รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 57-ข-003
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 10 มีนาคม 2558
1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนากลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารภาคประชาชน จังหวัดสงขลา ปีที่ 2
2. รหัสโครงการ รหัสสัญญา 57-ข-003 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2557 - 31 ตุลาคม 2558
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 กันยายน 2557 ถึงเดือน 28 กุมภาพันธ์ 2558
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. กิจกรรม 2.2.1 ประชุมความร่วมมือเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย | วันที่ 1 กันยายน 2557 เวลา 13:30วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย ลักษณะกิจกรรมประชุมร่วมกับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ ฝ่ายสาธารณสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ อาสาสมัครสาธารณะสุข และสามคมผู้บริโภคสงขลา เพื่อนำเสนอสถานการณ์ปัญหาผู้บริโภคและร่วมหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นให้เทศบาลนครหาดใหญ่ แต่งตั้งคณะทำงานด้านอาหารปลอดภัยขึ้น เพื่อทีจะได้เกิดการทำงานในพื้นที่หาดใหญ่ อย่างต่อเนื่อง |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมสร้างความร่วมมือเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยผลที่เกิดขึ้นได้เวทีความร่วมมือในการดำเนินงานในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ เป็นแนวทางในการทำความร่วมมือในระดับเทศบาลนครหาดใหญ่ ปัญหา/แนวทางแก้ไขการสร้างความร่วมมือในระดับจังหวัด เป็นภาพกว้าง หาปฎิบัติการได้ยาก ควรทำเป็นพื้นที่เล็กลง เพื่อเป็นการนำร่อง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. กิจกรรม 2.2.1 ประชุมความร่วมมือเครือข่ายเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2 | วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เวลา 13:30วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย ลักษณะกิจกรรมมีการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 จำนวน 5 คน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินงาน เรื่องการออกประกาศตั้งคณะทำงาน และการจัดเวทีร่วมกันเรื่องกระเช้าขฃองขวัญปีใหม่ผลที่เกิดขึ้นมีการประชุมร่วมระหว่างสมาคมผู้บริโภคสงขลา เทศบาลนครหาดใหญ่ และ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่ เพื่อวางแผนการำเนินงานต่อเนื่อง ทำให้เกิดผลักดันให้เกิดคณะทำงานด้านอาหารปลอดภัยร่วมกัน และมีการจัดเวทีความร่วมมือกรณีกระเช้าของขวัญร่วมกัน ปัญหา/แนวทางแก้ไขเทศบาลนครหาดใหญ่และ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบน้อย แต่ภารงานเยอะ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ร่แลกเปลี่ยนและเสนอแนะการทำงานวมติดตาม ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. กิจกรรม 2.3.2 สร้างปฏิบัติการและกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐ | วันที่ 27 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์เพื่อสร้างปฏิบัติการร่วมกันระหว่างภาคประชาสังคม ภาครัฐและท้องถิ่น ลักษณะกิจกรรมจัดเวทีให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ในเวทีประชุม “กระเช้าของขวัญปลอดภัย...ใส่ใจผู้บริโภค” 27ต.ค.57 โดยเชิญผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขมาชี้แจงประกาศระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนปัญหาการละเมิดสิทธิผู้บริโภค เพื่อให้ผู้ประกอบการปฏิบัติได้ถูกต้องและผู้บริโภคมีความรู้ในการคุ้มครองตัวเองและเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ปฏิบัติการร่วมของภาคประชาสังคม ภาครัฐและท้องถิ่น ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านความปลอดภัยของอาหารผลที่เกิดขึ้นมีการจัดเวทีร่วมกันเพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบการและผู้บริโภค โดยมีการทำงานร่วมระหว่างเทศบาลนครหาดใหญ่ ,สมาคมผู้บริโภคสงขลา , สสอ.,สสจ.และ สคบ. และมีแผนในการออกตรวจกระเช้าของขวัญร่วมกัน ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้ประกอบการให้ความร่วมมือน้อย ซึ่งอาจเกิดจาการประสานงานที่ไม่ชัดเจน ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
4. โอนเงินคืน สจรส.(โอนเกิน) | วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์โอนเงินคืน สจรส. (โอนเกิน) ลักษณะกิจกรรม- |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
|
||||
5. กิจกรรม 2.3.1 อบรมการติดตามเฝ้ระวัง(เข้าร่วมประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค) | วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัคร ลักษณะกิจกรรมเข้าร่วมประชุมเวที |
เป้าหมายที่ตั้งไว้เข้าร่วมประชุมเวที จีเอ็มโอผลที่เกิดขึ้นอาสาสมัครได้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับจีเอ็มโอ และความมั่นคงปลอดภัยด้านอาหาร ปัญหา/แนวทางแก้ไขมีการเติมเต็มข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.การสนับสนุนข้อมูล ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.การติดตามแลกเปลี่ยน ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
6. กิจกรรม 2.3.1 อบรมเรื่องการติดตามเฝ้าระวัง | วันที่ 13 มกราคม 2558 เวลา 13:30วัตถุประสงค์เพื่ออบรมให้ความรู้อาสาสมัครในการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย ลักษณะกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยของขนมหน้าโรงเรียน กับนักเรียน ชั้น ป.3-ป.6 ครู และผู้ปกครอง โรงเรียนสมาคมไทยผลิตยา ต.ปาดังเบซาร์ อ.สะเดา จ.สงขลา |
เป้าหมายที่ตั้งไว้อบรมให้ความรู้อาสาสมัครในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารผลที่เกิดขึ้นมีการอบรมให้ความรู้กับนักเรียน ครู และผู้ปกครอง ให้มีความรู้เกี่ยวกับขนมหน้าโรงเรียน ความสำคัญของการอ่านฉลาก ปัญหา/แนวทางแก้ไขเป็นการปฏิบัติการในพื้นที่เล็ก ซึ่งอาจต้องหาแนวทางในการสนับสนุนการดำเนินงานต่อ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ความต่อเนื่องในการสนับสนุน ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.การร่วมติดตามสนับสนุนการดำเนินงาน ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
7. กิจกรรม 2.4.1 ประชุมสร้างความร่วมมือพัฒนากลไกอาหารปลอดภัยจังหวัดสงขลา” | วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยในจังหวัดสงขลา ลักษณะกิจกรรมประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ได้แก่ สสจ. ,ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลา ,เกษตรจังหวัด ,องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ,สมาคมผู้บริโภคสงขลา และอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารผลที่เกิดขึ้นได้แนวทางในการทำงานร่วมกัน และต้องมีการประงานต่อเนื่อง ส่วนการดำเนินงานในระดบพื้นที่สามารถดำเนินงานประสานต่อกับอาสาสมัครและท้องถิ่นได้ ปัญหา/แนวทางแก้ไขหน่วยงานภาครัฐเน้นทำงานตั้งรับ และมีภารกิจงานค่อนข้างมาก จึงไม่อยากทำงานมากกว่าที่หน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ช่วยประสานสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ช่วยประสานสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และท้องถิ่นในพื้นที่ ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ