รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 57-ข-019
งวดที่ 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ชื่อโครงการ การดำเนินงานโครงการการผลักดันข้อบัญญัติเรื่องความมั่นคงทางอาหารเพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
รวบรวมเอกสารข้อมูลเบื้องต้น ดูภาพรวมโครงการ | วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำค้นหาทางอินเตอร์เน็ต / เดินทางไปที่สำนักงานสภาเกษตรกร ที่จังหวัดสงขลา เพื่อขอเอกสาร ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง |
ได้ข้อมูลเบื้องต้นจากอินเตอร์เน็ต กรณี เกษตรพันธสัญญา อีกส่วน คือการประสานงานกับสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสงขลา แนะนำตัวและทำความเข้าใจเบื้องต้นร่วมกันในกรอบงานของโครงการ และของสภาเกษตรกร ในเบื้องต้น ได้ขอรายชื่อคณะกรรมการสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดสงขลาเพื่อการขอรับการสนับสนุนในระดับพื้นที่ต่อไป ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสาร ข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำค้นหาข้อมูล เอกสารเกษตรพันธสัญญา จากอินเตอร์เน็ต เดินทางไปทำความรู้จักและปรึกษาดูข้อมูลเบื้องต้นที่สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา |
ได้เอกสารเกษตรพันธสัญญา และหนังสือ....เพื่อดูกรอบคิดและทำความเข้าใจเพื่อออกแบบรายละเอียดการทำงาน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสาร ข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำค้นหาข้อมูลงานวิจัยเกษตรพันธสัญญาจากห้องสมุด มอ. และค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ตต่อ |
งานวิจัยเกษตรพันธสัญญาโดยตรง ยังไม่พบ มีคำแนะนำให้ค้นหาที่กรุงเทพ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เรียนรู้เรื่องการลงข้อมูลเว็บไซด์ | วันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำฝึกปฏิบัติการ การจัดทำข้อมูลรายงานลงเว็ปโครงการ |
ได้เรียนรู้และลองทำ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมเอกสารข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำไปทำความรู้จักและขอดูข้อมูลเกษตรกรสมาชิกกองทุนฟื้นฟู ว่ามีผลกระทบจากกรณีเกษตรพันธสัญญาหรือไม่อย่างไร |
ได้ข้อมูลเบื้องต้นจากอินเตอร์เน็ตกรณี เกษตรพันธสัญญา และในส่วนสภาเกษตรกร ได้รายชื่อคณะกรรมการสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดสงขลา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสารเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำอ่านเอกสาร |
ได้ทราบ สรุป กรอบคิดเกษตรพันธสัญญา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสาร ข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 2 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำค้นหาข้อมูล เอกสารเกษตรพันธสัญญา จากอินเตอร์เน็ต เดินทางไปทำความรู้จักและปรึกษาดูข้อมูลเบื้องต้นที่สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา อ่านเอกสารที่ได้ ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มทางอินเตอร์เน็ต |
ได้กรอบคิดและแนวทางการจัดทำมาตรการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสารเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 8 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำอ่านเอกสาร เกษตรพันธสัญญา ผลตอบแทนความเสี่ยงและความเป็นธรรม ของ โครงการการคุ้มครองการพัฒนารูปแบบสัญญาที่เป็นธรรมและกลไกการจัดการ ศึกษาโดยคณะวิจัย ผู้ประสานงานโดย ชัฏทรวง หลวงพล |
อ่านได้ ๒ บท การเกิดของเกษตรพันธสัญญา และผลสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสารเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 19 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำอ่านเอกสารที่ได้ ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มทางอินเตอร์เน็ต |
ได้กรอบคิดและแนวทางการจัดทำมาตรการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมเอกสารข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 22 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำไปขอข้อมูล และเอกสารที่เกี่ยวข้อง |
ไม่ได้ตามที่คาดหวัง ไม่มีข้อมูลที่ต้องการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
รวบรวมข้อมูลเอกสารเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 26 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำไปขอข้อมูล เอกสารและความคิดเห็นเบื้องต้น |
ทราบสถานการณ์เบื้องต้น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 2 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำโทรศัพท์ คุยกรอบคิดปรึกษาความเป็นไปได้ของข้อเสนอผ่านเวทีสาธารณะ และผ่านสื่อสาธารณะในจังหวัดสงขลาโดยเครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ หน่วยงานรัฐ และท้องถิ่น |
มีคนเห็นด้วยและ ยังไม่เข้าใจประเด็นนี้บางส่วน ยังต้องทำงานความคิดต่อประเด็นนี้อีกหน่อย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 8 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำโทรศัพท์ คุยกรอบคิดปรึกษาความเป็นไปได้ของข้อเสนอผ่านเวทีสาธารณะ และผ่านสื่อสาธารณะในจังหวัดสงขลาโดยเครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ หน่วยงานรัฐ และท้องถิ่น |
เห็นแนวการทำเวทีฯ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เพื่อเตรียมการจัดเวทีแลกเปลี่ยน ดูกรอบร่างข้อเสนอ | วันที่ 11 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำโทรศัพท์ คุยกรอบคิดปรึกษาความเป็นไปได้ของข้อเสนอผ่านเวทีสาธารณะ และผ่านสื่อสาธารณะในจังหวัดสงขลาโดยเครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ หน่วยงานรัฐ และท้องถิ่น |
ความเข้าใจร่วมมากขึ้นแต่ยังไม่ออกแบบรายละเอียด ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 19 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเดินทางไปคุยกรอบคิดปรึกษาความเป็นไปได้ของข้อเสนอผ่านเวทีสาธารณะ และผ่านสื่อสาธารณะในจังหวัดสงขลาโดยเครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ หน่วยงานรัฐ และท้องถิ่น |
ทำความเข้าใจได้ดีขึ้น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 24 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำคุยเครือข่ายภาคประชาชน |
ได้แค่แจ้งทราบ มีภารกิจอื่นของภาคประชาชนด่วนกว่า อาทิ เรื่องความเดือดร้อนราคาและแนวทางกฏหมายยางพารา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานเตรียมการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกษตรพันธสัญญา | วันที่ 28 มกราคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำกรอบคิดปรึกษาความเป็นไปได้ของข้อเสนอผ่านเวทีสาธารณะในประเด็นนี้ |
รับหลักการด้วยกัน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
สังเคราะห์สถานการณ์ปัญหา จัดทำกรอบข้อเสนอมาตรการ | วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำดูเอกสาร สังเคราะห์ |
ได้ความคิดกรอบเขียน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำกรอบคิด ประมวลสถานการณ์เตรียมร่างในการจัดทำมาตรการ | วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำศึกษาเอกสาร สังเคราะห์ |
ได้กรอบเขียน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำกรอบคิด ประมวลสถานการณืเตรียมร่างในการจัดทำมาตรการ | วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำศึกษาเอกสารและความคิดเห็นเบื้องต้น |
ได้กรอบร่างแรก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำกรอบคิด ประมวลสถานการณืเตรียมร่างในการจัดทำมาตรการ | วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเขียนร่างในการจัดทำมาตรการ |
ได้กรอบร่างแรก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำกรอบคิด ประมวลสถานการณืเตรียมร่างในการจัดทำมาตรการ | วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเขียนข้อเสนอและมาตรการเรื่องความมั่นคงทางอาหาร กรณี เกษตรพันธสัญญาเบื้องต้น |
ได้ร่างแรก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำกรอบคิด ประมวลสถานการณืเตรียมร่างในการจัดทำมาตรการ | วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเขียนเอกสาร |
ได้ร่างแรก ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การแลกเปลี่ยนข้อมูล | วันที่ 3 มีนาคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์อาหารในจังหวัดสงขลา |
แลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์อาหารในจังหวัดสงขลา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การแลกเปลี่ยนข้อมูล | วันที่ 30 เมษายน 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตรกร นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน และส่วนราชการ |
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตรกร นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน และส่วนราชการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
แลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์กลุ่มเกษตรกรและองค์กรพัฒนาเอกชน | วันที่ 29 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำพูดคุยกลุ่มย่อยเกษตรกรและองค์กรพัฒนาเอกชน |
พูดคุยกลุ่มย่อยเกษตรกรและองค์กรพัฒนาเอกชน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
แลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์ร่วมกับนักวิชาการ และส่วนราชการ | วันที่ 2 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์ร่วมกับนักวิชาการ และส่วนราชการ |
แลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์ร่วมกับนักวิชาการ และส่วนราชการ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การสร้างมาตรการกดดันเพื่อทำข้อตกลงร่วมสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา | วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การสร้างมาตรการกดดันเพื่อนำไปสู่การทำข้อตกลงร่วมความมั่นคงทางอาหารจังหวัดสงขลา | วันที่ 28 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำพูดคุยเพื่อหามาตรการข้อตกลงความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดสงขลา |
พูดคุยเพื่อหามาตรการข้อตกลงความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดสงขลา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การประชุมให้ข้อเสนอแนะ และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย กรณีระบบเกษตรพันธสัญญา การทำประมง อวนรุน อวนลาก และการทำประมงผิดกฎหมาย | วันที่ 8 กันยายน 2558 เวลา 09:30ลักษณะกิจกรรมที่ทำเปิดประชุมโดย รศ.ดร.พงษ์เทพ สุธีรวุฒิ อธิบายการทำงานร่วมกับ สสส. เรื่องการบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา ในกรณีการทำประมงด้วยเครื่องมือล้างผลาญทรัพยากร อวนรุน อวนลาก และเกษตรพันธะสัญญา ซึ่งทั้งสองกรณีส่งผลกระทบทำให้ความมั่นคงทางอาหารในพท.จังหวัดสงขลา ทำให้เกษตรกรไม่สามารถพึ่งตนเองได้ วาระการพุดคุย 1. เรื่อง เกษตรพันธสัญญา : ในการทำเกษตรพันธสัญญาในพท.สงขลามีข้อมูลน้อย เกษตรกรที่ทำในระบบนี้ยังขาดการเชื่อมกับหน่วยงานรัฐจากข้อมูลที่เราพบเห็นในจังหวัดสงขลา มีบริษัทใหญ่ๆอยู่ 3 บริษัท ที่ดำเนินการอยู่ คือ CP CPF เบทาโกร และยังมีบริษัทที่เล็กลงไป แต่ถือว่าเป็นบริษัทใหญ่เหมือนกัน คือ ลูกปลาฟาร์ม 2.เรื่อง การทำประมง อวนรุน อวนลาก และประมงผิดกฎหมาย นายสาโรช อุบลสุวรรณ เจ้าหน้าที่ศูนย์อนุรักษ์ที่ 4 และนายจำรัส หวังมณีย์ ได้อธิบายสถานการณ์การทำประมงในพท.จังหวัดสงขลา ด้วยลักษณะของพท.สงขลาที่มีทะเล 2 ฝั่ง คือฝั่งอ่าวไทย และทะเลสาบสงขลา ในทะเลอ่าวไทยจะมีการทำประมงเรืออวนลาก ส่วนในทะเลสาบสงขลา เครื่องมือที่ทำลายทรัพยากรสัตว์น้ำ เช่น เรืออวนรุนขนาดเล็ก ของชาวบ้านที่มีการดัดแปลง ใช้เรือหางยาวธรรมดา ใช้เครื่องฮอนดาขนาด 9 แรง 15 แรง แรงงาน 2 คน มีประมาณ 200 ลำ มีการใช้อวนตาเล็กๆ จับลูกปู ปลาขี้ตังขนาดเล็ก และลอบไอ้โง่ ลักษณะคล้ายๆไซ สัตว์น้ำเข้าได้ทั้งซ้ายและขวา แต่พับได้และสามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ โพงพาง ประมาณ 1,700 และไซนั่งประมาณ 20,000 กว่าลูก เต็มทะเลสาบ ทำให้ปริมาณสัตว์น้ำลดลงอย่างรวดเร็ว วิกฤตทะเลสาบสงขลาคือ ปริมาณสัตว์น้ำตามธรรมชาติ มีสัดส่วนน้อยที่จะขยาย หรือแพร่พันธุุืได้เอง ส่วนใหญ่สัตว์น้ำที่ชาวประมงจับได้ล้วนมาจากพันธุ์สัตว์น้ำ เช่น ลูกกุ้ง ปลา ที่กรมประมงปล่อย ในส่วนของการฟื้นฟูและอนุรักษ์ มีหลายพื้นที่ชุมชนที่อาศัยโดยรอบพื้นที่ทะเลสาบ เช่น พท.บางเหรียง อำเภอควนเนียง พท.ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร เริ่มทำเขตอนุรักษ์ ทำฟาร์มทะเล และการทำงานร่วมกับภาครัฐในการตรวจการณ์การเฝ้าระวังการทำประมงผิดกฎหมาย ซึ่งปัจจุบันตามคำสั่ง คสช. ฉบับที่ 24/2558 ปัจจุบันมีโทษปรับคนที่กระทำผิดตั้งแต่ 100,000-500,000 บาท และจำคุกไม่เกิน 5 ปี โทษรุนแรงขึ้นมาก เช่น อวนรุนเป็นเครื่องมือประมงที่ห้ามมีไว้ในครอบครอง ซึ่งเดิมเจ้าหน้าที่ของรัฐจะจับได้ ต้องรอให้ชาวประมงมีการลงมือกระทำก่อน หากกฎหมายฉบับนี้ได้ระบุโทษ มีเครื่องมืออยู่ในครอบครองก็สามารถจับกุมได้ อวนลากขนาดช่องตาอวนก้นถุงเล็กกว่า 5 เซนติเมตร และการรื้อถอนโพงพาง ไซนั่ง หรือเครื่องมือที่อยู่ในทะเลสาบสงขลา ต้องรื้อถอนออกทั้งหมด ไม่เฉพาะที่อยู่ในแนวร่องน้ำ การทำงานในระดับพื้นที่การสำรวจเครื่องมือประมง และแจ้งให้เจ้าของเครื่องมือทราบว่าเป็นเครื่องมือที่ผิดกฎหมาย และออกประกาศให้เจ้าของรื้อถอน หลังจากรื้อถอน ขั้นตอนสุดท้ายเป็นขั้นตอนการเยียวยา เช่น เรื่องเครื่องมือ การสร้างอาชีพ ซึ่งหากมาตรการดังกล่าวทำได้ผลทะเลสาบสงขลา จะฟื้นตัว |
ได้ข้อเสนอแนะในการประสานบุคคลากรของหน่วยงานรัฐ และอปท.ในการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนและจัดทำข้อเสนอทางนโยบายสาธารณะ ของพื้นที่ที่กี่ยวกับเกษตรพันธสัญญา และประมงผิดกฎหมายในวันที่ 16 กันยายน 2558 เพื่อนำไปสูประเด็นการสร้างความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่จังหวัดสงขลา ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี |
||||
การประชุมแลกเปลี่ยนสถานการณ์และจัดทำข้อเสนอนโยบายสาธารระเพื่อความมั่นคงทางอาหาร กรณีเกษตรพันธสัญญา และกาทำประมงผิดกฎหมาย | วันที่ 16 กันยายน 2558 เวลา 09:30-15.00 น.ลักษณะกิจกรรมที่ทำมีการระดมความคิดเห็นจากส่วนราชการ ภาคเอกชน เกษตรกร นักวิชาการ ซึ่งได้แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ในภาคเช้า และภาคบ่าย ดำเนินรายการโดยคุณเอกชัย อิสระทะ -เปิดการประชุมในภาคเช้า โดยรศ.ดร.พงษ์เทพ สุธีรวุฒิ ได้กล่าวการทำงานระหว่างสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ร่วมกับ สสส. หนึ่งในนั้นคือ ทำเรื่องบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นพื้นที่นำร่องมีอยู่2ที่ คือ จังหวัดเชียงรายและจังหวัดสงขลา ในส่วนของจังหวัดสงขลาทำอยู่ 3 เรื่อง คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย การขับเคลื่อน และแนวทางพัฒนาต่อ -กรณีของตำบลควนรู การเลี้ยงหมูแบบเกษตรพันธะสัญญาที่เกษตรกรทำกับบริษัทซีพี เลิกกิจการเกือบทั้งหมด เนื่องจากพอถึงจุดคุ้มทุน บริษัทก็จะให้เปลี่ยนระบบใหม่ เกษตรกรต้องลงทุนใหม่ ตอนนี้มีการเลี้ยงไก่เนื้อแทน กำลังก่อสร้างโรงเรือน ซึ่งทางท้องถิ่นเป็นแค่ผู้อนุญาตให้ก่อสร้างอาคาร แต่ต้องผ่านทางประชาคมหมู่บ้าน และหากการเลี้ยงมีผลกระทบต่อชุมชนก็จะให้เลิกทันที และทำเป็นพื้นที่นำร่องในเรื่องของการผลิตผักปลอดสารพิษ สถาบันวิชาการสนับสนุน แต่ละภาคส่วนร่วมมือกัน ก็จะทำให้ชุมชนเข้มแข็งขึ้น ซึ่งจะลดเกษตรกรที่จะเข้าสู่ระบบเกษตรพันธะสัญญา -มาตการทางกฎหมาย พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม ซึ่งผ่านสภาปฏิรูปแห่งชาติ และเสนอ ครม. พรบ.ฉบับนี้ไปเกี่ยวกับสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ซึ่งทำเรื่องของเกษตรพันธะสัญญา ร่าง พรบ.ฉบับนี้ ซึ่งมีอยู่ 5 หมวด และหมวดเฉพาะกาล มี 23 มาตรา กล่าวคือ 1.มีการจัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม มีรัฐมนตรีที่นายกมอบหมายเป็นประธาน มีหน้าที่ในการจัดทำยุทธศาสตร์ จัดทำแผนแม่บท กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการจดแจ้งธุรกิจทางการเกษตร พัฒนาศักยภาพเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ในภาครัฐ 2.เรื่องของการจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม เพื่อรองรับคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม ภายใต้สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ซึ่งต้องผ่าน ครม. ตามโครงสร้าง มีหน้าที่ดุแลเรื่องระบบข้อมูล รับแจ้ง การตรวจสอบและตัวกลางประสานงาน 3.เรื่องของการจดแจ้งและเปิดเผยข้อมูล ซึ่งสัญญาจะไม่มีปกปิดเป็นความลับ ซึ่งคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม จะต้องทำหน้าที่ดูแลระบบการจดแจ้งของบริษัท ให้ประชาชนทั่วไปเข้าถึงและตรวจสอบผู้ประกอบการได้ 4.สัญญาข้อตกลงมาตรฐานและข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรมจะต้องมีข้อกำหนดเรื่องของมาตรฐานขั้นต่ำ 5.การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการคุ้มครองคู่สัญญาในระหว่างการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรม ต้องทำหน้าที่เป็นตัวกลาง นำผู้ที่พิพาทเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย 6.เป็นบทกำหนดโทษ คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธะสัญญาที่เป็นธรรมหรือเจ้าหน้าที่มีอำนาจออกคำสั่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจง ภาคบ่าย จังหวัดสงขลาในอดีตเป็นทะเลสาบที่อุดมสมบูรณ์ มีสัตว์น้ำกว่า 700 ชนิด หากในปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องมือประมงผิดกฎหมาย เรือประมงอวนรุน อวนลาก เรืออวนลากเดี่ยวขนาดเล็กใช้เรือหางยาว มีคน 2 คน ประมาณ 100 ลำ และมีอวนลากแผ่นตะเข้ พบอวนรุนในพื้นที่ทะเลสาบตอนล่าง ประมาณ 200 ลำ โพงพาง ไซนั่ง และไอ้โง่ (ไซหนอน) และทะเลสาบตอนบนจะมีปัญหาเรื่อง ช๊อตปลา ยาเบื่อ ปัญหาทั้งทะเลนอกและทะเลสาบเป็นปัญหาเรื้อรังมาจนถึงปัจจุบัน การจัดการเพื่อไม่ให้มีเครื่องมือการทำการประมงผิดกฎหมายมีมาตั้งแต่สมัยพลเอกเปรมเป็นนายกรัฐมนตรี เช่น การจัดสรรที่ให้คนที่อยู่รอบทะเลสาบสงขลาหันไปประกอบอาชีพอื่น ก็ไม่ประสบความสำเร็จ และเป็นปัญหาต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน งบประมาณในการวิจัยแก้ไขปัญหาในทะเลสาบ มีการทุ้มงบประมาณหมื่นล้านบาท ที่มีงานวิจัยในมหาวิทยาลัย เช่น ม.ทักษิณ มอ. และม.ราชภัฏสงขลา ซึ่งมีแต่ข้อมูล แต่ในทางปฎิบัติยังไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ ในรัฐบาลชุดพล.อ.ประยุทธ์ ได้มีคำสั่ง คสช.24/2558 สามารถจับผู้กระทำผิดที่มีเครื่องมือประมงผิดกฎหมายไว้ในครอบครองได้โดยที่ไม่ต้องอยู่ในระหว่างการกระทำผิด ประมงออกกฎหมายมาใหม่ซึ่งมีแต่ตัวแม่บท ยังต้องอ้างกฎหมายลูกซึ่งเป็นกม.เก่า ซึ่งพ.ร.บ.ตัวนี้น่าจะมีปัญหาผลที่ตามมา คือ กฎหมายออกมาดี แต่มีปัญหาตอนบังคับใช้ เนื่องจากหน่วยงานงานที่มีพ.ร.บ.เป็นของตัวเอง แต่ไม่มีหน่วยงานของตัวเองที่มีพนักงานสอบสวน นอกจาก สภ.ในพื้นที่ ที่มีอำนาจสอบสวนจนไปถึงในชั้นศาล เจ้าหน้าที่ประมงจับกุมได้ เมื่อส่งถึงโรงพัก ก็หมดหน้าที่ ไม่มีอำนาจอะไรอีก ก็เป็นอำนาจหน้าที่ของตำรวจ อัยการและศาล การทำงานของสมาพันธ์ประมงก็เช่นกัน การทำงานในทะเลสาบก็จะถูกจำกัดไปด้วยหลายๆข้อ
จากการที่ปฏิบัติหน้าที่ของศูนย์บริหารจัดการประมงฯ สามารถจับเครื่องมือประมงผิดกฎหมาย คือ อวนรุน อวนลาก โพงพาง ไอ้โง่หรือลอบพับ เพิ่งแพร่มาสู่สงขลาไม่เกิน 2 ปี รายงานผลการจับกุม เฉพาะอวนรุนในทะเลสาบสงขลา ปี 2555 จับอวนรุนได้ 22 ลำ ผู้ต้องหา 20 ราย ซึ่งเรือที่ได้จากการจับกุมทุกลำ ศาลสั่งยึดเป็นทรัพย์สินของรัฐ ปี 2556 จับอวนรุนได้ 26 คดี ผู้ต้องหา 19 ราย ปี 2557 จับอวนรุนได้ 35 คดี ผู้ต้องหา 36 ราย ปี 2558 จับกุมได้ 11 คดี ผู้ต้องหา 16 ราย ในปี 2557 เริ่มมีเครื่องมือบางชนิดกลับเข้ามาในทะเลสาบ คือ อวนลากข้าง และอาศัยตามคำสั่ง คสช. ที่ 24/2558 เจ้าหน้าที่ได้ยึดไซนั่ง ที่อยู่ในน้ำ 250 กว่าลูก ลอบไอ้โง่ หรือไซหนอน ลอบพับ ลอบคอนโด ซึ่งเป็นลอบที่มีงาทั้ง 2 ข้าง ความยาวเกือบ 10 เมตร:ลูก สามารถวางต่อกันได้ ส่วนใหญ่ชาวประมงมีไว้ในครอบครองเกิน 20 ลูก:คน เครื่องมือทุกอย่างอยู่ในทะเลสาบตอนนี้รวมทั้งอวนล้อม การทำประมงในที่สาธารณะ ต้องมีอาญาบัตร หรือใบอนุญาต สงขลามีพื้นที่ประกาศให้ทำไซนั่งได้ 300 กว่าไร่ 2 แปลง คือ ทางทิศตะวันตกของเกาะยอ แต่ต้องขออาญาบัตรจากสำนักงานจังหวัด |
ได้แนวทางในการขับเคลื่อนการทำงานร่วมกันของภาคส่วนต่างๆ -สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ : จัด พท.นำร่องในการผลิตอาหารปลอดภัยระหว่างเกษตรกร และและผู้ประกอบการ ในการจัดเป็นแหล่งจำหน่ายผลผลิตให้กับผู้บริโภค เช่น ห้างสรรพสินค้า ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.นส.วรรรณา สุวรรณชาตรี |