รหัสโครงการ 57-02656
สัญญาเลขที่ 57-00-1766
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
วันที่รายงาน : 29 ตุลาคม 2557
1. ชื่อโครงการ โครงการยุทธศาสตร์การบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา (2557-2558)
2. รหัสโครงการ 57-02656 รหัสสัญญา 57-00-1766 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2557 - 1 ตุลาคม 2558
3. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน 1 กันยายน 2557 ถึงเดือน 31 มีนาคม 2558
4. ความก้าวหน้าโครงการ (เมื่อเทียบกับแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ และผลการดำเนินงานจนถึงวันสุดท้ายของงวดที่รายงาน)
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
1. ลงพื้นที่เทศบาลตำบลชะแล้ | วันที่ 3 กันยายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์1.เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผนในปีที่1 2.หารือกันเกี่ยวกับการดำเนินงานต่อตามแผนในปีที่2 ลักษณะกิจกรรม1.หารือกับทีมงานเพื่อติดตามผลในแผนปีที่1 พร้อมทั้งพูดคุยกับเกี่ยวกับผลและปัญหาที่เกิดขึ้นจากปีที่แล้ว 2.เสนอแผนวัตุประสงค์เป้าหมายของโครงการปีที่2 3.เสอนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆที่จะทำให้แผนปีที่2ขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-หารือกับทีมคณะทำงานโครงการฯ ในการดำเนินงานตามแผนปี 2ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
2. คุยกรอบประเมินโครงการอาหารกับอาจารย์หมอลัดดา | วันที่ 3 กันยายน 2557 เวลา 16:00วัตถุประสงค์เพื่อหารือการดำเนินการโครงการตามแผนงานโภชนาการและอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัยในพื้นที่ ปี2557 ลักษณะกิจกรรมประชุมการดำเนินงานร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการตามแผนงานเพื่อขับเคลื่อนการทำโครงการตามแผนงานใน ปี 2557 แ ร่วมกระตุ้นให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในการนำเครืองมือและผลการศึกษาครั้งก่อนมาเรียนรู้และนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ประเมินโครงการผลที่เกิดขึ้นพื้นที่ชุมชนได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของเด็ก โดยมีนโยบายให้แต่ละโรงเรียน และ ศพด.มีการจัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพตามวัย และเน้นความรู้ด้านโภชนาการให้แก่แม่และผู้ดูแล ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
3. ลงพื้นที่อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา | วันที่ 4 กันยายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้หารือการดำเนินงานตามแผนปี 2ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
4. ลงพื้นที่ตำบลควนรู้ | วันที่ 5 กันยายน 2557 เวลา 09:30วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- หารือกับนายกองค์การบริหรส่วนตำบลควนรู เรื่องแผนการดำเนินงานในปีที่ 2ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
5. หารือแผนงานปี 2 กับอาจารย์สุกัญญา เดชอดิสัย | วันที่ 11 กันยายน 2557 เวลา 14:00วัตถุประสงค์1.เพื่อปรึกษาหารือกับทีมงานจากคณะเภสัช ม.อ. เกี่ยวกับแผนงานที่จะทำต่อเนื่องจากปีที่แล้ว ลักษณะกิจกรรม1.ได้มีการปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับผลและปัญหาที่เกิดขึ้นจากโครงการปีที่1 เพื่อที่จะนำมาเป็นแนวทางต่อยอดในปีที่2 2.ชี้แจงเกี่ยวกับเป้าหมายของแผนงานในปีที่2 และหารือร่วมกันเพื่อวางแผนกิจกรรมต่างๆตามเป้าหมายของปีที่2 |
เป้าหมายที่ตั้งไว้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันระหว่างทีมงานจาก สจรส. กับทีมงานจากคณะเภสัช ในเรื่องอาหารเป็นยาที่จะทำต่อเนื่องจากปีที่แล้วผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
6. หารือแผนการดำเนินงานปีที่ 2 กับทีม ดร อมาวสี | วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์-เพื่อหารือกับผู้วิจัยและทีมวิจัยในการใช้เครื่องมือในการสำรวจข้อมูลพื้นฐานที่มีแล้ว นำมาพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาพของเด็กในพื้นที่ ลักษณะกิจกรรม-ผุ้วิจัยและทีมวิจัยได้สร้างแนวปฏิบัติร่วมกันเพื่อนำเครื่องมือที่ได้สำรวจมาแล้ว มาพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ได้ร่วมพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องการดำเนินงานตามแผนผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
7. หารือแผนการดำเนินงานปีที่ 2 กับทีมสื่อสารฯ | วันที่ 18 กันยายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม-ได้ร่วมหารือกับผู้ประสานงาน เพื่อวางแผนการขับเคลื่อนโครงการด้านโภชนาการให้ประชาชนทั่วไปได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และได้ประชาสัมพันธ์เครือข่าย |
เป้าหมายที่ตั้งไว้- 1.หารือกับผู้นำด้านสือเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและกระตุ้นสื่อเชิงรุกเพื่อเผยแพร่กิจกรรมในโครงการ 2.ขับเคลื่อนให้โครงการจากแผนงานโภชนาการ และอาหาร ผ่านสื่อวิทยุ Cable TV เวปไซด์ 3.ขับเคลื่อนสื่อใฟ้สร้างรูปแบบกิจกรรมและรณรงค์ตำรับอาหารของแม่ผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
8. หารือแผนการดำเนินงานปีที่ 2 กับทีมตำบลเชิงแส | วันที่ 18 กันยายน 2557 เวลา 14:00วัตถุประสงค์-1.เพื่อทำความเข้าใจกับชุมชนในเรื่องเหตุผลที่ต้องจัดทำโครงการนี้
2.เพื่อให้ทุกครอบครัวในชุมชนมีอาหารไว้บริโภคอย่างพอเพียงสำหรับทุกสถานการณ์ ลักษณะกิจกรรม-ได้ประชุมและหารือกับตัวแทนชุมชนเพื่อวางแผนการทำโครงการ และได้เยียมชมแปลงเกษตรในพื้นที่ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-1 ลงพื้นที่สร้างเวทีทำความเข้าใจชุมชนเกี่ยวกับการทำโครงการ ในปีที่2 2.ตัวแทนชุมชน เล่าประสบการณ์และการวางแผนงานโครงการที่จะดำเนินการต่อเนื่อง 3.เยี่ยมชมแปลงเกษตรตัวอย่างในพื้นที่ผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
9. คุยปรับแผนคุ้มครองผู้บริโภคกับสมาคมผู้บริโภค | วันที่ 27 กันยายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์ติดตามผลความก้าวหน้าของแผนงานคุ้มครองผู้บริโภค ลักษณะกิจกรรมหารือและปรับเปลี่ยนแผนงานร่วมกันเพื่อให้ดำเนินการได้ถูกทาง และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้หารือร่วมกันเพื่อเพิ่มเติมกิจกรรมต่างๆให้เป็นไปตามแผนผลที่เกิดขึ้นปรับเปลี่ยน แก้ไข เพิ่มเติม ได้ผลการดำเนินงานตามตัวชีวัด
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
10. ปรับแผนตลาดเกษตร ม.อ. | วันที่ 30 กันยายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์- ลักษณะกิจกรรม- |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
11. ประชุมเตรียมงานการผลักดันสวนสมุนไพรจะนะ | วันที่ 1 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์1.วางแผนผลักดันสวนสมุนไพรจะนะ 2.เตรียมงานสำหรับการประชุมหารือร่วมกันกับเครือข่ายเรื่องการผลักดันสวนสมุนไพรจะนะ ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้1.ชี้แจงประเด็นที่จะหารือกันในการประชุมร่วมกันกับเครือข่ายเรื่องสวนสมุนไพรจะนะ 2.เตรียมงานประชุมผลักดันแผนงานสวนสมุนไพรจะนะผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
12. พัฒนาแผนอาหารเชิงแส | วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้1. ติดตามผลความคืบหน้ากิจกรรมของพื้นที่ 2. หารือร่วมกันเพื่อเพิ่มเติมกิจกรรมต่างๆให้เป็นไปตามแผนผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
13. ประชุมแผนงานสื่อสารเรื่องอาหารของแม่ | วันที่ 3 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์เพื่อหารือกับเครือข่ายในโครงการยุทธศาสตร์การบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา เพื่อร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมและงานด้านสื่อสารสาธารณะ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ประเด็นอาหารของแม่ ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้กิจกรรมประชุมทำความเข้าใจแนวทางการทำงานร่วมกันของสื่อสาธารณะเกี่ยวกับงานด้าน อาหารของแม่ จ.สงขลาผลที่เกิดขึ้น-เครือข่ายท้องถิ่นมีความเข้าใจและได้ร่วมนำเสนอกิจกรรมที่ทางท้องถิ่นได้ดำเนินการด้านอาหารและเกษตรอินทรีย์
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
14. ประชุมแผนงานอุทยาอาหาร(ห้างโอเดียน) | วันที่ 7 ตุลาคม 2557 เวลา 14:00วัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงรายละเอียดแผนงานอุทยาอาหารปลอดภัย ที่จะจัดขึ้นที่ห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ชี้แจงรายละเอียดของแผนงาน ให้กับทีมงานของทางห้างโอเดียนฯ - หาแนวทางร่วมกันเรื่องรูปแบบการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนยุทธศาตร์ที่ตั้งไว้ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
15. ประชุมเครือข่ายแผนงานบูรณาการอาหารสงขลา | วันที่ 9 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแผนงานของแต่ละเครือข่ายและทำความเข้าใจการรับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพในปีที่ 2 ลักษณะกิจกรรม- |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ประชุมทบทวน ติดตามแผนการดำเนินงานของแต่ละเครือข่ายที่รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
16. ประชุมระดมความคิดเห็นการจัดทำศูนย์ดูแลสุขภาพจะนะ | วันที่ 17 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ระดมองค์ความรู้ในการทำสวนยางป่ายางสมุนไพร จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้มีองค์ความรู้เรื่องสมุนไพรผลที่เกิดขึ้นได้ คณะทำงานในแผนงาน เพื่อให้ขับเคลื่อนไปได้อย่างสำเร็จตามจุดมุ่งหมาย โดยมีรายชื่อคณะทำงานดังนี้ : 1) คุณ รัตน์ชนก ไตรวรรณ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น 2) นาย โสภณ จันทร์ศรีสว่างวงศ์ โรงพยาบาลจะนะ 3) นาย ชินาพันธ์ บิลตะหีมพาฏิล โรงพยาบาลจะนะ 4) นาง วรรณดี สุวรรณกิจ โรงพยาบาลจะนะ 5) คุณ ชุติมา รอดเนียม สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ. 6) คุณ วิไลลักษณ์ เดชาสิทธิ์ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ. โดยมีทีมอาจารย์ที่ปรึกษาดังนี้ : 1. ดร. สุกัญญา เดชอดิศัย คณะเภสัชศาสตร์ ม.อ.
และจะมีการจัดประชุมอีกครั้งในวันที่ 3 ธันวาคม 2557 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลจะนะ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
17. ประชุมทำแผนอาหารและโภชนาการชะแล้ | วันที่ 22 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในประเด็นของการทำแผนอาหารและโภชนาการของตำบลชะแล้ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
18. นัดประชุมเรื่องแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารกับจังหวัด | วันที่ 24 ตุลาคม 2557 เวลา 09:30วัตถุประสงค์เพื่อหารือแผนการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ลักษณะกิจกรรมประชุมหารือการดำเนินยุทธศาสตร์การบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา ผู้ร่วมหารือจำนวน 5 คน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้หารือแผนการดำเนินงานยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
19. ประชุมเรื่องตลาดสีเขียวโรงพยาบาลระโนด | วันที่ 28 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- หารือกันเกี่ยวกับเรื่องการพัฒนาปรับปรุงตลาดสีเขียวของโรงพยาบาลระโนดผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
20. ทำความเข้าใจกับครัวเรือนต้นแบบเชิงแส | วันที่ 28 ตุลาคม 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ทำความเข้าใจกับครัวเรือนต้นแบบที่จะเข้าร่วมโครงการนี้ เกี่ยวกับรายละเอียดข้อตกลงต่างๆ และเรื่องเครื่องมือที่จะใช้บันทึกเพื่อประเมินตนเองผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
21. กิจกรรมทำแผนปฏิบัติการด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัยในพื้นที่ ต.ควนรู อ.รัตภูมิ จ.สงขลา | วันที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์-เพื่อให้เกิดรูปแบบกิจกรรมนำร่องในด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในพื้นที่ตัวอย่าง -เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนและผู้นำท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรม ลักษณะกิจกรรม-ทีมผู้วิจัยและดร.อมาวสี อัมพันศิริรัตน์จากวิทยาลัยพยาบาลสงขลาได้ลงพื้นที่ ต.ควนรู เพื่อศึกษาข้อมุลท้องถิ่น เก็บข้อมุลจากผู้ใจข้อมุลที่เป็นตัวแทนชุมชน ได้แก่ นายก อบต. รองนายก อบต. ผุ้ใหญ่บ้าน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโคกค่ายและครู ศพด.ทั้ง 3 ที่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และ อสม. |
เป้าหมายที่ตั้งไว้หารือและร่วมวางแผนงานกับตัวแทนชุมชนและผู้นำท้องถิ่นในการจัดรูปแบบกิจกรรมให้เกิดรูปแบบชัดเจนผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
22. ปรับร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา | วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อปรับร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้ปรับร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาหลังจากที่ได้เข้าประชุมหารือกับ คุณขจรศักดิ์ เจริญโสภา หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลาผลที่เกิดขึ้นได้ร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบไปด้วย
เพื่อส่งให้สำนักงานจังหวัดสงขลา ออกหนังสือเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชาพิจารณ์แผนร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
23. ประชุมหารือเรื่องการพัฒนากลไกการตลาดกับทางห้างโอเดี้ยนและ ตลาดเกษตร มอ | วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00วัตถุประสงค์พัฒนากลไกการตลาดกับทางห้างโอเดี้ยนและ ตลาดเกษตร มอ ลักษณะกิจกรรมประชุมหารือเพื่อพัฒนากลไกการตลาดให้กับห้างโอเดี้ยนฯ โดยมีคุณวรภัทร ไผ่แก้ว ผู้จัดการตลาดเกษตร มอ เป็นพี่เลี้ยงให้กับห้างฯ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้พัฒนากลไกการตลาดกับทางห้างโอเดี้ยนและ ตลาดเกษตร มอผลที่เกิดขึ้นห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ได้แผนกลไกการตลาด ที่จะนำไปปรับใช้เพื่อ เป็นตลาดอุทยานอาหารในเขตเมือง โดยในเบื้องต้น จะนำผู้ประกอบการที่เป็นเครือข่าย จากตลาดเกษตร มอ ไปเป็น ผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าเกษตร ทั้งด้านปศุสัตว์ ด้านพืชเกษตร และด้านการประมง โดยในครั้งแรก จะทำการเปิดตลาดในวันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 14.00 - 16.00 น. บริเวณถนนเสน่หานุสรณ์ หน้าห้างโอเดียนแฟชันมอลล์ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
24. ประชุมแผนสื่อสารสาธารณะ (กิจกรรมสื่อ) | วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 เวลา 16:00วัตถุประสงค์ปรับกิจกรรมในแผนการสื่อสารสาธารณะ ลักษณะกิจกรรมคุณสุวรรณี และคุณชัยวุฒิ เกิดชื่น ผู้รับผิดชอบหลักแผนงานการสื่อสารสาธารณะ อธิบายถึงงกิจกรรมที่จะทำตลอดแผนงาน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมปรับกิจกรรมในแผนการสื่อสารสาธารณะผลที่เกิดขึ้น
และให้ทำควมเข้าใจแต่ละแผนงานที่จะเข้าไปทำสื่อ คือต้องทำความเข้าใจเป้าหมายของแต่ละแผน และกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญ หลังจากนั้น นำข้อมูลของแต่ละแผนมาสรา้งกระแส และสร้างเวทีกดดันออกอากาศ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
25. ลงพื้นที่ชะแล้ | วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์-เพื่อให้เกิดรูปแบบกิจกรรมนำร่องของพื้นที่ใน 3 มิติ คือ ด้านความมั่นคงทางอาหาร ด้านอาหารปลอดภัย และด้านโภชนาการสมวัย -เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนและผู้นำท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนกิจกรรม ลักษณะกิจกรรม-คุณสุวรรณา สุวรรณชาตรีและทีมจาก สจรส. ประชุมเพื่อหารือการถอดบทเรียนและการขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนอาหารและโภชนาการ และจากงานวิจัยด้านภาวพโภชนาการเด็กจาก รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ ซึ่งได้ศึกษาวิจัยในพื้นที่พบว่าเด็กในชุมชนมีปัญหาภาวะโภชนาการหลายประการ เพื่อเป็นแนวทางให้ชุมชนได้ทำแผนกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา -แกนนำได้ร่วมเรียนรู้และวางแผนกิจกรรมและสำรวจพื้นที่ในชุมชน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้หารือและร่วมวางแผนงานกับตัวแทนชุมชนและผู้นำท้องถิ่นในการร่วมกันจัดรูปแบบกิจกรรมอย่างชัดเจนผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
26. หารือกับอาจารย์ลัดดา | วันที่ 24 พฤศจิกายน 2557 เวลา 15:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม-คุณวรรณา สุวรรณชาตรีและทีม สจรส. ประชุมหารือกับ รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณและคุณจันทิมา เพื่อรายงานความก้าวหน้าของกิจกรรมตามแผนอาหารและโภชนาการจากการลงพื้นที่ตำบลควนรู และตำบลชะแล้ที่ได้นำเสนอแก่ทีม อ.อมาสวี เพื่อให้เกิดรูปแบบกิจกรรมที่ชัดเจน
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ประชุมเพื่อปรึกษาหารือในประเด็นการทำกิจกรรมตามแผนอาหารและโภชนาการในพื้นที่ตำบลควนรูและตำบลชะแล้ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
27. เวที การติดตามเฝ้าระวังผลกระทบจากการตัดแต่งพันธุกรรม (GMOs) ภาคเกษตร | วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน - ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. วีดีทัศน์ “สถานการณ์พืชดัดแปรพันธุกรรม GMOs” โดย คุณกำราบ พานทอง - ๐๙.๓๐-๐๙.๔๕ น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการเวที โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สจรส. - ๐๙.๔๕-๑๐.๐๐ น. กล่าวต้อนรับ และเปิดเวที โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เริงชัย ตันสกุล กรรมการองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพ/สมาคมผู้บริโภค สงขลา - ๑๐.๐๐-๑๐.๓๐ น. บรรยาย “แนวโน้มทิศทางภาคเกษตร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น”โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ๑๐.๓๐-๑๑.๐๐ น.ซักถาม แลกเปลี่ยน รับประทานอาหารว่าง (ในห้องประชุม) - ๑๑.๐๐-๑๑.๓๐ น. สถานการณ์นโยบายพืชดัดแปรพันธุกรรม (GMOs) โดย คุณวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ มูลนิธิชีววิถี - ๑๑.๓๐-๑๒.๐๐ น. ซักถาม แลกเปลี่ยน - ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน - ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น . ระดมความคิดเห็น “กำหนดทิศทางการติดตามนโยบายและการรณรงค์ร่วมกัน กรณีพืช GMOs และภาคการเกษตร” โดย คุณเอกชัย อิสระทะ เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ รับประทานอาหารว่าง (ในห้องประชุม) - ๑๕.๐๐-๑๕.๓๐ น.สรุปการประชุม โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.)ผลที่เกิดขึ้น-จากเวทีการประชุม ทำให้เครือข่ายต่างๆที่มาเข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งแสดงจุดยืนของเครือข่ายตัวเอง เช่น * กลุ่มจงหวัดกระบี่ จะได้มีการขยับในเรื่องของพืช GMOs โดยให้มีการแบ่งกลุ่มกันทำงานเชิงรุก เช่น สู้กับฝ่ายนโยบาย (ฝ่ายนโยบายรับนโยบายของพืช GMOs จากภายนอกมาขยับในพื้นที่ ทำให้พืชเกิดการเปลี่ยนแปลงสายพันธ์ สารอาหารที่ได้จากพืชน้อยลงกว่าเดิม และกรรมวิธีการผลิตพืชก็เปลี่ยนไป) เมื่อสู้กับฝ่ายนโยบายแล้วให้ทำการเผยแพร่เรื่องราว ข้อดี ข้อเสียของพืช GMOs และที่สำคัญที่สุดคือ ให้เกษตรกรในพื้นที่รักษาพันธุกรรมของตัวเอง * กลุ่มสมาคมผู้บริโภคจังหวัดสงขลา เสนอให้มีการติดฉลากพืช หรือ สินค้าที่ผลิตจากกรรมวิธี GMOs เพื่อให้ผู้บริโภคมีทางเลือกในการบริโภคอาหารเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้คุณเอกชัย อิสระทะ ได้ให้ข้อคิดให้ผู้เข้าร่วมเวทีได้กลับไปทบทวน คือ การทำอย่างไรที่เราจะสามารถปกป้องพันธุกรรมอาหารของเราได้อย่างยั่งยืน ทำอย่างไรให้เกษตรกรได้มีองค์ความรู้มากกว่านี้ ในเบื้องต้นเพื่อให้มีความก้าวหน้าของงานอย่างต่อเนื่อง ขอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้มีการประสานข้อมูล เตรียมความพร้อมในระดับพื้นที่ เช่น ต้องมีข้อมูลงานวิจัย ต้องทำฐานข้อมูล ต้องติดตามระบบข้อมูล และต้องสนับสนุนพันธุกรรมพื้นบ้านของตัวเอง ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
28. พัฒนาเครื่องมือประเมินตนเองเชิงแส | วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์1.เพื่อออกแบบเครื่องมือประเมินครัวเรือนที่ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรผสมผสาน 2. เพื่อทำความเข้าร่วมกันของครัวเรือนที่จะเข้าร่วมกิจกรรมความมั่นคงด้านอาหารของตำบลเชิงแส ลักษณะกิจกรรม1.ได้ปรับเครื่องมือประเมินตนเองให้มีเนื้อหาที่สะดวกในการเก็บข้อมูลระดับครัวเรือน 2.เครื่องมือประเมินตนเองที่ปรับ เพื่อให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับบัญชีครัวเรือน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้1. นำเครื่องมือประเมินตนเองด้านความมั่นคงด้านอาหารของวิทยาลัยพยาบาลราชชนนีไปพูดคุยกับครัวเรือน จำนวน 8 ครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการความมั่นคงด้านอาหารตำบลเชิงแส โดยให้ครัวเรือนใช้เครื่องมือประเมินตนเอง ประเมินการดำรงชีวิตของครัวเรือน เพื่อให้ครัวเรือนได้เกิดการจัดการข้อมูลในระดับครอบครัว 2. เพื่อต้องการให้ครัวเรือนตัวอย่างได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มพัฒนาระบบการเกษตรในพื้นที่ตำบลเชิงแสผลที่เกิดขึ้น1.ได้เครื่องมือประเมินตนเองระดับครัวเรือน 2.ได้เครื่องมือบันทึกรายรับ / รายจ่ายในระดับครัวเรือน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
29. โครงการอุทยานอาหารเพื่อสุขภาพ | วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08:30วัตถุประสงค์
ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้- จัดอบรมความรู้ด้านสุขวิทยาให้ผู้ประกอบการ จากนักวิชาการสาธารณสุขผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
30. หารือการเตรียมแผนกิจกรรมบูรณาการระบบอาหาร ของ ต.ควนรูและ ต.ชะแล้ | วันที่ 2 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดรูปแบบกิจกรรมและกำหนดเวลาดำเนินกิจกรรมที่ชัดเจน เพื่อติดตามความคืบหน้าของรูปแบบกิจกรรมที่ชุมชนวางแผนดำเนินการ
ลักษณะกิจกรรม9.00 - 9:30 น.คุณสุวรรณา สุวรรณชาตรี กล่าวแนะนำการจัดกิจกรรมเพื่อหารือกับชุมชนการทำแกนนำจากชุมชนควนรูและ ชะแล้ ได้ร่วมวางแผนและปรับแผนงานให้สอดคล้องกับปัญหาภาวะโภชนาการในแต่ละชุมชน โดยให้แต่ละชุมชนรวมกลุ่มและนำเสนอแผนงานที่จะทำในปีนี้ 09:30 -13:30 น.หารือกับกลุ่มย่อยและสรุปแผนงาน 14:00 - 15.00 รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ ร่วมประชุมและฟังแผนงานจากชุมชนทั้ง 2 ชุมชน และให้ข้อเสนอแนะสำหรับการปรับรูปแบบกิจกรรม |
เป้าหมายที่ตั้งไว้เพื่อกำหนดเวลาและทิศทางการดำเนิน กิจกรรมแผนงานอาหารและโภชนาการใน 2 พื้นที่ผลที่เกิดขึ้นเกิดรูปแบบกิจกรรมตามผนงานอาหารและโภชนาการของแต่ละพื้นที่ และได้ ข้อเสนอแนะจาก รศพญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
31. ประชุมวางแผนการดำเนินงานสวนป่าสมนไพร | วันที่ 3 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์เพื่อวางแผนการดำเนินงานเรื่องสวนป่าสมุนไพร ลักษณะกิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานสวนป่าสมุนไพรในระยะต่อไป |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานสวนป่าสมุนไพรในระยะต่อไปผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
32. ประชุมเครือข่ายคณะทำงานโครงการฯ ครั้งที่ 2/57 | วันที่ 6 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของเครือข่ายผู้รับทุน โครงการยุทธศาสตร์การบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา ลักษณะกิจกรรม-มีการประชุมแกนนำเครือข่ายคณะทำงานทุกโครงการเพื่อติดตามความก้าวหน้า -มีการให้ข้อเสนอแนะและได้เชื่อมโยงการทำงานระหว่างเครือข่ายกับนักวิชาการ |
เป้าหมายที่ตั้งไว้-ประชุมแกนนำเครือข่ายคณะทำงานทุกโครงการเพื่อติดตามความก้าวหน้า -เพื่อให้เกิดการทำงานเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายกับนักวิชาการผลที่เกิดขึ้นผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ คุณวรรณา สุวรรณชาตรี กล่าวเปิดการประชุมและชี้วัตถุประสงค์ให้คณะทำงานรับทราบและดำเนินการให้แต่ละโครงการนำเสนอโดยผ่าน website consumersouth.org คุณสุรีย์รัตน์ ชัยเชื้อ - นำเสนอรายงานกิจกรรมโครงการรูปแบบความมั่นคงทางอาหารตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์
ข้อเสนอแนะจาก ผศ.ดร.พงค์เทพ กิจกรรมโครงการของตำบลเชิงแสควรเน้นการพัฒนาระบบอาหารในชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน และสร้างตลาดชุมชนเพื่อรองรับผลการผลิตและเป็นแหล่งตลาดเกษตรกรที่พึ่งตนเองได้ คุณอมิตา ประกอบชัยชนะ ครูจากโรงเรียน และเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. นำเสนอกิจกรรมบูรณาการเรื่องอาหารและโภชนาการของตำบลควนรู และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม รูปแบบกระบวนการประเมินตนเองตำบลควนรู ซึ่งได้ปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับการบูรณาการอาหารทั้ง การบูรณาการอาหารทั้ง 3มิติ คุณวิชิตร สิทธิพันธ์ นำเสนอกิจกรรมบูรณาการเรื่องอาหารและโภชนาการของตำบลชะแล้ และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมรูปแบบกระบวนการประเมินตนเองตำบลชะแล้ ซึ่งได้ปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับการบูรณาการอาหารทั้ง การบูรณาการอาหารทั้ง 3มิติ ตำบลควนรู คือ อยากให้เน้นย้ำการทำกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่น รพ.สต . และศพด. ซึ่งค่อนข้างทำมีแนวทางชัดเจนแล้ว แต่ควรทำเป็นแผนที่ชัดเจนโดยการมีผู้รับผิดชอบโครงการนั้นๆเป็นรายกิจกรรมไป เพื่อทำให้มีการทำกิจกรรมต่อเนื่องและปรับรูปแบบมาเป็นแผนชุมชน ที่ อบต.ต้องการ คุณก้องกิดากร สุวรรณมณี นำเสนอรายงานกิจกรรม โครงการการพัฒนาอุทยานอาหารในห้างสรรพสินค้าโอเดียนแฟชั่นมอลล์ ในตัวเมืองหาดใหญ่ จัดพิธีเปิดงานวัน เสาร์ที่ 6 ธันวาคม 2557 ซึ่งได้เตรียมความพร้อมของกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ประกอบการและได้ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุ และสื่ออินเตอร์เน็ท คุณกิติภพ สุทธิสว่าง นำเสนอรายงานกิจกรรมโครงการความมั่นคงทางอาหารกับวิถีสุขภาพ อำเภอจะนะ โดยมีการจัดทำสวนสมุนไพรและเตรียมไปศึกษาดูงานที่สวนคุณฑูร เพื่อให้ชุมชนไปเรียนรู้ วันที่ 18 ธค. 57 คุณจุฑา สังขชาติ นำเสนอรายงานกิจกรรม โครงการโครงการพัฒนากลไกเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารภาคประชาชน จังหวัดสงขลา ปีที่ 2 และเสนอแนะให้ทาง สถาบันเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ เพื่อทกให้ส่วนกลางได้ติดตามกิจกรรมและร่วมกิจกรรมต่างๆของยุทธศาสตร์ ทางสถาบันจึงวางแผนจะทำ เครื่อข่ายกลางผ่านเฟซบุค คุณเอกชัย อิสระทะ นำเสนอรายงานกิจกรรมโครงการ การดำเนินงานโครงการการผลักดันข้อบัญญัติเรื่องความมั่นคงทางอาหารเพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชน คุณณัฐพล จันทร์สว่าง อาจารย์ปราโมทย์ แก้ววงค์ศรี นำเสนอรายงานกิจกรรมโครงการการเปลี่ยนแนวคิดจากการทำสวนยางเป็นวนเกษตรซึ่งได้นำเสนอข้อมูลที่อาจารย์ปราโมทย์ค้นคว้าและสำรวจพื้นที่ป่ายางเอง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ดีและมีประโยชน์ในการเป็นฐานข้อมูลสำหรับพื้นที่นั้นๆได้ศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
33. พัฒนาโจทย์วิจัยเรื่องปุ๋ยพื้นที่จะนะ | วันที่ 8 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์1.เพื่อพัฒนากิจกรรมการเศษหอย ปู กุ้ง ที่เป็นขยะติดมากับอวนประมง นำมาใช้ทำเป็นปุ๋ยบำรุงดิน 2.เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในชุมชน 3.เพื่อให้เกิดการจัดการขยะในชุมชน ลักษณะกิจกรรม1.ประชุมแกนนำชุมชนเพื่อทำความเข้าใจต่อแนวทางการจัดการขยะที่เป็นเศษหอย ปู กุ้ง 2.เกิดการประสานงานระหว่างนักวิชาการของศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับชุมชน 3.ลงสำรวจชุมชนเพื่อตรวจสอบปริมาณของเศษเปลือกหอย กุ้ง ปู |
เป้าหมายที่ตั้งไว้1.ประชุมแกนนำชุมชนเพื่อทำความเข้าใจต่อแนวทางการจัดการขยะที่เป็นเศษหอย ปู กุ้ง 2.เกิดการประสานงานระหว่างนักวิชาการของศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับชุมชน 3.ลงสำรวจชุมชนเพื่อตรวจสอบปริมาณของเศษเปลือกหอย กุ้ง ปูผลที่เกิดขึ้น1.ประชุมกับแกนนำชุมชนจำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่ แกนนำชุมชนบ้านสวนกง ที่มีแนวความคิดจะนำปลาตัวเล็กที่ขายไม่ได้ราคา มาแปรรูปเป็นน้ำปลา ลูกชิ้นปลา แต่ยังขาดความรู้ในการแปรรูปวัตถุดิบ ทางศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงประสานสถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ (ศูนย์โภชนาการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์) ในการจัดการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน 2.สำรวจแพปูบ้านบ่อโชน ซึ่งเป็นพื้นที่แกะเปลือกหอย กุ้ง ปู ซึ่งมีปริมาณสะสมเกิดเป็นขยะในชุมชน 3.นัดประชุมนักวิชาการ เช่น บ่มเพาะวิสาหกิจชุมขน ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อระดมความคิดเห็นในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของบ้านกงและบ้านบ่อโชน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
34. หารือเรื่อง อาหารของแม่ | วันที่ 17 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00วัตถุประสงค์ทำความเข้าใจการทำโครงการอาหารของแม่ ลักษณะกิจกรรมประชุมหารือร่วมกับ
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้ประชุมหารือวางแผนการดำเนินงานโครงการอาหารของแม่ผลที่เกิดขึ้นทางผู้อำนวยการกองส่งเสริมคุณภาพชีวิต องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ซึ่งได้รับมอบหมายจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้อธิบาย และให้เหตุผลในเรื่องงบประมาณที่สามารถสนับสนุนได้คือ
ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
35. ประชุมพิจารณา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา | วันที่ 8 มกราคม 2558 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อหารือ เพิ่มเติม และพิจารณาร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ลักษณะกิจกรรมประชุมกลุ่มใหญ่ และกลุ่มย่อย 4 กลุ่มยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงทางอาหารระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านอาหารปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านโภชนาการสมวัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ ในแต่ละห้องย่อยจะมีผู้เขี่ยวชาญทางด้านเรื่องนั้นๆ เป็นประธานนำคุย ผู้เข้าร่วมการประชุมดังกล่าว ประกอบไปด้วยหน่วยงานราชการ หน่วยงานภาคเอกชน ภาควิชาการ และประชาชนทั่วไป จำนวน 85 คน |
เป้าหมายที่ตั้งไว้- 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน - 09.00 – 09.15 น. กล่าวรายงานการพัฒนาแผน (ร่าง) ยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา - 09.15 – 09.30 น. บรรยายทิศทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา และเปิดงานประชุม โดย คุณอนุชิต ตระกูลมุทุตา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา - 09.30 - 10.00 น. บรรยายภาพรวมของของการจัดทำ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานคณะทำงานยกร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา - 10.00 – 12.00 น. แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อเพิ่มเติมแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ** ห้องย่อย 1402 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอาหารระดับจังหวัด ประธาน คุณเทพรัตน์ จันทพันธ์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เลขานุการ คุณฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ** ห้องย่อย 1401 ยุทธศาสตร์ด้านอาหารปลอดภัย ประธาน คุณดุริพัธ แจ้งใจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เลขานุการ คุณซูวารี มอซู สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ** ห้องย่อย 1405 ยุทธศาสตร์ด้านโภชนาการสมวัย ประธาน รศ.พญ. ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เลขานุการ คุณนงลักษณ์ รักเล่ง สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ** ห้องย่อยชั้น 10 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ ประธาน คุณศุภรินทร์ เสนาธง สำนักงานจังหวัดสงขลา เลขานุการ คุณเยาวลักษณ์ ศรีสุกใส สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ - 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน - 13.00 – 14.00 น. นำเสนอผลการให้ความเห็นต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา จากห้อง ย่อย กลุ่มละ 10 นาที - 14.00 – 15.00 น. สรุปผลการพิจารณา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา และปิดการประชุมผลที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมประชุมพิจารณา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์รบบอาหารจังหวัดสงขลา ได้ร่วมกันให้ข้อเสนอแนะ เพิ่มเติม ข้อคิดเห็น ต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลา ในแต่ละห้องย่อย หลังจากนั้นมาสรุปอีกครั้งในห้องใหญ่ ซึ่งยุทธศาสตร์ที่ได้จากการพิจารณาประกอบไปด้วย 4 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงทางอาหาร ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านอาหารปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านโภชนาการสมวัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ ซื่งแต่ละยุทธศาสตร์มีการปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม กลยุทธ์ และแนวทางการดำเนินงานเล็กน้อย เพื่อให้สามารถนำไปปฎิบัติได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม และฝ่ายเลขานุการจะได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด นำเสนอต่อสำนักงานจังหวัดสงขลาเป็นลำดับต่อไป ปัญหา/แนวทางแก้ไข_ ข้อเสนอแนะต่อ สสส._ ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ._ ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
36. อบรมการใช้สื่อฯ โดยกลุ่มระบัดใบ | วันที่ 15 มกราคม 2558 เวลา 10:00วัตถุประสงค์เพื่อให้คุณครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครูโรงเรียน เจ้าพนักงาน รพ สต อสม และเจ้าหน้าที่ทางเทศบาลที่เกี่ยวข้อง ได้เรียนรู้และสามารถจัดทำสื่อฯ ในการสอนเด็กๆในโรงเรียนได้ ลักษณะกิจกรรมครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, ครูโรงเรียนประถม, ครูโรงเรียนมัธยม, เจ้าหน้าที่ รพ สต, อสม และนักวิชาการจาก เทศบาลตำบลชะแล้ และองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู เข้าร่วมการอบรมสื่อฯ จำนวน 30 คน โดยมีวิทยากรจากกลุ่มระบัดใบมาให้ความรู้ ในกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมละลายพฤติกรรมเพื่อทำความรู้จัก การแลกเปลี่ยนเรียนรู็เพื่อออกแบบสื่อกิจกรรม ปฏิบัติการผลิตสื่อกิจกรรม ประกอบหนังสือนิทานภาพเป็นฐานการเรียนรู้ เป็นต้น |
เป้าหมายที่ตั้งไว้วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม 58 *09.30-10.00 น. ลงทะเบียน *10.00-12.00 น. กิจกรรมเตรียมความพร้อม สร้างความรู้จักและกิจกรรม “เด็กปฐมวัย เรียนรู้อย่างไรให้สอดคล้องกับพัฒนาการ (หน้าต่างแห่งโอกาส) *13.00-16.00 น.กิจกรรม แนวทางการจัดกิจกรรมใช้หนังสือนิทานภาพเป็นฐานการเรียนรู้ และออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับการส่งเสริมสุขภาวะทางกาย ของเด็กปฐมวัยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อวางแผนออกแบบสื่อกิจกรรม วันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2558 *10.00-12.00 น. ปฏิบัติการผลิตสื่อกิจกรรม ประกอบหนังสือนิทานภาพเป็นฐานการเรียนรู้ นำเสนอสื่อกิจกรรมจากผู้เข้าร่วม 6 กลุ่ม *13.00-15.00 น. นำเสนอสื่อกิจกรรมจากผู้เข้าร่วม 6 กลุ่ม สรุปกิจกรรมและแลกเปลี่ยน เพื่อนำไปปฏิบัติในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผลที่เกิดขึ้นครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, ครูโรงเรียนประถม, ครูโรงเรียนมัธยม, เจ้าหน้าที่ รพ สต, อสม และนักวิชาการจาก เทศบาลตำบลชะแล้ และองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ และมีความคิดริเร่มสรา้งสรรค์ในการประดิษฐ์สื่อเรื่องอาหารและโภชนาการเพื่อให้เด็กในโรงเรียนหันมาให้ความสนใจ และรับประทานผักผลไม้มากขึ้น โดยเริ่มจากหนังสือนิทาน 1 เล่ม และมาแปลงเป็นสื่ออื่นๆ เช่น เกมส์ การปฏิบัติจริง นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมอบรมยังได้เรียนรู้สื่อสิ่งประดิษฐ์อื่นๆ เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการเพื่อนำกลับไปกระตุ้นให้เด็กนักเรียนบริโภคผักและผลไม้มากขึ้น ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
37. ดูงานเชียงราย | วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00วัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนกระบวนการทำงานระหว่างโครงการบูรณาการอาหารปลอดภัยเชียงรายเป็นสุข ลักษณะกิจกรรมศึกษาดูงานด้านการเกษตรและร้านอาหารปลอดภัย ณ จังหวัดเชียงราย |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ศึกษาดูงานด้านการเกษตร และร้านอาหารปลอดภัย ณ จังหวัดเชียงรายผลที่เกิดขึ้นเกิดการแลกเปลี่ยนประเด็นการทำงานได้แก่ การท่องเที่ยวชุมชน เกษตรปลอดสารเคมี และการพัฒนาร้านอาหารให้ปลอดภัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
38. ดูงานเชียงราย | วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00วัตถุประสงค์- ลักษณะกิจกรรม1ดูงานโฮมสเตย์บ้านท่าขันทอง อ.เชียงแสน 2ไหว้พระพุทธนวล้านตื้อ 3แหล่งท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ จินนาลักษณ์กระดาษสา อ.แม่สาย |
เป้าหมายที่ตั้งไว้ดูงานการท่องเที่ยวชุมชนผลที่เกิดขึ้น- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
39. ดูงานเชียงราย | วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00วัตถุประสงค์- ลักษณะกิจกรรม
|
เป้าหมายที่ตั้งไว้ผลที่เกิดขึ้น
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
ข้อเสนอแนะต่อ สสส.
ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.
|
หมายเหตุ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรมหรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ)
ประเมินผลคุณภาพกิจกรรม ให้ใส่เครื่องหมาย / ในช่องคะแนนโดยที่คะแนน 4=บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย 3=บรรลุผลตามเป้าหมาย 2=เกือบได้ตามเป้าหมาย 1=ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก
5. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)6. แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
ตามแผนงานเดิมที่ระบุไว้ในข้อเสนอโครงการ
มีการปรับเปลี่ยนจากข้อเสนอโครงการ ระบุกิจกรรม/รายละเอียดที่จะปรับเปลี่ยน และระยะเวลาที่จะปรับเปลี่ยน
7. ประเมินสถานการณ์โดยภาพรวมของโครงการ
สามารถดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนได้
ล่าช้ากว่าแผน กรุณาให้แนวทางแก้ไขปรับปรุง (สรุปเป็นข้อ)
8. ข้อคิดเห็นอื่น ๆ