รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 56-ข-019
งวดที่ 1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)
ชื่อโครงการ การสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นและการประเมินผลโดยพื้นที่
กิจกรรม | ผลงาน (ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี) | ผลสรุปที่สำคัญ | ประเมินผล คุณภาพกิจกรรม | |||
---|---|---|---|---|---|---|
4 | 3 | 2 | 1 | |||
ประชุมทีมวิจัย | วันที่ 30 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมร่วมกับทีมพี่เลี้ยง สจรส. | วันที่ 6 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำนำเสนอและร่วมอภิปรายเครื่องมือฉบับร่าง |
ได้เครื่องมือฉบับร่าง ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้ร่วมวิจัยไม่สามารถเข้าร่วมได้ทุกคน เนื่องจากติดภารกิจ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมร่วมกับชะแล้ ควนรู รพ.สต.ชะแล้ รร.วัดชะแล้ ศูนย์เด้กล็ก | วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อนำข้อเสนอแนะจากแกนนำชุมชน ต.ชะแล้และต.ควนรูมาสร้างแบบสอบถาม | วันที่ 9 กรกฎาคม 2556 เวลา 15:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อนำเสนอข้อเสนอแนะจากแกนนำชุมชน ต.ชะและ ต.ควนรูมาสร้างแบบสอบถาม |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งร่างเครื่องมือเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย ครั้งที่ 1 | วันที่ 10 กรกฎาคม 2556 เวลา 15:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ส่งเครื่องมือเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย |
ร่างแบบประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย จำนวน 1 ฉบับ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อทบทวนการวางกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถามเพิ่มเติม | วันที่ 13 กรกฎาคม 2556 เวลา 9.00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัย 2.ประชุมทีมวิจัยเพื่อทบทวนการวางกรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถามเพิ่มเติม |
กรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถามฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อทบทวนวรรณกรรมในการสร้างแบบสอบถาม | วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 8:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อทบทวนวรรณกรรมในการสร้างแบบสอบถาม 2.สังเคราะห์และเขียนการทบทวนวรรณกรรม |
สรุปการทบทวนวรรณกรรม ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อร่างเครื่องมือวิจัยตามกรอบแนวคิดและการทบทวนวรรณกรรม | วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 8:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อร่างเครื่องมือตามกรอบแนวคิดและการทบทวนวรรณกรรม |
ร่างเครื่องมือการวิจัยตามกรอบแนวคิดแะการทบทวนวรรณกรรมที่พร้อมสำหรับการทดลองใช้ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งร่างเครื่องมือเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย ฉบับปรับแก้คร้้งที่ 2 | วันที่ 2 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ- |
- ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อวางแผนการทดลองใช้เครื่องมือ | วันที่ 24 สิงหาคม 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อวางแผนการทดลองใช้เครื่องมือ |
แผนการทดลองใช้เครื่องมือที่ตำบลน้ำน้อย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ทดลองใช้แบบประเมินตนเองเบื้องต้นที่ครอบคลุมนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการสมวัย | วันที่ 4 กันยายน 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.พบแกนนำชุมชน ต.น้ำน้อย เพื่อขอความร่วมมือในการทดลองใช้เครื่องมือ 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการทดลองใช้เครื่องมือกับแกนนำชุมชน 3.ทดลองใช้แบบสอบถามโดยการสัมภาษณ์กับแกนนำชุมชน จำนวน 30 ราย 4.รับฟังความคิดเห็นของแกนนำชุมชนเพื่อปรับปรุงแบบสอบถามให้สอดคล้องกับการใช้ในบริบทของชุมชน |
แบบประเมินตนเองเบื้องต้นที่สอดคล้องกับชุมชนชนบท ปัญหา/แนวทางแก้ไขปัญหา
1.แกนนำชุมชนมาไม่พร้อมกันทำให้ต้องอธิบายการตอบแบบประเมินตนเองหลายรอบ
2.แบบประเมินมีจำนวนหลายข้อ และบางข้อมีความซ้ำซ้อนกัน ทำให้ใช้เวลาในการตอบประมาณ 1 ชม 15 นาที
3.แกนนำบางคนมีข้อจำกัดในการมองเห็น การเขียนหนังสือ ทำให้ไม่สามารถตอบแบบประเมินตนเองได้
แนวทางแก้ไข
1.อธิบายแบบประเมินตนเองให้แกนนำที่มาช้า
2.ปรับเปลี่ยนแบบประเมินความมั่นคงทางอาหารเป็น 2 แบบประเมินคือ แบบประเมินครอบครัว และแบบประเมินสำหรับชุมชนที่เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลรวมของชุมชน
3. ปรับเปลี่ยนวิธีการให้ตอบแบบประเมินเป็นการสัมภาษณ์แทน เพื่อลดข้อจำกัดในการมองเห็นและการอ่านหนังสือของแกนนำ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยและผู้ช่วยวิจัยเพื่อนำผลการทดลองใช้เครื่องมือมาปรับปรุงแบบสอบถาม | วันที่ 6 กันยายน 2556 เวลา 15:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประชุมทีมวิจัยและผู้ช่วยวิจัยเพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล 2.สรุปปัญหาที่พบจากการทดลองใช้เครื่องมือ |
1.แบบสอบถามที่ครบถ้วนสมบูรณ์ 2.ปัญหาที่พบจากการทดลองใช้เครื่องมือ 3.แนวทางการปรับแก้เครื่องมือ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
วิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองใช้เครื่องมือการวิจัย | วันที่ 7 กันยายน 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.จัดทำ data dictionary 2.กรอกข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ 3.ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 4.วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล |
ผลการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือการวิจัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ | วันที่ 9 กันยายน 2556 เวลา 15:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ปรับปรุงแบบสอบถามตามข้อเสนอแนะของทีมวิจัยและผู้ช่วยวิจัย 2.ตรวจทานความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม 3.ส่งแบบสอบถามให้ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาของแบบสอบถาม |
ได้แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์จำนวน 1 ฉบับ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เชิญผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบถามตรงตามเนื้อหา | วันที่ 10 กันยายน 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ติดต่อผู้ทรงคุณวุฒิ 2.ทำหนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา 3.ส่งเครื่องมือให้ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบ |
เครื่องมือการวิจัยได้รับการตรวจสอบความตรงทางเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ติดตามข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ | วันที่ 17 กันยายน 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประสานงานกับผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อขอรับข้อเสนอแนะในการปรับปรุงเครื่องมือ |
ได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิในการปรับปรุงเครื่องมือ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
นำข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับปรุงเครื่องมือฉบับสมบูรณ์ (ปรับปรุงคร้ั้งที่ 3) | วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำปรับปรุงแบบสอบถามตามข้อเสนอแนะผู้ทรงคุณวุฒิ |
เครื่องมือวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ส่งร่างเครื่องมือเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหาร และโภชนาการสมวัย (ฉบับสมบูรณ์) | วันที่ 6 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำส่งร่างเครื่องมือเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้นเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร |
ได้ร่างเครื่องมือการประเมินตนเองเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ความปลอดภัยของอาหารและโภชนาการ ปัญหา/แนวทางแก้ไขไม่มี ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ไม่มี ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานกับแกนนำต.ชะแล้และต.ควนรู เพื่อวางแผนการพัฒนาศักยภาพสำหรับการสำรวจเครื่องมือในพื้นที่นำร่อง | วันที่ 12 ตุลาคม 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.ประสานกับแกนนำต.ชะแล้และต.ควนรู เพื่อวางแผนการพัฒนาศักยภาพสำหรับการสำรวจเครื่องมือในพื้นที่นำร่อง 2.นัดหมายวันเวลาในการพัฒนาศักยภาพสำหรับการสำรวจเครื่องมือในพื้นที่นำร่อง |
นัดหมายเพื่อวางแผนพัฒนาศักยภาพสำหรับแกนนำในการใช้เครื่องมือใน ต.ชะแล้และต.ควนรู ในวันที่ 19 พย. 2556 ปัญหา/แนวทางแก้ไขไม่มี ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ไม่มี ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ไม่มี ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมชนในการสำรวจข้อมูลในพื้นที่นำร่อง 2 แห่ง | วันที่ 19 พฤศจิกายน 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมชนในการสำรวจข้อมูลในพื้นที่นำร่อง 2 แห่งคือ ต.ควนรูและต.ชะแล้ 2.ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือสำรวจข้อมูลในพื้นที่ 3.ฝึกภาคปฏิบัติการใช้เครื่องมือสำรวจข้อมูล 4.แบ่งพื้นที่รับผิดชอบในการเก็บข้อมูลให้กับแกนนำในชุมชนเพื่อเก็บข้อมูล |
1.มีแกนนำเข้าร่วมพัฒนาศักยภาพในการสำรวจข้อมูล ต.ควนรู จำนวน 17 คน และ ต.ชะแล้ จำนวน 17 คน 2. แกนนำมีศักยภาพในการใช้ครื่องมือในการสำรวจข้อมูล 3.แกนนำเก็บข้อมูลตามพื้นที่รับผิดชอบและนัดแนะการส่งข้อมูลปลายเดือนพฤศจิกายน ปัญหา/แนวทางแก้ไขมีฝนตกหนักในวันที่ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำในการสำรวจข้อมูล ทำให้มีความยากลำบากในการเดินทาง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำในชุมขนสำหรับการสำรวจข้อมูลในแต่ละพื้นที่เปรียบเทียบ 2 แห่ง | วันที่ 2 ธันวาคม 2556 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำ1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำในการสำรวจข้อมูลในพื้นที่เปรียบเที่ยบ ต.ท่าหินและ ต.รัตภูมิ |
1.มีแกนนำเข้าร่วมพัฒนาศักยภาพในการสำรวจข้อมูล ต.ท่าหิน จำนวน 21 คน และ ต.รัตภูมิจำนวน 14 คน 2. แกนนำมีศักยภาพในการใช้ครื่องมือในการสำรวจข้อมูล ปัญหา/แนวทางแก้ไข1.แกนนำที่เข้าร่วมในการเก็บข้อมูลบางคนมีข้อจำกัดเรื่องการมองเห็นและการอ่านหนังสือ เนื่องจากเป็นผู้สูงอายุ 2.ต.รัตภูมิ มีแกนนำมาไม่ครบทุกหมู่บ้าน จึงทำให้การเก็บข้อมูลอาจมีความล่าข้ากว่าที่วางเป้าหมายไว้ ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
สำรวจข้อมูลในพื้นที่นำร่องและพื้นที่เปรียบเทียบ | วันที่ 12 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยและอสม. แกนนำชุมชน แต่ละหมู่บ้านร่วมกันเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ๋์ตัวแทนครัวเรือน |
ได้ข้อมูลความมั่นคงอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนการสมวัย จากตัวแทนครัวเรือน ปัญหา/แนวทางแก้ไขบางครัวเรือน ไม่มีคนอยู่ ต้องไปเก็บมากกว่า 1 ครั้ง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.อสม.บางคนทีมีอายุมาก ไม่ชำนาญในการอ่านหนังสือ ลำบากในการใช้แบบสอบถาม ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.ไม่มี ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
วิเคราะห์ข้อมูลผลการสำรวจสถานการณ์สุขภาวะทางอาหารของ 4 พื้นที่นำร่อง | วันที่ 9 มีนาคม 2557 เวลา 16:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจสถานการณ์สุขภาวะทางอาหาร ของ 4 พื้นที่ |
การวิเคราะห์ด้วยสถิติ ค่าร้อยละ ครอบคลุมด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ปัญหา/แนวทางแก้ไขแบบสอบถามมีความละเอียดเกินไป ทำให้ต้องใช้เวลาในการลงรหัส และบันทึกข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลใช้เวลานานมาก และต้องวิเคราะห์ในวงรอบ 10 ปี 5 ปี 3 ปี และปัจจุบัน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ในรอบแรกยังไม่่สามารถฝึกให้ชุมชนวิเคราะห์ข้อมูลเองได้ ผู้วิจัยต้องวิเคราะห์เอง ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
นำเสนอข้อมูลแก่ชุมชน เพื่อยืนยันข้อมูล | วันที่ 13 มีนาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยนำเสนอข้อมูลจากการวิเคราะห์แก่ผู้บริหาร และแกนนำชุมชน ชะแล้ และควนรู |
ผู้บริหารและแกนนำ รับฟังการนำเสนอข้อมูลจากผูัวิจัย และร่วมเติมเต็มข้อมูล ปัญหา/แนวทางแก้ไขแกนนำมาร่วมประชุมได้เพียงบางคน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประชุมทีมวิจัยเพื่อแปลผลข้อมูล และเติมเต็มข้อมูลหลังจากชุมชนยืนยันข้อมูล | วันที่ 16 มีนาคม 2557 เวลา 08:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยนำข้อมูลที่ชุมชนยืนยันแล้ว มาเติมเต็มให้สมบูร์ แล้วแปลผลข้อมูลจากการวิเคราะห์ด้วยสถิติ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน |
ผู้วิจัยสามารถร่วมกันแปลผลข้อมูลได้ถูกต้อง ครอบคลุมมากขึ้น ปัญหา/แนวทางแก้ไขเนื่องจากผู้วิจัยมีหลายคนและมีประสบการณ์แตกต่างกัน ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์กันและกัน โดยเฉพาะการวิเคราะห์ข้อมูลที่ค่อนข้างซับซ้อน ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดนิทรรศการตลาดนัดอุทยานอาหาร | วันที่ 21 มีนาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมจัดนิทรรศการ ผลการสำรวจข้อมูลเบื้องต้นด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย |
ตำบลที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง และตำบลอืนๆ ให้ความสนใจต่อข้อมูลผลการสำรวจ และมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหา/แนวทางแก้ไขมีผู้เข้าร่วมชมค่อนน้อยในตอนกลางวัน แต่จะมีมากขึ้นช่วงเย็น ข้อเสนอแนะต่อ สสส.ไม่มี ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
นำเสนอข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะทางอาหารของ 4 พื้นที่ | วันที่ 28 เมษายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำนำเสนอข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะทางอาหาร 4 พื้นที่ ให้กับผู้บริหารและแกนนำชุมชนทราบ |
ผู้บริหารและแกนนำชุมชนทราบและเข้าใจสถานการณ์สุขภาวะทาอาหารของตนเอง ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
นำเสนอข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะทางอาหารของ 4 พื้นที่ | วันที่ 29 เมษายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยนำเสนอข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะทางอาหาร ของท่าหิน และรัตภูมิ ให้ผู้บริหาร และแกนนำชุมชนรับทราบ |
ผู้บริหาร และแกนนำชุมชน รับทราบและเข้าใจข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะทางอาหารของตนเอง ปัญหา/แนวทางแก้ไขผู้บริหารและแกนนำชุมชนเข้าร่วมได้ไม่หมด ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เก็บข้อมูลประเมินผล 4 พื้นที่ | วันที่ 2 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำอสม. และแกนนำชุมชน ร่วมกันเก็บข้อมูลประเมินด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ครั้งที่ 2 เพื่อเปรียบเทียบกับครัั้งแรก |
อสม. และแกนนำชุมชน ร่วมกันเก็บข้อมูลประเมินด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ครั้งที่ 2 เพื่อเปรียบเทียบกับครัั้งแรก ปัญหา/แนวทางแก้ไขบางครัวเริอนไม่มีสมาชิกอยู่บ้าน ทำให้ต้องใช้เวลาในการไปสัมภาษณ์ มากกว่า 1 ครั้ง ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ประสานงานกับพื้นที่ในการติดตามการเก็บข้อมูลประเมินผล | วันที่ 9 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำประสานงานกับตัวแทนของพื้นที่ ทั้ง 4 แห่งเพื่อติดตามประเมินผลการเก็บข้อมูล |
ได้รับความร่วมมือจากตัวแทนพื้นที่ ในการติดตามการเก็บข้อมูล ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
ค่าบันทึกข้อมุูลประเมินผล 4 พื้นที่ | วันที่ 13 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำนำแบบสอบถามที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว มาบันทึกในคอมพิวเตอร์ ตามรหัสที่วางแผนไว้ |
บันทึกข้อมูลจากแบบสอบถามทั้ง 4 พื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไขเนื่องจากแบบสอบถามมีจำนวนมาก ต้องใช้เวลาในการลงบันทึกหลายวันกว่ากำหนด ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผล ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนการสมวัย | วันที่ 14 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำทีมวิจัยร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ |
ได้วิเคราะห์ข้อมูลการประเมินผลทั้ง 4 พื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
สังเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทั้ง 4 พื้นที่ | วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยจัดหมวดหมู่ข้อมูล เรียบเรียง ตามหลักการเขียนรายงานวิจัย เพื่อให้ได้องค์ความรูํ้เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย |
ได้องค์ควาามรู้ใหม่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนการสมวัย ของทั้ง 4 พื้นที่ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำรายงานการวิจัยเรื่องการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทั้ง 4 พื้นที่ | วันที่ 27 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เพื่อเป็นหลักฐานทางวิชาการ และเผยแพร่ |
ทีมวิจัยร่วมกันเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และส่งไปเผยแพร่ในหน่วยงานต่างๆ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำรายงานการวิจัยเรื่องการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทั้ง 4 พื้นที่ | วันที่ 29 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำร่วมกันจัดทำรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เพื่อสามารถเผยแพร่ได้ |
ได้รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่สามารถเป็นเอกสารอ้างอิงได้ ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
สังเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทั้ง 4 พื้นที่ | วันที่ 31 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดหมวดหมูี่ข้อมูลและเรียบเรียงจากการวิเคราะห์เพือสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย |
ได้สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เขียนบทความวิจัยเรื่องการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย | วันที่ 1 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำนำเนื้อหาจากงานวิจัยฉบับสมบูรณ์มาเขียนบทความวิจัย เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่และนำเสนอในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ วันที 17-18 กรกฎาคม 2557เรื่องสหวิทยาการ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสู่ประชาคมอาเซียน |
เขียนบทควาามวิจัยจำนวน 4 เรื่อง (4พื้นที่)เพื่อส่งไปนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ2557เรื่องสหวิทยาการ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสู่ประชาคมอาเซียน ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
สังเคราะห์ข้อมูลประเมินผลความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทั้ง 4 พื้นที่ | วันที่ 4 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำจัดหมวดหมู่ข้อมูล และเรียบเรียงข้อมูลจากการวิเคราะห์ เพื่อสร้างเป็นความรู้ใหม่ทางความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนการสมวัย |
สังเคราะห์เป็นรายงานวิจัยเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนการสมวัย4 เล่ม (4พื้นที่) ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
จัดทำรายงานวิจัยประเมินผลการประเมินตนเองเบื้องต้นด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารป | วันที่ 5 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำเขียนรายงานวิจัยเพื่อเป็นเอกสารที่นำไปเผยแพร่ ใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงต่อไป |
ได้รายงานวิจัยประเมินผลการประเมินตนเองเบื้องต้นด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย 4 เล่ม (4ตำบล) ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |
||||
เขียนบทความวิจัยประเมินผลการประเมินตนเองเบื้องต้น ด้านความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย | วันที่ 6 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00ลักษณะกิจกรรมที่ทำผู้วิจัยนำเนื้อหาจากรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์มาสรุปเป็นบทความวิจัย เพื่อตีพิมพืเผยแพร่ |
ได้บทความวิจัยจำนวน 4 เรื่อง (4พื้นที่) ปัญหา/แนวทางแก้ไข- ข้อเสนอแนะต่อ สสส.- ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.- ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.- |