตรกรสวนยางพาราที่จะขอทุนสงเคราะห์การทำสวนยางพาราแบบ ก 5 โดยตั้งกลุ่มเป้าหมายไว้จำนวน อำเภอละ 30 ราย รวม 150 ราย


3.สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ และสำนักงานเกษตรจังหวัด นำต้นแบบการทำ 1 ไร่ 1 แสนของบ้านคูวา จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสนของจังหวัดสงขลา กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 ราย


ผลการดำเนินงานงวดที่ 2
จัดพิมพ์เอกสารแหล่งเรียนรู้ในสวนยางพาราและแหล่งเรียนรู้1 ไร่ 1แสน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
17 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.
รายงานจากพื้นที่
โพสท์โดยwannawannaเมื่อ 20 มกราคม 2563 11:54:00
Project creater , Project owner
แก้ไขโดย wanna เมื่อ 9 ธันวาคม 2563 21:24:47 น.

ชื่อกิจกรรม : กิจกรรมการประชุมเพื่อปรึกษาหารือการดำเนินโครงการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในจังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

คุณภาพกิจกรรม : 3

วัตถุประสงค์

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

กิจกรรมตามแผน

การประชุมหารือการดำเนินงานโครงการฯ การดำเนินงานอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี  ยะลา และนราธิวาส

กิจกรรมที่ปฎิบัติจริง

ประชุมเพื่อปรึกษาหารือการดำเนินโครงการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะในจังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส วันที่ 17 มิถุนายน 2562 โดยที่ประชุมได้ให้ข้อเสนอต่อแนวทางการดำเนินงาน

  • การดำเนินงานอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี มีเครือข่ายที่สำคัญคือ สมาคมร้านอาหารปัตตานี กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองปัตตานี ซึ่งในโครงการระบุพื้นที่เป้าหมายคือตลาดสดเทศวิวัฒน์ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุงตลาด อาจจะไม่เหมาะในการดำเนินกิจกรรม ดังนั้นควรดำเนินงานในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี หรือตลาดอื่นๆในชุมชน

  • อบต.เปียน มีแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง กองทุน สปสช.กับโรงเรียน จึงมีความต้องการเรื่องงานวิชาการในการสนับสนุนการดำเนินงานในท้องถิ่น

  • บริษัทประชารัฐมีกิจกรรมส่งเสริมการแปรูปมะม่วงแช่อิ่มในตำบลสิงหนคร และกลุ่มข้าวช่อขิงอำเภอเทพา

  • การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิ มีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกพืชร่วมกับยาง เช่นส่งเสริมการปลูกกาแฟ หรือโกโก้

  • สนง.เกษตรจังหวัด มีการส่งเสริมเกษตรกรให้ได้มาตรฐานเกษตร GAP

ผลตามแผน

เกิดมาตรการ/นโยบายระดับท้องถิ่นที่ส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอหรือลดภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนจำนวน 4 มาตรการ/นโยบาย และนำไปสู่การปฏิบัติ

ผลที่เกิดขึ้นจริง

หน่วยงานและผู้เข้าร่วมประชุมได้ให้ข้อเสนอต่อแนวทางการดำเนินงาน

  • การดำเนินงานอาหารปลอดภัยจังหวัดปัตตานี มีเครือข่ายที่สำคัญคือ สมาคมร้านอาหารปัตตานี กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองปัตตานี ซึ่งในโครงการระบุพื้นที่เป้าหมายคือตลาดสดเทศวิวัฒน์ ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการปรับปรุงตลาด อาจจะไม่เหมาะในการดำเนินกิจกรรม ดังนั้นควรดำเนินงานในตลาดสดเทศบาลเมืองปัตตานี หรือตลาดอื่นๆในชุมชน

  • อบต.เปียน มีแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง กองทุน สปสช.กับโรงเรียน จึงมีความต้องการเรื่องงานวิชาการในการสนับสนุนการดำเนินงานในท้องถิ่น

  • บริษัทประชารัฐมีกิจกรรมส่งเสริมการแปรูปมะม่วงแช่อิ่มในตำบลสิงหนคร และกลุ่มข้าวช่อขิงอำเภอเทพา

  • การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิ มีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกพืชร่วมกับยาง เช่นส่งเสริมการปลูกกาแฟ หรือโกโก้

  • สนง.เกษตรจังหวัด มีการส่งเสริมเกษตรกรให้ได้มาตรฐานเกษตร GAP

  • เกิดการส่งเสริมการจัดการอาหารกลางวันในโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน โดยมีผักผลไม้ตามเกณฑ์มาตรฐานขององค์การอนามัยโลก

  • เกิดการติดตามภาวะโภชนาการเด็ก ลดปัญหาเด็กเตี้ย เด็กผอม และเด็กอ้วนในเทศบาลนครยะลา

  • เกิดการส่งเสริมด้านอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยมีกิจกรรมส่งเสริมการทำเกษตร มาตรฐานอาหารแผงลอย การคุ้มครองผู้บริโภค


    ผลการดำเนินงานงวดที่ 2

การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารสงขลา ไปสู่แผนปฏิบัติราชการในหน่วยงานราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

รายงานการใช้เงิน
ประเภทรายจ่ายรวมรายจ่าย
ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุค่าสาธารณูปโภคอื่น ๆ
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00