ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | |
1. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
จันทร์ 5 มี.ค. 61 | จันทร์ 5 มี.ค. 61 | บริการน้ำสมุนไพร(น้ำเก๊กฮวย)ในผู้ป่วยในคลินิกผู้ป่วยเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำเก๊กฮวย)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำสมุนไพร(น้ำเก๊กฮวย) พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร(น้ำเก๊กฮวย) |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพร(น้ำเก๊กฮวย)และไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
2. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 6 มี.ค. 61 | อังคาร 6 มี.ค. 61 | บริการน้ำสมุนไพร(น้ำส้มแขก)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำส้มแขก)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำสมุนไพรในแต่ละวัน พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
3. ขยายตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในหญิงให้นมบุตร » | ||||||
พุธ 7 มี.ค. 61 | พุธ 7 มี.ค. 61 | 1.ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร แก่หญิงให้นมบุตร พร้อมสาธิตและให้หญิงให้นมบุตรชิมตำรับอาหาร (ยำหัวปลี) เพื่อสามารถน้ำไปปรุงเองที่บ้านได้ 2.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในหญิงให้นมบุตร |
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร แก่หญิงให้นมบุตร พร้อมสาธิตและให้หญิงให้นมบุตรชิมตำรับอาหาร (ยำหัวปลี) เพื่อสามารถน้ำไปปรุงเองที่บ้านได้ 2.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในหญิงให้นมบุตร |
1.หญิงให้นมบุตรได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร (ยำหัวปลี) และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ60 2.เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในหญิงให้นมบุตร และสามารถให้คำแนะนำกับหญิงให้นมบุตรเรื่องตำรับอาหารเป็นยาได้ ร้อยละ80 |
1.หญิงให้นมบุตรได้รับความรู้ให้ความสนใจในเอกสารตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถตอบคำถามได้ 2.เจ้าหน้าที่มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำเรื่องอาหารแก่ผู้รับบริการได้ |
- |
4. ขยายตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง » | ||||||
จันทร์ 12 มี.ค. 61 | จันทร์ 12 มี.ค. 61 | ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร (ปลาทูต้มตะลิงปิง)ให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมสาธิตและให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังชิมตำรับอาหาร เพื่อสามารถนำไปปรุงหรือให้ลูกหลานเองปรุงให้รับประทานที่บ้านได้ |
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร(ปลาทูต้มตะลิงปิง) แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมสาธิตและให้หญิงให้ผู้ป่วยชิมตำรับอาหาร เพื่อสามารถน้ำไปปรุงเองที่บ้านได้ 2.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ |
1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง ในรพ.สตน้ำน้อย ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ80 2.เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสามารถให้คำแนะนำกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องตำรับอาหารเป็นยาได้ ร้อยละ80 |
1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง ในรพ.สตน้ำน้อย ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ80 2.เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสามารถให้คำแนะนำกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องตำรับอาหารเป็นยาได้ ร้อยละ80 |
- |
5. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 13 มี.ค. 61 | อังคาร 13 มี.ค. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพรในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพรในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำสมุนไพรในแต่ละวัน พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
6. พัฒนาศักยภาพ อสม. เชี่ยวชาญ ในการขยายตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร » | ||||||
พุธ 14 มี.ค. 61 | พุธ 14 มี.ค. 61 | อบรมเชิงปฏิบัติแก่อสม. โดยแบ่งกลุ่มอสม. ออกเป็น 4 กลุ่ม 1 กลุ่มทำอาหารตามตำรับอาหารเป็นยา 1 อย่าง คือเมี้ยงปลาทู แกงเลียงผักปลัง คั่วกุ้งช้าพลู น้ำตะไคร้ใบเตย และรับประทานอาหารร่วมกัน |
อบรมเชิงปฏิบัติแก่อสม. โดยแบ่งกลุ่มอสม. ออกเป็น 4 กลุ่ม 1 กลุ่มทำอาหารตามตำรับอาหารเป็นยา 1 อย่าง คือเมี้ยงปลาทู แกงเลียงผักปลัง คั่วกุ้งช้าพลู น้ำตะไคร้ใบเตย และรับประทานอาหารร่วมกัน |
ร้อยละ 70 % ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาและสามารถนำความรู้ที่ได้กลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาและสามารถนำความรู้ที่ได้กลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้มากกว่าร้อย 70 |
- |
7. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
จันทร์ 19 มี.ค. 61 | จันทร์ 19 มี.ค. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำแก่นฝาง)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำแก่นฝาง)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำแก่นฝาง พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะ |
8. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 20 มี.ค. 61 | อังคาร 20 มี.ค. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำส้มแขก)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำส้มแขก)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำส้มแขก พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
9. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
พุธ 21 มี.ค. 61 | พุธ 21 มี.ค. 61 | บริการน้ำสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ใน รพ.สต.น้ำน้อย |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำกระเจี๊ยบ พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลี่ยนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
- |
10. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
จันทร์ 26 มี.ค. 61 | จันทร์ 26 มี.ค. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำแก่นฝางและน้ำกระเจี๊ยบ)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำแก่นฝางและน้ำกระเจี๊ยบ)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำกระเจี๊ยบและน้ำแก่นฝาง พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
11. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 27 มี.ค. 61 | อังคาร 27 มี.ค. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำมะตูม)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำมะตูม)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำมะตูม พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
12. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
จันทร์ 2 เม.ย. 61 | จันทร์ 2 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำตะไคร้ใบเตย)ในชมรมผู้สูงอายุ |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำตะไคร้ใบเตย)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำตะไคร้ใบเตย พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
13. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 3 เม.ย. 61 | อังคาร 3 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพรในชมรมผู้สูงอายุ |
1.จัดทำน้ำสมุนไพรในชมรมผู้สูงอายุหลังการออกกำลังกาย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำสมุนไพรในแต่ละวัน พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องดื่มของผู้สูงอายุหลังจากออกกำลังกายได้ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่า มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้สูงอายุให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้สูงอายุบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
14. ขยายตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง » | ||||||
จันทร์ 9 เม.ย. 61 | จันทร์ 9 เม.ย. 61 | ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร แก่หญิงให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมสาธิตและให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังชิมตำรับอาหาร เพื่อสามารถนำไปปรุงหรือให้ลูกหลานเองปรุงให้รับประทานที่บ้านได้ |
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมสาธิตและให้หญิงให้ผู้ป่วยชิมตำรับอาหาร เพื่อสามารถน้ำไปปรุงเองที่บ้านได้ 2.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ |
1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง ในรพ.สตน้ำน้อย ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ80 2.เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสามารถให้คำแนะนำกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องตำรับอาหารเป็นยาได้ ร้อยละ80 |
1.ผู้ป่วยในคลินิกโรคเรื้อรัง ในรพ.สตน้ำน้อย ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ80 2.เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และสามารถให้คำแนะนำกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องตำรับอาหารเป็นยาได้ ร้อยละ80 |
- |
15. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 10 เม.ย. 61 | อังคาร 10 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำมะตูม)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำมะตูม)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำมะตูม พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
16. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
พุธ 11 เม.ย. 61 | พุธ 11 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำตะไคร้ใบเตย)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำตะไคร้ใบเตย)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
17. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 17 เม.ย. 61 | อังคาร 17 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำกระเจี๊ยบ พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
18. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
จันทร์ 23 เม.ย. 61 | จันทร์ 23 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำกระเจี๊ยบ)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำกระเจี๊ยบ พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
19. น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ » | ||||||
อังคาร 24 เม.ย. 61 | อังคาร 24 เม.ย. 61 | บริการน้ำดื่มสมุนไพร(น้ำลูกหนามแดง)ในคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
1.จัดทำน้ำสมุนไพร(น้ำลูกหนามแดง)ในจุดบริการน้ำดื่มของผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกโรคเรื้อรังรัง หลังจากการให้สุขศึกษาของแพทย์แผนไทย 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของน้ำลูกหนามแดง พร้อมแจกเอกสารตามคู่มือตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 3.เจ้าหน้าที่ได้ดื่มน้ำสมุนไพร |
|
1.สามารถปรับเปลียนเครื่องที่จุดบริการน้ำของผู้ใช้บริการ โดยจากเดิมเป็นน้ำเปล่าที่ 3 อุณหภูมิ คือร้อน อุ่น เย็น มาเป็นน้ำสมุนไพรอุ่นแทน 2. ผู้มารับบริการให้ความสนใจกับคู่มือตำรับอาหารเป็นยา และสามารถ ตอบคำถามที่ได้ 3.เจ้าหน้าที่ดื่มน้ำสมุนไพรแทนน้ำเย็นและกาแฟ |
1.ผู้มารับบริการบางคนยังไม่คุ้นชินกับน้ำสมุนไพรและไม่กล้าที่จะหยิบดื่มเอง ต้องมีการเชิญและแนะนำก่อน |
20. ขยายตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ » | ||||||
พุธ 25 เม.ย. 61 | พุธ 25 เม.ย. 61 | 1.ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้เป็นยา 2.ให้ความรู้เรื่องอาหารที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาพร้อมแนะนำตำรับอาหารเป็นยา 4.อบรมเชิงปฎิบัติการทำตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร : เมี้ยงปลาทู แกงเลียง คั่วกลิ้งปลาทู 5.ทำน้ำดื่มสมุนไพรตามตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร : น้ำลูกหนามแดง และน้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน |
1.ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่ใช้เป็นยา สรรพคุณของสมุนไพร รวมถึงวิธีการใช้สมุนไพรให้ถูกต้องและปลอดภัย 2.ให้ความรู้เรื่องให้ความรู้เรื่องอาหารที่เหมาะสมกับวัย “อาหารการกินในวัยผู้สูงอายุ” พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ 3. ให้ความรู้เกี่ยวกับตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรพร้อมทั้งแนะนำตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร 4.อบรมเชิงปฎิบัติการทำตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ในเมนูเมี้ยงปลาทู แกงเลียง คั่วกลิ้งปลาทู 5.ทำน้ำดื่มสมุนไพรตามตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร : น้ำลูกหนามแดง และน้ำกระเจี๊ยบพุทราจีน 6.ผู้เข้าร่วมการกิจกรรมจำนวน 50 ราย |
- |
- |
- |