การขยายผลรูปแบบโภชนาการสมวัยในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร

แผนงานโภชนาการและอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัย

by dezine @September,22 2014 11.11 ( IP : 202...129 )
ระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. เวทีหารือการออกแบบกิจกรรม »
พฤหัสบดี 4 ก.ย. 57 พฤหัสบดี 4 ก.ย. 57

คณะอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นักศึกษาพยาบาล นายกเทศมนตรี รองนายก สมาชิกสภาฯ แกนนำสำนักธรรมนูญสุขภาพ หารือเพื่อออกแบบกิจกรรม

1 นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็ก และผู้สูงอายุ 2 วิทยาลัยพยาบาลชี้แจงการส่งนศ.ฝึกหัดในพื้นที่ตำบลชะแล้เป็นระยะเวลา 3 เดือน
3 สำนักธรรมนูญสุขภาพเสนอแนวคิดการพัฒนาสุขภาวะอาหารและโภชนาการในทุกช่วงวัย ในช่วงปี 2557-58 และ 4 นำเสนอรูปแบบการสนับสนุนงบประมาณจาก สจรส มอ.แก่เทศบาลตำบลชะแล้ ในโครงการบูรณาการสุขภาวะอาหารและโภชนาการ และเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรมหลังเสร็จสิ้นโครงการ

ร่วมวางแผนกิจกรรมที่ตอบสนองกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยด้านพฤติกรรมการบริโภคในตำบลชะแล้

1 แกนนำชุมชนรับทราบการกำหนดฝึกหัด นศ วพบ.บรรมราชชนีสงขลาในพื้นที่
2 บูรณาการกการฝึกหัด ของนศ.พยาบาลเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมในโครงการบูรณาการสุขภาวะอาหารและโภชนาการ
3 ร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรมภายใต้โครงการบูรณาการในทุกช่วงวัย เช่น เด็กเล็ก 2 - 5 ปี เด็ก 5 -12 ปี วัยรุ่น 13-18 ปี คนวัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้ป่วยติดเตียง ให้ครอบคลุมคนทั้งตำบล 3 เกิดการหารือเรื่องความมั่นคงทางอาหารและอาหารปลอดภัย 4 รับทราบแนวคิดการมีนักโภชนากรชุมชน และ การจัดทำครัวกลางระดับตำบล 5 เสนอพื้นที่ขยายผล 1 พื้นที่ อบต.บางเขียด หรือ วัดเขียน เทศบาลเมืองม่วงงาม (โรงเรียนวัดเขียน)

1 การสำรวจ จัดเก้บข้อมูลภาวะโภชนาการในทุกช่วงวัย 2 ดำเนินการกิจกรรมการให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการในทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในศูนย์เด้กเล้ก รร.ประถม รร.มัธยม คนวัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง

2. ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง โครงการชาวชะแล้ร่วมใจ ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน »
พุธ 1 ต.ค. 57 พุธ 1 ต.ค. 57

ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง โครงการชาวชะแล้ร่วมใจ ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน

ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาด้านโภชนาการ

รับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับโภชนาการ

นักเรียน ผู้ปกครอง และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ให้ความสำคัญในการประชาคม

เร่งแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโภชนาอาหาร

3. กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ ครั้งที่ 1 »
อาทิตย์ 5 ต.ค. 57 อาทิตย์ 5 ต.ค. 57

-ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่ควรและไม่ควรรับประทานแกผู้ป่วยโรคเรื้อรังและเด็ก -กิจกรรม Science Show โดยนักศึกษากายภาพบำบัดชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ -แข่งทำอาหารเพื่อสุขภาพ โดยผู้ป่วยความดันสูงและผู้ป่วยเบาหวาน

นักศึกษาสาขากายภาพบำบัด คณะแพทย์ศาสต์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารแก่เด็กและผู้ป่วยเรื้อรัง (เบาหวาน,ความดันสูง) เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงประโยชน์และโทษต่อรางกายในการรับประทานอาหารในชีวิตประจำวัน โดยมีรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้ -ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่ควรและไม่ควรรับประทานแกผู้ป่วยโรคเรื้อรังและเด็ก -กิจกรรม Science Show โดยนักศึกษากายภาพบำบัดชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ -แข่งทำอาหารเพื่อสุขภาพ โดยผู้ป่วยความดันสูงและผู้ป่วยเบาหวาน

ผู้ป่วยเรื้อรัง(ความดันและเบาหวาน)และเด็กภาวะทุพโภชนาการและสภาวะเสี่ยงในการทานอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

ผู้ป่วยเรื้อรัง(ความดันและเบาหวาน)และเด็กภาวะทุพโภชนาการและสภาวะเสี่ยงในการทานอาหารให้ความรวมมือในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้เป็นอย่างดี

1.อยากให้มีกิจกรรมแบบนี้บ่อย ๆ 2.ควรเชิญ อสม.เป็นหลักในการเข้าร่วมกิจกรรม และเพิ่มการประชาสัมพันธ์มากขึ้น 3.ต้องการให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมมากขึ้น

4. โครงการชาวชะแล้ร่วมใจ ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียน »
อังคาร 7 ต.ค. 57 อังคาร 7 ต.ค. 57

แบ่งกิจกรรมเป็นฐานเรียนรู้ทั้งหมด 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานที่ 1 พ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจโภชนาการลูก
ฐานที่ 2 หนูน้อยวัยใส ใส่ใจบริโภค
ฐานที่ 3 เด็กไทยรุ่นใหม่ รู้เข้าใจภาวะโภชนาการ
ฐานที่ 4 เรียนรู้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ

แบ่งกิจกรรมเป็นฐานเรียนรู้ทั้งหมด 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานที่ 1 พ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจโภชนาการลูก
กิจกรรม 1.ให้ผู้ปกครองทำแบบสอบถามระยะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรวัยก่อนเรียน 2. ให้ผู้ปกครองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการและวิธีกากระตุ้นให้เด็กรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์และเหมาะสม 3.ให้ความรู้ในการประเมินและเฝ้าระวังโภชนาการในเด็กและให้สาทิตย้อนกลับ 4.ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารและเมนูอาหารที่เหมาะสมสำหรับเด็กทีมีภาวะทุพโภชนาการ ฐานที่ 2 หนูน้อยวัยใส ใส่ใจบริโภค
กิจกรรม 1.ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ 2.เล่นเกมส์จำแนกประเภทอาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่ 4.ทำแบบทดสอบหลังทำกิจกรรม ฐานที่ 3 เด็กไทยรุ่นใหม่ รู้เข้าใจภาวะโภชนาการ กิจกรรม
1.ทดสอบความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการก่อนและหลังการทำกิจกรม 2.เล่นเกมส์โดยแบ่งเด็กเป็น 3 กลุ่ม แยกหมวดหมูอาหาร 3.ผู้ปกครองคำนวณพลังงานที่ลูกหลานควรได้รับในแต่ละวัน ฐานที่ 4 เรียนรู้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ กิจกรรม 1.สาทิตการใช้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครองเด็ก

  1. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมร้อยละ80ในระยะเวลา 3 เดือน
  2. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการโภชนาการเกิน ลดลงเหลือ ร้อยละ 20และเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำลดลงเหลือร้อยละ 10 ภายในเวลา 3 เดือน
  3. หลังการรับฟังความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กเพิ่มขึ้นรอยละ 100
  4. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโภชนาการอาหารของเด็ก โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูลลงในสมุดบันทึกทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 100
  5. อาจารย์ประจำชั้นมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโภชนาการอาหารของเด็ก โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปรผลแจ้งข้อมูลให้ผู้ปกครองรับทราบคิดเป็นร้อยละ 100
  6. โรงเรียนมีการแจ้งผลภาวะโภชนาการเด็กให้กับ รพ.สต. ทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 80
  7. ระบบบริการสาธารณสุขมีการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการของเด็กในโรงเรียนโดยติดตามข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูงและผลการแปลผลข้อมูล ทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 80
  8. เทศบาลตำบลชะแล้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโภชนาการและกำหนดเป็นนโยบายการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการของเด็กอย่างชัดเจนภายใน 3 เดือน

ภาวะโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนจำแนกตามน้ำหนักและเกณฑ์อายุ พบว่าเด็กวัยก่อนเรียนส่วนใหญ่มีน้ำหนักตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 67.44  รองลงมาเป็นน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 16.28 น้ำหนักค่อนข้างน้อยคิดเป็นร้อยละ 11.63 และน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ4.65 ภาวะโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนจำแนกตามส่วนสูงตามเกณฑ์อายุพบว่าเด็กวัยก่อนเรียนส่วนใหญ่มีส่วนสูงตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 86.05 รองลงมาเป็น เตี้ยคิดเป็นร้อยละ 6.98 และส่วนสูงมากกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และค่อนข้างเตี้ยอยู่ในร้อยละที่เท่ากันคือคิดเป็นร้อยละ 2.33
ภาวะโภชนาการเด็กวัยก่อนเรียนจำแนกตามน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงพบว่าเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่มีรูปร่างสมส่วนติดเป็นร้อยละ 62.69 รองลงมาเป็น ผอมคิดเป็นร้อยละ 18.61 ค่อนข้างผอมคิดเป็นร้อยละ 13.95 เริ่มอ้วนและอ้วนคิดเป็นร้อยละ 2.33

-

5. โครงการตลาดนัดสุขภาพ ครั้งที่ 2 »
อาทิตย์ 12 ต.ค. 57 อาทิตย์ 12 ต.ค. 57

นักศึกษากายภาพบำบัด คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง(เบาหวานและความดัน)

ออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดัน ด้วยท่ารำ 12 ท่า โดยมีรายละเอียดของกิจกรรม ดังนี้ -กิจกรรม 6 ฐานสุขภาพ -สาธิตและฝึกออกกำลังกายด้วยท่ารำ 12 ท่าแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง -ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง -วัดสัญญาณชีพหลังการออกกำลังกายแก่ผู้ป่วย

ผู้ป่วยผู้ป่วยเบาหวานและความดันออกกำลังกายอย่างถูกต้องเหมาะสมกับโรคที่ตนเองเป็นอยู่

ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการออกกำลังกายไปฝึกปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

อยากให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่านี้ และมีกิจกรรมดี ๆ แบบนี้จัดขึ้นอีกในครั้งถัดไป

6. โครงการตลาดนัดสุขภาพ ครั้งที่ 3 »
อาทิตย์ 19 ต.ค. 57 อาทิตย์ 19 ต.ค. 57

นักศึกษากายภาพบำบัด คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง(ผู้ป่วยติดเตียง)

กิจกรรม 6 ฐานสุขภาพ-ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง –วิธีการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะติดเตียง

ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับเกี่ยวกับการออกกำลังกายไปฝึกปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ผลการทดสอบก่อนและหลังให้ความรู้ชาวบ้านชุมชนชะแล้มีความรู้มากขึ้นเรื่องโรคเรื้อรัง และการออกกำลังกายด้วยตนเองได้ดีขึ้น

ควรจัดกิจกรมการดูแลตนเองเมื่อมีอาการปวดเมื้อยกล้ามเนื้อ และการออกกำลังกายแบบรำ และควรอบมให้ความรู้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)

7. โครงการตลาดนัดสุขภาพ ครั้งที่ 4 »
อาทิตย์ 26 ต.ค. 57 อาทิตย์ 26 ต.ค. 57

นักศึกษากายภาพบำบัด คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับเทศบาลตำบลชะแล้ สำนักธรรมนูญสุขภาพตำบลชะแล้ ได้จัดกิจกรรมกีฬาฮาเฮให้กับผู้ป่วยเบาหวานและความดัน

กีฬาฮาเฮ ได้แก่ แต่งตัวคุณยาย / เก้าอี้ดนตรี / ปอกและกินลูกตาล / ตีกอล์ฟคนจน / ตักน้ำใส่ถุง / ลูกโปงน้ำ

ผู้ป่วยเบาหวานและความดันเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ผู้ป่วยเบาหวานและความดันรู้สึกผ่อนคลาย ได้รับผลการตอบรับที่ดีจากผู้ป่วย

อยากให้จัดกิจกรรมแบบนี้อีก และผู้ป่วยบางคนก็ไม่สามารถมาได้ เพราะสถานที่จัดอยู่ไกลบ้าน

8. ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง โครงการชาวชะแล้ร่วมใจ ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน »
ศุกร์ 7 พ.ย. 57 ศุกร์ 7 พ.ย. 57

ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง โครงการชาวชะแล้ร่วมใจ ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน

ประชาคมผู้ปกครองนักเรียน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาด้านโภชนาการ

รับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับโภชนาการ

นักเรียน ผู้ปกครอง และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ให้ความสำคัญในการประชาคม

เร่งแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโภชนาอาหาร

9. ให้ความรู้ด้านสุขภาวะเด็กวัยเรียน »
ศุกร์ 14 พ.ย. 57 ศุกร์ 14 พ.ย. 57

ให้ความรู้ด้านสุขภาวะเด็กวัยเรียน

มีการแบ่งฐานเรียนรู้ ออกเป็น 5 ฐานเรียนรู้

เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับอาหารและโภชนาการ 

เด็กนักเรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละฐาน 

อยากให้จัดกิจกรรมนี้บ่อย ๆ เพื่อให้นักเรียนได้มีความกระตือรือร้น

10. ชาวชะแล้ส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน »
จันทร์ 17 พ.ย. 57 จันทร์ 17 พ.ย. 57

ชาวชะแล้ส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน

แบ่งกิจกรรมเป็นฐานเรียนรู้ทั้งหมด 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานที่ 1 พ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจโภชนาการลูก
ฐานที่ 2 หนูน้อยวัยใส ใส่ใจบริโภค ฐานที่ 3 เด็กไทยรุ่นใหม่ รู้เข้าใจภาวะโภชนาการ  และฐานที่ 4 เรียนรู้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ

  1. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมร้อยละ80ในระยะเวลา 3 เดือน
  2. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการโภชนาการเกิน ลดลงเหลือ ร้อยละ 20และเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำลดลงเหลือร้อยละ 10 ภายในเวลา 3 เดือน
  3. หลังการรับฟังความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กเพิ่มขึ้นรอยละ 100
  4. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโภชนาการอาหารของเด็ก โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และบันทึกข้อมูลลงในสมุดบันทึกทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 100
  5. อาจารย์ประจำชั้นมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโภชนาการอาหารของเด็ก โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปรผลแจ้งข้อมูลให้ผู้ปกครองรับทราบคิดเป็นร้อยละ 100
  6. โรงเรียนมีการแจ้งผลภาวะโภชนาการเด็กให้กับ รพ.สต. ทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 80
  7. ระบบบริการสาธารณสุขมีการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการของเด็กในโรงเรียนโดยติดตามข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูงและผลการแปลผลข้อมูล ทุก 3 เดือนคิดเป็นร้อยละ 80
  8. เทศบาลตำบลชะแล้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะโภชนาการและกำหนดเป็นนโยบายการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการของเด็กอย่างชัดเจนภายใน 3 เดือน

ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนจำแนกตามน้ำหนักและเกณฑ์อายุ พบว่าเด็กวัยเรียนส่วนใหญ่มีน้ำหนักตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 82.65 น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 7.14 น้ำหนักค่อนข้างน้อยและน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 4.08 น้อยที่สุดเป็นน้ำหนักค่อนข้างมากคิดเป็นร้อยละ 2.04 ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนจำแนกตามส่วนสูงและเกณฑ์อายุพบว่าเด็กวันเรียนส่วนใหญ่มีส่วนสูงตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 86.22  รองลงมาเป็นค่อนข้างเตี้ย คิดเป็นร้อยละ 4.59 ค่อนข้างสูงคิดเป็นร้อยละ 4.08 ส่วนสูงมากกว่าเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 3.06 และน้อยที่สุดเป็นเตี้ย คิดเป็นร้อยละ 2.04 ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนจำแนกตามน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงพบว่าเด็กวัยเรียนส่วนใหญ่มีรูปร่างสมส่วนคิดเป็นร้อยละ 73.96 รองลงมาเป็นค่อนข้างผอมคิดเป็นร้อยละ 8.67 ผอมคิดเป็นร้อยละ 5.61 เริ่มอ้วนคิดเป็นร้อยละ 5.10 ท้วมคิดเป็นร้อยละ 3.57 และน้อยที่สุดเป็นอ้วนคิดเป็นร้อยละ 3.06

ขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมดังกล่าว

11. โครงการ “ชะแล้ร่วมใจ ผู้สูงวัยจำดี มีภาวะโภชนาการ สานสัมพันธ์ชุมชน” »
ศุกร์ 12 ธ.ค. 57 ศุกร์ 12 ธ.ค. 57
  1. ขั้นเตรียมการ
    • แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ ประกอบด้วยด้วยนักศึกษาและตัวแทนชุมชนหมู่ที่ 3 ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
    • ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมจัดโครงการ
    • ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    • ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวของชุมชน การบอกผ่านผู้นำชุมชน และการส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ
    • จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดทำโครงการ
    • จัดเตรียมสถานที่ในการจัดทำโครงการ
    1. ขั้นดำเนินการ “โครงการ ชะแล้ร่วมใจ ผู้สูงวัยจำดี มีภาวะโภชนาการ สานสัมพันธ์ชุมชน”ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ฐาน ดังนี้

- ฐานที่ 1สูงอายุสุขใจ สิ่งแวดล้อมปลอดภัย เข้าใจการเปลี่ยนแปลง  โดยให้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี ผู้สูงอายุ การใช้กายอุปกรณ์ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ - ฐานที่ 2ความจำดีชีวีสดใส 1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะสมองเสื่อม 2. กิจกรรมพัฒนาสมองซีกซ้าย - เกมส์จำลืม - เกมส์แก้ว กะลา ขัน โอ่ง - เกมส์ตา หู จมูก ปาก ตา 3. กิจกรรมพัฒนาสมองซีกขวา - เกมส์คิดบวก (คำนวณเลขตามโจทย์ที่กำหนด)

  • ฐานที่3โภชนาการดีชีวีสดใส 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 2. กิจกรรม “ตลาดร่วมใจ ห่วงใยผู้สูงอายุ” 3. สุ่มตอบคำถามเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
    • ฐานที่4 ชะแล้ยุคใหม่ สูงวัยมีค่า นำพาชุมชน
      1. กิจกรรมสรุปความรู้จากทั้ง 3 ฐาน รวมทั้งเชื่อมโยงแรงสนับสนุนทางสังคมในผู้สูงอายุ
      2. Post-test
      3. กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
    1. ขั้นสรุปและประเมินผล
    • ประเมินผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
    • สรุปผลการประเมิน
    • จัดทำรายงานโครงการ
  1. ขั้นเตรียมการ
    • แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ ประกอบด้วยด้วยนักศึกษาและตัวแทนชุมชนหมู่ที่ 3 ตำบลชะแล้ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
    • ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมจัดโครงการ
    • ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    • ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าวของชุมชน การบอกผ่านผู้นำชุมชน และการส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ
    • จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดทำโครงการ
    • จัดเตรียมสถานที่ในการจัดทำโครงการ
    1. ขั้นดำเนินการ “โครงการ ชะแล้ร่วมใจ ผู้สูงวัยจำดี มีภาวะโภชนาการ สานสัมพันธ์ชุมชน”ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ฐาน ดังนี้

- ฐานที่ 1สูงอายุสุขใจ สิ่งแวดล้อมปลอดภัย เข้าใจการเปลี่ยนแปลง  โดยให้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี ผู้สูงอายุ การใช้กายอุปกรณ์ และการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ - ฐานที่ 2ความจำดีชีวีสดใส 1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องภาวะสมองเสื่อม 2. กิจกรรมพัฒนาสมองซีกซ้าย - เกมส์จำลืม - เกมส์แก้ว กะลา ขัน โอ่ง - เกมส์ตา หู จมูก ปาก ตา 3. กิจกรรมพัฒนาสมองซีกขวา - เกมส์คิดบวก (คำนวณเลขตามโจทย์ที่กำหนด)

  • ฐานที่3โภชนาการดีชีวีสดใส 1. ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ 2. กิจกรรม “ตลาดร่วมใจ ห่วงใยผู้สูงอายุ” 3. สุ่มตอบคำถามเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
    • ฐานที่4 ชะแล้ยุคใหม่ สูงวัยมีค่า นำพาชุมชน
      1. กิจกรรมสรุปความรู้จากทั้ง 3 ฐาน รวมทั้งเชื่อมโยงแรงสนับสนุนทางสังคมในผู้สูงอายุ
      2. Post-test
      3. กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
    1. ขั้นสรุปและประเมินผล
    • ประเมินผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
    • สรุปผลการประเมิน
    • จัดทำรายงานโครงการ

เป้าหมาย 1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 หลังเสร็จ โครงการ 2.ผู้ดูแล อสม.แกนนำหมู่บ้าน และเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 หลังเสร็จโครงการ 3.ผู้สูงอายุและผู้ดูแล อสม.แกนนำหมู่บ้าน และเยาวชน มีความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหารในทางเหมาะสมร้อยละ 50 ภายในระยะเวลา 1 เดือน 4.ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร ไม่มีภาวะขาดสารอาหาร ภายในระยะเวลา 3 เดือน ผู้สูงอายุที่มีภาวะขาดสารอาหารมีภาวะโภชนาการดีขึ้นภายในระยะเวลา 3 เดือน 5. ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมไม่เกิดภาวะสมองเสื่อม ภายในระยะเวลา 3 เดือน 6.ชุมชนมีส่วนสนับสนุนและจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลผู้สูงอายุภายในระยะเวลา 1 เดือน 7.ระบบบริการสุขภาพในชุมชนเข้ามาดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องภายในระยะเวลา 3 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย 1.ผู้สูงอายุหมู่ที่ 3 จำนวน 66 คน 2.ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร จำนวน 25 คน, อสม. จำนวน 5 คน, แกนนำ หมู่บ้าน จำนวน 5 คน และเยาวชน จำนวน 5 คน

ผู้สูงอายุและผู้ดูแล อสม. แกนนำหมู่บ้าน และเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เกิดความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในทางเหมาะสม ส่งผลให้ผู้สูงอายุไม่มีภาวะขาดสารอาหารและภาวะสมองเสื่อมโดยทุกภาคส่วนในชุมชนเข้ามาสนับสนุนและจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลผู้สูงอายุ รวมทั้งระบบบริการสุขภาพในชุมชนเข้ามาดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง

ขณะลงเยี่ยมบ้าน เน้นย้ำการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม โดยให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้ดูแลและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

12. เยี่ยมบ้านเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน »
อาทิตย์ 14 ธ.ค. 57 อาทิตย์ 14 ธ.ค. 57

-

-

-

-

-

13. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ »
เสาร์ 20 ธ.ค. 57 เสาร์ 20 ธ.ค. 57

-

-

-

-

-

14. อบรมการทำสื่อด้านอาหาร »
พฤหัสบดี 15 ม.ค. 58 พฤหัสบดี 15 ม.ค. 58

-

-

-

-

-

15. กิจกรรมการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน อายุ 6- 12 ปี »
อาทิตย์ 22 ก.พ. 58 อาทิตย์ 22 ก.พ. 58

-

-

-

-

-

16. ค่าบริหารจัดการโครงการ »
เสาร์ 28 ก.พ. 58 เสาร์ 28 ก.พ. 58

-

-

-

-

-

17. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 6-12 ปี »
เสาร์ 28 ก.พ. 58 เสาร์ 28 ก.พ. 58

-

-

-

-

-

18. จะทำรายงานทางการเงิน
ศุกร์ 29 พ.ค. 58

 

 

 

 

 

19. ประชุมคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร »
จันทร์ 15 มิ.ย. 58 จันทร์ 15 มิ.ย. 58

ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจและส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัยในระดับชุมชน และมีแผนการทำงาน

คณะทำงาน ได้แก่ แกนนำอสม, สท, โรงเรียนวัดชะแล้ ,โรงเรียนชะแล้นิมิตวิทยา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทำงานผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับโภชนาการอาหารปลอดภัยในระดับชุมชน การจัดตั้งครัวกลาง มีการวางแผนขับเคลื่อนให้คนในชุมชนตระหนักถึงอาหารปลอดภัย 

คณะทำงานมีความเข้าใจและส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัยในระดับชุมชน

คณะทำงานให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดให้เป็นอย่างดี

-

20. ประชุมคณะทำงาน เรื่องการขยายเขตพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ ครั้งที่ 1 »
ศุกร์ 19 มิ.ย. 58 ศุกร์ 19 มิ.ย. 58

ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจและส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้

คณะทำงาน ได้แก่ แกนนำสท, ฝ่ายบริหาร, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทำงานผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับ"คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้  เพื่อเป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

วางแผนการดำเนินกิจกรรม "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ 

คณะทำงานให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดให้เป็นอย่างดี

-

21. โครงการกินดีอยู่ดีด้วยวิถีพึ่งกันตนเอง »
ศุกร์ 26 มิ.ย. 58 ศุกร์ 26 มิ.ย. 58

สมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวม 5 หมู่บ้าน จำนวน  50 คน เข้ากิจกรรมกินดีอยู่ดีด้วยวิถีพึ่งกันเอง โดยมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ อุปกรณ์ที่จำเป็นในการปลูกผัก การเลือกชนิดผักให้เหมาะสม  เทคนิคและวิธีการปลูก การเก็บเกี่ยวผักที่ปลอดสารพิษ และส่งครัวกลาง นั่นก็คือ โรงเรียนในชุมชน

สมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวม 5 หมู่บ้าน จำนวน  50 คน  มีความสนใจที่จะปลูกผักสวนครัวเพื่อบริโภคเอง เหลือก็สามารถเก็บไปขายส่งครัวกลางสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน และรับเมล็ดพันธ์ผักต่าง ๆ ไปปลูก เพื่อเป็นต้นแบบการปลูกผักที่ปลอดสารพิษ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจและปลูกผักปลดสารพิษเพื่อบริโภคเอง เหลือก็สามารถเก็บไปขายโรงเรียนเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวม 5 หมู่บ้าน จำนวน  50 คน เข้ากิจกรรมกินดีอยู่ดีด้วยวิถีพึ่งกันเอง และมีความสนใจและปลูกผักปลดสารพิษเพื่อบริโภคเอง เหลือก็สามารถเก็บไปขายโรงเรียนเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน 

-

22. ประชุมคณะทำงาน เรื่องการขยายเขตพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ ครั้งที่ 2 »
จันทร์ 29 มิ.ย. 58 จันทร์ 29 มิ.ย. 58

ประชุมคณะทำงาน เรื่องการขยายเขตพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ ครั้งที่ 2

คณะทำงาน ได้แก่ แกนนำสท, ฝ่ายบริหาร, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทำงานผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับ"คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้  เพื่อเป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

ดำเนินกิจกรรม "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ 

ดำเนินกิจกรรม "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ 

-

23. “ครัวกลาง” สร้างโภชนาการสมวัย ใส่ใจสุขภาพเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลชะแล้ »
พุธ 1 ก.ค. 58 พุธ 1 ก.ค. 58

ปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลชะแล้  ดำเนินการจัดเตรียมวัสดุ                                        - ถมดินลูกรังเพื่อจัดทำพื้นที่ปลูกผัก                            - หน้าดิน ปุ๋ย                                          - แปลงปลูกผักมาตรฐาน - เตรียมพันธุ์ผัก ดำเนินการปลูกพืชผักสวนครัว ระยะเวลาในการจัดเตรียมแปลงปลูกผัก ประมาณ 2 เดือน

จัดทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษบริเวณศูนย์เด็กเล็กเทศบาลตำบลชะแล้ เพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันสำหรับเด็ก เนื่องจากเพาะปลูกได้ทุกฤดูกาล

ครัวกลางจึงถือเป็นจุดเริ่มต้นเล็กที่ช่วยเสริมสร้างโภชนาการที่ดีให้กับเด็กเล็กในชุมชนได้ 

มีครัวกลางที่ปลูกผักปลอดสารพิษไว้ให้เด็กนักเรียนรับประทาน และช่วยรับซื้อผักของเกษตรกรในตำบล ส่วนเด็กๆ ก็จะได้ทานอาหารที่ปลอดสารพิษ 100 %

-

24. ประชุมคณะทำงาน เรื่องการขยายเขตพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ ครั้งที่ 3 »
พุธ 8 ก.ค. 58 พุธ 8 ก.ค. 58

ประชุมคณะทำงาน เรื่องการขยายเขตพื้นที่ความมั่นคงทางอาหารในทะเลสาบ เพื่อทำ "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ ครั้งที่ 3

คณะทำงาน ได้แก่ แกนนำสท, ฝ่ายบริหาร, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะแล้ และคณะทำงานผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับ"คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้  เพื่อเป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

วางแผนการดำเนินกิจกรรม "คอนโดปู ปลา" ในทะเลสาบตำบลชะแล้ 

คณะทำงานให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดให้เป็นอย่างดี

-

25. จัดทำแผนที่ความมั่นคงทางอาหารตำบลชะแล้ »
ศุกร์ 10 ก.ค. 58 ศุกร์ 10 ก.ค. 58
  1. คณะทำงานจัดประชุมทำความเข้าใจการจัดทำแผนที่อาหาร กำหนดหัวข้อ แนวทางการดำเนินกิจกรรมสำรวจ
  2. สำรวจ และจัดทำแผนที่แต่ละชุมชน จัดเก็บข้อมูลจำนวนผู้ผลิต ประเภท ปริมาณการผลิตในแต่ละช่วงเวลา
  3. ประชุมร่วม ผู้ผลิตวัตถุดิบ ผู้แปรรูป ผู้จำหน่ายอาหาร กับกลุ่มผู้บริโภค(รายใหญ่ เช่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ค้าปลีกและค้าส่งในพื้นที่) เพื่อนำเสนอความต้องการของกลุ่มผู้ผลิตผู้บริโภคในแนวทางอาหารปลอดภัย

คณะทำงานได้ลงพื้นที่สำรวจครัวเรือนที่ปลูกผักปลอดสารพิษ เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงแพะ ทำนาอินทรีย์ ทำประมง และทำขนมพื้นบ้าน เพื่อนำไปประกอบการทำแผนที่ และร่างแผนที่ของตำบลขึ้นมาและใส่กลุ่มต่าง ๆ ที่ไปสำรวจมา แล้วจึงนำมาเขียนแผนที่ด้วยโปรแกรม MapWindow

จัดเก็บข้อมูลแหล่งผลิต ประเภท ชนิดอาหารในพื้นที่ชุมชน

1.แกนนำชุมชน ผู้บริหาร รับรู้ตำแหน่งที่ตั้ง จำนวนผู้ผลิตอาหาร ประเภท ปริมาณวัตถุดิบอาหารในชุมชน ในแต่ละช่วงเวลาทั้งปีของชุมชน 2.สามารถใช้ข้อมูลในการวางแผนการผลิต การจัดซ้อวัตถุดิบผลิตอาหารของกลุ่มผู้บริโภคและผู้ผลิตในชุมชน 3.ใช้ข้อมูลในการส่งเสริมการผลิตวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ การบริโภคอาหารปลอดภัยของชุมชน

-

26. โครงการคอนโดปู-ปลา ในทะเลสาบตำบลชะแล้ »
อังคาร 14 ก.ค. 58 อังคาร 14 ก.ค. 58

จัดตั้งกลุ่มประมงและทำคอนโดปู-ปลา ในทะเลสาบตำบลชะแล้ เพื่อเป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

จัดตั้งกลุ่มประมงและทำคอนโดปู-ปลา ในทะเลสาบตำบลชะแล้

เพื่อเป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

ทำคอนโดปู-ปลา ในทะเลสาบตำบลชะแล้ เป็นแหล่งอนุบาล และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำต่างๆ สามารถเติบโต และขยายพันธ์ได้เต็มที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำทางทะเลมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น

-

27. สร้างโภชนาการสมวัย ใส่ใจสุขภาพเด็กนักเรียนโรงเรียนชะแล้นิมิตวิทยา »
จันทร์ 20 ก.ค. 58 จันทร์ 20 ก.ค. 58

ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนชะแล้นิมิตวิทยา ดำเนินการจัดเตรียมวัสดุ - หน้าดิน ปุ๋ย - แปลงปลูกผักมาตรฐาน
- เตรียมพันธุ์ผัก
ดำเนินการปลูกพืชผักสวนครัว

จัดทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษบริเวณโรงเรียนชะแล้นิมิตวิทยา 

นักเรียนมีผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน

นักเรียนมีผักปลอดสารพิษ 100 % ไว้รับประทาน

-

28. ่ร่วมจัดนิทรรศการงานอาหารของแม่ (โอเดี่ยนหาดใหญ่) »
เสาร์ 1 ส.ค. 58 เสาร์ 1 ส.ค. 58

ทางโครงการ ได้เชิญเครือข่ายของตำบลชะแล้เข้าร่วมจัดนิทรรศการอาหารของแม่  เป็นเวลา 1 วัน

ตำบลชะแล้ ซึ่งเป็นเครือข่ายของโครงการ  ได้เข้าร่วมจัดนิทรรศการด้วย ในวัน และเวลาดังกล่าว

มีผู้คนให้ความสนใจการจำหน่ายสินค้าพื้นบ้านเป็นอย่างดี

มีผู้คนให้ความสนใจการจำหน่ายสินค้าพื้นบ้านเป็นอย่างดี

-

29. “ครัวกลาง” สร้างโภชนาการสมวัย ใส่ใจสุขภาพเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดชะแล้ »
อาทิตย์ 2 ส.ค. 58 อาทิตย์ 2 ส.ค. 58

ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนวัดชะแล้ ดำเนินการจัดเตรียมวัสดุ - หน้าดิน ปุ๋ย - แปลงปลูกผักมาตรฐาน
- เตรียมพันธุ์ผัก
ดำเนินการปลูกพืชผักสวนครัว
.ใช้เวลาในการเตรียมแปลงปลูกผัก ประมาณ 1 เดือน

จัดทำแปลงปลูกผักปลอดสารพิษบริเวณโรงเรียนวัดชะแล้ เพื่อใช้เป็นอาหารกลางวันสำหรับเด็ก เนื่องจากเพาะปลูกได้ทุกฤดูกาล

ครัวกลางจึงถือเป็นจุดเริ่มต้นเล็กที่ช่วยเสริมสร้างโภชนาการที่ดีให้กับเด็กเล็กในชุมชนได้ 

มีครัวกลางที่ปลูกผักปลอดสารพิษไว้ให้เด็กนักเรียนรับประทาน และช่วยรับซื้อผักของเกษตรกรในตำบล            ส่วนเด็กๆ ก็จะได้ทานอาหารที่ปลอดสารพิษ 100 %

-

30. การบริหารจัดการโครงการ »
พฤหัสบดี 24 ก.ย. 58 พฤหัสบดี 24 ก.ย. 58

จัดเก็บเอกสารเพื่อสรุปจำนวนกิจกรรมที่ได้ดำเนนการไปแล้ว เพื่อบันทึกข้อมูลโครงการลงเวบไซต์

สรุปจำนวนกิจกรรมที่ได้ดำเนนการไปแล้ว เพื่อบันทึกข้อมูลโครงการลงเวบไซต์

สรุปจำนวนกิจกรรมที่ได้ดำเนนการไปแล้ว เพื่อบันทึกข้อมูลโครงการลงเวบไซต์

มีการบันทึกการทำกิจกรรมโครงการลงในเวบไซต์

-