โครงการพัฒนากลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารภาคประชาชน จังหวัดสงขลา ปีที่ 2

แผนงานอาหารปลอดภัย

by dezine @October,09 2014 11.25 ( IP : 113...139 )

รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 57-ข-003
งวดที่ 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนากลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารภาคประชาชน จังหวัดสงขลา ปีที่ 2

กิจกรรมผลงาน
(ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี)
ผลสรุปที่สำคัญประเมินผล คุณภาพกิจกรรม
4321
กิจกรรม 2.2.1 ประชุมความร่วมมือเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย

วันที่ 1 กันยายน 2557 เวลา 13:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่  ฝ่ายสาธารณสุข  เทศบาลนครหาดใหญ่ อาสาสมัครสาธารณะสุข  และสามคมผู้บริโภคสงขลา เพื่อนำเสนอสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคและร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา  ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นให้เทศบาลนครหาดใหญ่  แต่งตั้งคณะทำงานด้านอาหารปลอดภัยขึ้น  เพื่อทีจะได้เกิดการทำงานในพื้นที่หาดใหญ่  อย่างต่อเนื่อง

ได้เวทีความร่วมมือในการดำเนินงานในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่  เป็นแนวทางในการทำความร่วมมือในระดับเทศบาลนครหาดใหญ่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การสร้างความร่วมมือในระดับจังหวัด  เป็นภาพกว้าง  หาปฎิบัติการได้ยาก  ควรทำเป็นพื้นที่เล็กลง เพื่อเป็นการนำร่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

กิจกรรม 2.2.1 ประชุมความร่วมมือเครือข่ายเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2

วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เวลา 13:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 จำนวน 5 คน

มีการประชุมร่วมระหว่างสมาคมผู้บริโภคสงขลา  เทศบาลนครหาดใหญ่ และ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่  เพื่อวางแผนการำเนินงานต่อเนื่อง  ทำให้เกิดผลักดันให้เกิดคณะทำงานด้านอาหารปลอดภัยร่วมกัน  และมีการจัดเวทีความร่วมมือกรณีกระเช้าของขวัญร่วมกัน 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เทศบาลนครหาดใหญ่และ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบน้อย  แต่ภารงานเยอะ 

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ร่แลกเปลี่ยนและเสนอแนะการทำงานวมติดตาม

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.3.2 สร้างปฏิบัติการและกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐ

วันที่ 27 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ในเวทีประชุม “กระเช้าของขวัญปลอดภัย...ใส่ใจผู้บริโภค” 27ต.ค.57  โดยเชิญผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขมาชี้แจงประกาศระเบียบที่เกี่ยวข้อง  ตลอดจนปัญหาการละเมิดสิทธิผู้บริโภค  เพื่อให้ผู้ประกอบการปฏิบัติได้ถูกต้องและผู้บริโภคมีความรู้ในการคุ้มครองตัวเองและเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่

มีการจัดเวทีร่วมกันเพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภค  โดยมีการทำงานร่วมระหว่างเทศบาลนครหาดใหญ่  ,สมาคมผู้บริโภคสงขลา , สสอ.,สสจ.และ สคบ. และมีแผนในการออกตรวจกระเช้าของขวัญร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้ประกอบการให้ความร่วมมือน้อย  ซึ่งอาจเกิดจาการประสานงานที่ไม่ชัดเจน  ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

โอนเงินคืน สจรส.(โอนเกิน)

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

กิจกรรม 2.3.1 อบรมการติดตามเฝ้ระวัง(เข้าร่วมประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค)

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมเวที

อาสาสมัครได้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับจีเอ็มโอ  และความมั่นคงปลอดภัยด้านอาหาร

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีการเติมเต็มข้อมูลอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

การสนับสนุนข้อมูล

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

การติดตามแลกเปลี่ยน

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.3.1 อบรมเรื่องการติดตามเฝ้าระวัง

วันที่ 13 มกราคม 2558 เวลา 13:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยของขนมหน้าโรงเรียน  กับนักเรียน ชั้น ป.3-ป.6  ครู และผู้ปกครอง โรงเรียนสมาคมไทยผลิตยา ต.ปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา

มีการอบรมให้ความรู้กับนักเรียน  ครู และผู้ปกครอง  ให้มีความรู้เกี่ยวกับขนมหน้าโรงเรียน  ความสำคัญของการอ่านฉลาก 

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เป็นการปฏิบัติการในพื้นที่เล็ก  ซึ่งอาจต้องหาแนวทางในการสนับสนุนการดำเนินงานต่อ

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ความต่อเนื่องในการสนับสนุน

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

การร่วมติดตามสนับสนุนการดำเนินงาน

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.1 ประชุมสร้างความร่วมมือพัฒนากลไกอาหารปลอดภัยจังหวัดสงขลา”

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร  ได้แก่  สสจ. ,ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลา ,เกษตรจังหวัด ,องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ,สมาคมผู้บริโภคสงขลา และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

ได้แนวทางในการทำงานร่วมกัน และต้องมีการประงานต่อเนื่อง  ส่วนการดำเนินงานในระดบพื้นที่สามารถดำเนินงานประสานต่อกับอาสาสมัครและท้องถิ่นได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

หน่วยงานภาครัฐเน้นทำงานตั้งรับ  และมีภารกิจงานค่อนข้างมาก จึงไม่อยากทำงานมากกว่าที่หน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ช่วยประสานสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ช่วยประสานสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และท้องถิ่นในพื้นที่

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.1 การประชุมความร่วมมือเครือข่ายเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัยสงขลา

วันที่ 3 มีนาคม 2558 เวลา 09:00-16.00 น.

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมเครือข่ายอาสาสมัคร 12 อำเภอเพื่อทบทวนและวางแผนการทำงานในพื้นที่ จำนวน 26 คน

-ได้ทบทวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาในพื้นที่  และได้แผนการทำงานในพื้นที่และการทำงานร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ต้องทบทวนการทำงานที่ผ่านมาและต้องอาศัยทุนเดิมของพื้นที่เพื่อเชื่อมการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.1 ประชุมสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน ท้องถิ่น และเครือข่ายอาสาสมัครในการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยสงขลา

วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานและท้องถิ่นที่ดำเนินงานเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในสงขลา ผู้เข้าร่วม มาจากเครือข่ายอาสาสมัครพื้นที่  หน่วยงานที่มาร่วมแลกเปลี่ยน สำนักงานสาธารณุสขจังหวัดสงขลา เทศบาลนครหาดใหญ่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ รพ.สต.โคกม่วง อบต.โคกม่วง อบต.ควนรู  เทศบาลตำบลบ้านหาร เทศบาลเมืองสิงหนคร เทศบาลตำบลคลองแงะ อสม.ดีเด่นด้านการคุ้มครองผู้บริโภคอ.รัตภูมิ  รวมผู้เข้าร่วมทั้งหมด จำนวน 50 คน

ได้เกิดการแลกเปลี่ยนการทำงานของแต่ละหน่วยงานกับเครือข่ายอาสาสมัคร  และเกิดแผนปฏิบัติการ ในการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่  สามารถสร้างความร่วมมือและแนวทางในการทำงานร่วมกันได้มากขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

  • หน่วยงานในระดับท้องถิ่น หลายพื้นที่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการคุ้มครอผู้บริโภค
  • สมาคมต้องสร้างโอกาสให้อาสาสมัครและหน่วยงานได้เชื่อมโยงการทำงานมากขึ้น  และสนับสนุนแผนการดำเนินงานในพื้นที่ต่อไป

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรเกิดการสนับสนุนแผนการดำเนินงานในระดับพื้นที่ต่อไป

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.1 การประชุมความร่วมมือเครือข่ายเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยพื้นที่ อบต.ท่าข้าม

วันที่ 29 พฤษภาคม 2558 เวลา 14:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ได้คุยแลกเปลี่ยนการทำงานในพื้นที่ของ อบต.

สนับสนุนเอกสารหรือชุดข้อมูลการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค เช่น การรับเรื่องร้องเรียนให้กับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

พื้นที่ได้ดำเนินการมาแล้วในทุกด้าน

ต้องการให้สนับสนุนข้อมูลเรื่องสิทธิผู้บริโภค การทำงานรับเรื่องร้องเรียน  เอกสารเผยแพร่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 การผลักดันให้เกิดการทำงานอย่างต่อเนื่องและมีระบบอาสาสมัครในระดับพื้นที่

วันที่ 2 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการจัดเวทีวงคึุฃุยประชุมเตรียมงานการวางแผนการทำงานในระดับพื้นที่

เกิดแผนการทำงานในระดับพื้นที่และการสนับสนุนกิจกรรมในระดับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ควรมีการสนับสนุนการทำงานพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรสนับสนุนการทำงานพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.1 ประชุมอาสาสมัครเครือข่ายผู้บริโภค 12 อำเภอ

วันที่ 2 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อวางแผนการทำงานในระดับพื้นที่

พื้นที่ได้จัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนของคณะทำงานในพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ตำบลโคกม่วงอ.คลองหอยโข่ง

วันที่ 8 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนการทำงานและทำความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของคนใชพื้นที่และการบูรณาการร่วมกับกองทุนท้องถิ่นในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ต่อไป

มีเครือข่ายคณะทำงานที่เข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภค มีท้องถิ่นเข้ามามีว่วนร่วมในการทำงาน มีหน่วยงานรพ.สต.เข้ามามีส่วนร่วม เกิดการวางแผนการทำงานร่วมกัน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนข้อมูลการทำงานให้กับพื้นที่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.จะนะ สงขลา

วันที่ 27 มิถุนายน 2558 เวลา 12:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนการทำงานในพื้นที่เพื่อทำความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ และเกิดกลไกการทำงานในระดับพื้นที่ต่อไป

เกิดการขยายกลไกการทำงานในระดับพื้นที่ให้ครอบคลุม เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานในพื้นที่ให้เกิดความต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.สิงหนคร สงขลา

วันที่ 28 มิถุนายน 2558 เวลา 12:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เพื่อทำความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ และเกิดกลไกการทำงานในพื้นที่ต่อไป  โดยมีท้องถิ่น ผู้นำชุมชนเข้าร่วมแลกเปลี่ยน

มีแผนการอบรมทำความเข้าใจให้กับกลุ่มแกนนำชุมชนต่อไปให้เกิดความเข้มแข็ง เข้าใจเข้าถึงสิทธิผู้บริโภค

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานในพื้นที่ให้เกิดความต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.สทิงพระ สงขลา

วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 เวลา 12:30

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนสถานการณ์การทำงานในพื้นที่ มีหน่วยงานท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนการทำงานร่วม

ได้รู้จักคณะทำงานในระดับพื้นที่ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานที่ผ่านมาของพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานของพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการงทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ ต.คลองอู่ตะเภา อ.หาดใหญ่ สงขลา

วันที่ 7 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนการทำงานในพื้นที่ และ การสนับสนุน หนุนเสริมการทำงานต่อไปในพื้นที่ ซึ่งผู้เข้าร่วมจะเป็นคณะทำงานแกนนำในชุมชน

ได้แผนการทำงานในพื้นที่ในประเด็นการสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายแกนนำในชุมชนและขยายกลไกการทำงานให้ครอบคลุมในชุมชน  เพื่อเผยแพร่การทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุน หนุนเสริมการทำงานในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.สะเดา สงขลา

วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เกิดการแลกเปลี่ยนการทำงานในระดับพื้นที่และมีคณะทำงานที่ชัดเจนในระดับพื้นที่

ได้แลกเปลี่ยนการทำงานในพื้นที่ ได้รู้จักคณะทำงานและเป็นการติดตามหนุนเสริมการทำงานพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.2 เวทีอบรมพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ตำบลโคกม่วง อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา

วันที่ 13 กรกฎาคม 2558 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัครในพื้นที่  โดยมีกลุ่มแกนนำอสม.  แกนนำชุมชน  เครือข่ายรพ.สต.  รพ. และท้องถิ่นเข้าร่วมแลกเปลี่ยนประเด็นผู้บริโภค

เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสิทธิผู้บริโภค  และการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับพื้นที่โดย เภสัชกร รพ.คลองหอยโข่ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.นาหม่อม สงขลา

วันที่ 24 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการจัดวงพูดคุยแลกเปลี่ยนให้กะบแกนนำคณะทำงาน คณะกรรมการในระดับพื้นที่อำเภอนาหม่อม

มีการขยายแกนนำในพื้นที่เพิ่มขึ้น มีแกนนำที่สนใจประเด็นผู้บริโภคในระดับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา...การขยายพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมในทุกตำบลของอำเภอนาหม่อม

แนวทาง...ต้องการขยายแกนนำให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๔ ตำบลของอำเภอนาหม่อม

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ต้องการให้มีการสนับสนุนพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ต้องการให้มีการสนับสนุนพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.3 ประชุมเตรียมการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานในพื้นที่ อ.เมือง สงขลา

วันที่ 26 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการจัดวงพูดคุยกับคณะทำงานในระดับที่ ซึ่งครอบคลุมทุกตำบลในพื้นที่ ๖ ตำบล คือ บ่อยาง เกาะแต้ว เกาะยอ ทุ่งหวัง เขารูปช้าง พะวง

มีการแลกเปลี่ยนการทำงานที่ผ่านมา เพื่อเป็นการหนุนเสริมและสนับสนุนการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา...จะทำงานด้านการประชาสัมพันธ์แบบเชิงรับ

แนวทาง...เพิ่มเติมข้อมูลหนุนเสริมการทำงานและอุปกรณ์การทำงานให้พื้นที่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ให้มีการสนับสนุนการทำงานระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ให้มีการสนับสนุนการทำงานระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.3.1 เวทีอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัครผู้บริโภคจังหวัดสงขลา

วันที่ 29 กรกฎาคม 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

มีการทดสอบการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารฟอกขาวในผัก สารบอแรกซ์ในลูกชิ้น สารกันราในของหมักดอง สารฟอร์มาลีนในอาหารสด เครื่องสำอาง : ทีตรวจสารไฮโรควิโนน และกรดวิตามินเอ

มีการทดสอบการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารฟอกขาวในผัก สารบอแรกซ์ในลูกชิ้น สารกันราในของหมักดอง สารฟอร์มาลีนในอาหารสด เครื่องสำอาง : ทีตรวจสารไฮโรควิโนน และกรดวิตามินเอ  โดยเครือข่ายอาสาสสมัครเป็นผู้ใช้ชุดทดสอบด้วยตัวเองโดยมีเทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพี่เลี้ยงในการใช้ชุดทดสอบ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เป็นการพัฒนาศักยภาพการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ให้มีการสนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.2 การศึกษาออกแบบระบบการติดตามเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัยโดบการมีส่วนร่วมฯ

วันที่ 4 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

รวบรวมข้อมูล  สังเคราะห์รูปแบบ  จัดทำเป็นเอกสาร

ได้รูปแบบการติดตามเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัยในพื้นที่ เป็นข้อมูลรูปเล่มที่สามารถเผยแพร่ได้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินงานล่าช้ากว่าที่กำหนด

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ไม่มี

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

ไม่มี

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.2 สนับสนุนกิจกรรมพื้นที่ 12 อำเภอ

วันที่ 4 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนกิจกรรมพื้นที่โดยโอนเงินผ่านสมุดบัญชีของพื้นที่

พื้นที่ได้มีการจัดกิจกรรมการอบรมพัฒนาฯ ในแกนนของพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.2.1 ประชุมเครือข่ายอาสาสมัครผู้บริโภค 12 อำเภอ

วันที่ 4 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เพื่อประชุมเตรียมวางแผนการจัดเวทีระดับพื้นที่และแลกเปลี่ยนการทำงานระหว่างพื้นที่

เพื่อประชุมเตรียมวางแผนการจัดเวทีระดับพื้นที่และแลกเปลี่ยนการทำงานระหว่างพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

วันที่ 15 สิงหาคม 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนกิจกรรมอาสาสมัครระดับพื้นที่ 12 อำเภอ

สนับสนุนกิจกรรมอาสาสมัครระดับพื้นที่ 12 อำเภอ  ซึ่งออกแบบให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินงานล่าช้ากว่าแผนงานเนื่องจากต้องประสานงานหลายภาคส่วน

วันที่ 12 กันยายน 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมที่ 2.3.2 เวทีประชุมเตรียมออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ระดับโซนล่าง 4 อำเภอ

วันที่ 12 กันยายน 2558 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกแบบการจัดกิจกรรมในพื้นที่ระดับโซน  โดยมีแกนนำเครือข่ายแต่ละอำเภอ 4 อำเภอ และตัวแทนท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จำนวนผู้เข้าร่วม 40 คน

เกิดแผนการทำงานของพื้นที่ เช่น การขยายได้แผนหรือกิจกรรมที่จะจัดและดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่เครือข่ายให้ครอบคลุมในพื้นที่  การเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

สนับสนุนการทำงานต่อไป

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมที่ 2.3.2 เวทีประชุมเตรียมออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ระดับโซนกลาง 4 อำเภอ

วันที่ 13 กันยายน 2558 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกแบบการจัดกิจกรรมในพื้นที่ระดับโซน  โดยมีแกนนำเครือข่ายแต่ละอำเภอ 4 อำเภอ และตัวแทนท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จำนวนผู้เข้าร่วม 40 คน

เกิดแผนการทำงานของพื้นที่ เช่น การขยายได้แผนหรือกิจกรรมที่จะจัดและดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่เครือข่ายให้ครอบคลุมในพื้นที่  การเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

วันที่ 14 กันยายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมพื้นที่

สนับสนุนกิจกรรมพื้นที่ให้มีการจัดเวทีพัฒนาศักยภาพเครือข่ายแกนนำอาสาสมัครในพื้นที่และขยายพื้นที่การทำงานให้ครอบคลุม

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมที่ 2.3.2 เวทีประชุมเตรียมออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในระดับพื้นที่ระดับโซนบน 4 อำเภอ

วันที่ 17 กันยายน 2558 เวลา 12:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการออกแบบการจัดกิจกรรมในพื้นที่ระดับโซน  โดยมีแกนนำเครือข่ายแต่ละอำเภอ 4 อำเภอ และตัวแทนท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จำนวนผู้เข้าร่วม 40 คน

เกิดแผนการทำงานของพื้นที่ เช่น การขยายได้แผนหรือกิจกรรมที่จะจัดและดำเนิงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่เครือข่ายให้ครอบคลุมในพื้นที่  การเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมที่ 2.2.1 ประชุมอาสาสมัคร 12 อำเภอ

วันที่ 20 กันยายน 2558 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนการทำงานและการหาแนวทางการทำงานในระดับพื้นที่โดยแกนนำเครือข่ายของแต่ละพื้นที่มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน  จำนวนผู้ข้าร่วม 30 คน

เกิดเวทีแลกเปลีี่ยนและแผนการทำงานความร่วมมือในระดับพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานทีี่เกี่ยวข้องในพื้นที่

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.2 เวทีอบรมพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนอำเภอรัตภูมิ

วันที่ 22 กันยายน 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่  และเชิญแกนนำแต่ละตำบลเข้าร่วมเพื่แเป็นการขยายให้ครอบคลุมพื้นที่การทำงานของอำเภอรัตภูมิ มีหน่วยงานที่ทำงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยน

ขยายพื้นที่การทำงานให้ครอบคลุม เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างหลากหลาย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่องในระดับพื้นที่

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่องในระดับพื้นที่

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

สนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่องในระดับพื้นที่

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรม 2.4.2 เวทีอบรมพัฒนาเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน อำเภอบางกล่ำ

วันที่ 30 กันยายน 2558 เวลา 13:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

เป็นการขยายเครือข่ายการทำงาน และเชื่อมการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่โดยมีหน่วยงานที่ดูงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคคือ เภสัชกรโรงพยาบาล  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ    รพ.สต. และท้องถิ่นที่รับผิดชอบ  โดยมีเครือข่ายแกนนำแต่ละตำบลเข้าร่วมด้วย

เป็นการขยายเครือข่ายการทำงาน และเชื่อมการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่โดยมีหน่วยงานที่ดูงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคคือ เภสัชกรโรงพยาบาล  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ    รพ.สต. และท้องถิ่นที่รับผิดชอบ  โดยมีเครือข่ายแกนนำแต่ละตำบลเข้าร่วมด้วย

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ติดตามหนุนเสริมการทำงานอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

ควรมีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-