ร้านอาหารเพื่อสุขภาพครัวใบโหนด

ร้านอาหารเพื่อสุขภาพครัวใบโหนด

รีเฟรช
ชื่อเครือข่าย ร้านอาหารเพื่อสุขภาพครัวใบโหนด
ประเภท ความมั่นคงด้านอาหาร
ที่ตั้ง ตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ผู้ประสานงาน

นายสามารถ  สระกระวี  ผู้จัดการร้านครัวใบโหนด

เบอร์โทรศัพท์ 081-3885058
อีเมล์
บทบาทหน้าที่
  1. การเปิดพื้นที่จำหน่ายอาหารพื้นบ้าน เช่น ผักพื้นบ้านในเขตพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ อาหารเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
  2. การเชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกรที่ทำอาชีพขึ้นตาลตะโหนด ในเขตพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ
  3. การจัดสวัสดิการในลักษณะกองทุนของเกษตรกรขึ้นโหนด
  4. การผลักดันให้เกิดการอนุรักษ์วิถีชุมชน คนขึ้นโหนด ทำนา
  5. การจัดกิจกรรมด้านความมั่นคงด้านอาหาร เช่น แหล่งอนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นถิ่น
  6. การประสานงานกับเครือข่ายในและนอกพื้นที่ในการจัดการภัยพิบัติ
  7. การพัฒนาชุดความรู้เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน

 

ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการดำเนินงาน

 

กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว
  1. เปิดร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ชื่อ ร้านครัวใบโหนด
  2. ดำเนินกิจกรรมระดมทุนเพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนเมื่อเกิดกรณีภัยพิบัติ
  3. รวมรวบเครือข่ายเมล็ดพันธุ์พืชพื้นบ้าน
  4. เปิดร้านค้าสวัสดิการชุมชน
  5. จัดกิจกรรมค่ายเยาวชน
  6. ขยายครัวเพื่อสุขภาพ อาหารกลางวันผักพื้นบ้าน ตำราอาหารผักพื้นบ้าน
    สู่โรงพยาบาลสิงหนคร
  7. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนประเด็นนโยบายสาธารณะระหว่างเครือข่าย
    เดือนละ 1 ครั้ง
ชุดบทเรียน/ความรู้/กรณีศึกษาที่เป็นผลงานเด่น
  1. รวมรวบข้อมูลเกี่ยวกับพันธุ์พืชและตำรับอาหารในคาบสมุทรสทิงพระ
    เอกสาร ชื่อ ผักแถวพื้น แกงแถวบ้าน ผักพื้นบ้านและอาหารพื้นถิ่น จากคาบสมุทรสทิงพระ
  2. รูปแบบการจัดการร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ร้านครัวใบโหนด ใช้กระบวนการรวมรวบผลผลิตทางการเกษตรของเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ เข้าสู่เมนูอาหารของร้านครัวใบโหนด
เครือข่ายที่ทำงานด้วย
  1. มูลนิธิชีววิถี
แผนงานในอนาคต
  1. แหล่งเรียนรู้เรื่องความมั่นคงทางอาหารเพื่อสุขภาวะ
    การเกิดศูนย์เพาะพันธุ์อาหาร พืช สัตว์
  2. การเชื่อมโยงวัฒนธรรมท้องถิ่น อาหารพื้นบ้าน หลักสูตรชุมชน
    ตำรับอาหารสุขภาพพื้นบ้าน
  3. ตลาดนัดพืชผักปลอดสารพิษที่ครัวใบโหนด ศูนย์เรียนรู้ ดึงคนมาเรียนรู้
  4. การจัดงานวันผักพื้นบ้าน อาหารท้องถิ่น รณรงค์
    เชื่อมร้อยเครือข่ายในจังหวัด
  5. บูรณาการกับงานบูรณาการจังหวัด สนับสนุนเครือข่าย ด้านความรู้ ความเข้าใจ เทคนิค สาธิตอาหารท้องถิ่น
  6. กิจกรรมตลาดสดในชุมชน การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านนโยบายอาหารให้กับเครือข่าย
  7. การสร้างเครือข่ายผู้ผลิตโดยวิถีชุมชน
  • photo
  • photo

ไฟล์เอกสารประกอบ