การขยายผลรูปแบบโภชนาการสมวัยในระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู ปีที่ 3

แผนงานโภชนาการและอาหารคุณภาพเพื่อให้มีโภชนาการสมวัย

by dezine @June,10 2016 09.34 ( IP : 202...143 )

รหัสโครงการ
สัญญาเลขที่ 59-ข-018
งวดที่ 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3)

ชื่อโครงการ การขยายผลรูปแบบโภชนาการสมวัยในระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู ปีที่ 3

กิจกรรมผลงาน
(ระบุวัน เวลา ลักษณะกิจกรรมที่ทำ จำนวนคน และภาคี)
ผลสรุปที่สำคัญประเมินผล คุณภาพกิจกรรม
4321
ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1

วันที่ 9 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

แผนงานที่ต้องติดตามอย่างเร่งด่วนในปีที่ 3  รพ.สต. + โรงเรียน และ ศพด.

  1. ติดตามเรื่องคุ้มครองผู้บริโภค  อย.น้อย  เพื่อจัดประชุมไม่เกินเดือน  ตุลาคม 2559

- การสำรวจร้านค้า
- การรณรงค์เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร - การปลูกผักปลอดสารพิษ
- การลดการกินน้ำหวาน น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ

  1. ใช้โปรแกรมการจัดการอาหารกลางวัน (INMU school lunch ) อย่างต่อเนื่อง

  2. ครัวกลาง ให้ รพ.สต เข้ามาดูแลเรื่องหลักสุขาภิบาลอาหาร

- การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร
- สุขภาพอนามัยของแม่ครัว
- การเลือกวัตถุดิบที่ปลอดภัย
- การเก็บรักษาเครื่องปรุงอาหาร

  1. การติดตามภาวะโภชนาการ  ทั้ง รร.และ ศพด. โดยการคืนข้อมูลสุขภาพ (อ้วน ผอม เตี้ย ค่อนข้างผอม และเตี้ย และค่อนข้างอ้วน) ใช้สมุดบันทึกสุขภาพ (ภาวะโภชนาการ + คำแนะนำ) ให้ผู้ปกครองเด็กทุกเดือน  ในเด็กกลุ่มเสี่ยง (ซีด , ขาดไอโอดีน)  ส่งต่อ รพ.สต เพื่อให้ยา

  2. การเยี่ยมบ้าน ให้ความรู้กับผู้ปกครองเกี่ยวกับด้านอาหารภาคเรียนละ 1 ครั้ง

  3. สื่อความรู้ ด้านอาหาร การติดป้ายธงโภชนาการในโรงเรียน
  4. การจัดการปัญหาการขาดสารอาหาร ใช้กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน ใช้การประกวด  โดยแบ่งตามระดับชั้น เรื่องอาหารเช้า อาหารขยะ  อาหาร 5 หมู่
  5. นำผลงานทำป้ายคำขวัญ ติดตามจุดสำคัญของชุมชน
  6. การประกวดสปอตโฆษณาผ่านวิทยุในประเด็นเรื่องอาหาร
  7. จัดทำสปอตวิทยุ ผลงานที่ได้รับรางวัลเผยแพร่ในชุมชน
  8. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน อย่างต่อเนื่อง

รอดำเนินงานตามแผนงาน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ลงพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 40 ครัวเรือน

วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

หาข้อมูลครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว และลงพื้นที่สำรวจตามครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน 41 ครัวเรือน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอีก 1 ศูนย์ เพื่อสำรวจหาแหล่งผลิตอาหารในพื้นที่เป็นระยะเวลา 5 วัน ซึ่งมีครัวเรือนที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นครัวเรือนต้นแบบ 2 ครัวเรือน  และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอีก 1 ศูนย์ ที่สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้

ครัวเรือนที่ปลูกผักอยู่เดิมแล้ว ได้รับความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหาร บริโภคอย่างไรให้ปลอดภัย และทำให้เกิดรายได้เพ่ิ่มขึ้นในครัวเรือน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมให้ความรู้กับ อย.น้อย

วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมย่อยกับคณะกรรมการในหน่วยงาน รพ.สต. เพื่อวางแผนดำเนินงาน
  2. ติดต่อประสานงานกับครูทั้ง 3 โรงเรียนเพื่อคัดเลือกตัวแทน อย.น้อย
  3. ติดต่อประสานงานวิทยากรที่ให้ความรู้เรื่อง อย.น้อย จากเจ้าหน้าที่เภสัชกรรม โรงพยาบาลรัตภูมิ
  4. จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจกับ อย.น้อย ในวันและเวลาดังกล่าว เพื่อเพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อยไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
  1. นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
  2. นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรมอย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. ประเมินจากการสังเกต และสนใจ

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน ครั้งที่ 1

วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อสม. ทำความเข้าใจกับเครื่องมือแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน  และได้ลงไปเก็บข้อมูลในครัวเรือนที่ตนเองรับผิดชอบ รวบรวมส่ง อบต.

คนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้เป็นส่วนมาก

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน โดย อย.น้อย ร่วมกับเภสัช รพ.รัตภูมิ

วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ อย.น้อย ทำ ได้แก่ การตรวจสอบอาหารที่จำหน่ายภายในโรงเรียน ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว จุลินทรีย์ในน้ำ เป็นต้น  และได้จดบันทึกการตรวจไว้เพื่อเป็นหลักฐาน

การทำกิจกรรม นอกจาก อย.น้อย จะได้รับความรู้ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องและปลอดภัยแล้ว ยังช่วยให้เพื่อนนักเรียน และครอบครัวมีความรู้ และเกิดการพัฒนา ปรับปรุงการจำหน่ายอาหารภายในโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ นักเรียน อย.น้อย ยังได้รับการพัฒนาเรื่องการคิด การวางแผนการทำงาน การแสดงออก และการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน อย.น้อย โรงเรียนอื่น ๆ ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมจัดนิทรรศการงานสร้างสุขภาคใต้

วันที่ 5 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

พื้นที่ตำบลควนรู ได้ร่วมจัดนิทรรศการเพื่อร่วมขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่และท้องถิ่นน่าอยู่สู่วิถีการจัดการตนเอง และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ที่เข้ามาร่วมชมนิทรรศการ

ผู้เข้าร่วมชมนิทรรศการให้ความสนใจ พร้อมร่วมแลกเปลียนเรียนรู้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านไสท้อน

วันที่ 6 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อย.น้อย ลงตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว แล้วลงแบบบันทึกการเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน เช่น เกลือ ซีอิ้ว น้ำส้มสายชู น้ำมัน นอกจากนี้ยังมีการตรวจนมโรงเรียน และยาในโรงเรียนด้วย

อย.น้อย มีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น และพร้อมที่จะดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบ อย.น้อย โรงเรียนวัดไทรใหญ่

วันที่ 7 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อย.น้อย ลงตรวจสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว แล้วลงแบบบันทึกการเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน เช่น เกลือ ซีอิ้ว น้ำส้มสายชู น้ำมัน นอกจากนี้ยังมีการตรวจนมโรงเรียน และยาในโรงเรียนด้วย

อย.น้อย มีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น และพร้อมที่จะดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ประชุมวางแผนงานเพื่อจัดกิจกรรม อย.น้อย ร่วมกับอาจารย์และนักศึกษา มอ. สาขานิติศาสตร์

วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

สรุปแผนงานที่จะทำร่วมกับ อย.น้อย ดังนี้ การแจกเอกสารความรู้ การให้ความรู้ทางหอกระจายข่าวหรือวิทยุชุมชน เป็นต้น

อย.น้อย จะได้รับความรู้ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องและปลอดภัยแล้ว ยังช่วยให้เพื่อนนักเรียน และครอบครัวมีความรู้ และเกิดการพัฒนา ปรับปรุงการจำหน่ายอาหารภายในโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ นักเรียน อย.น้อย ยังได้รับการพัฒนาเรื่องการคิด การวางแผนการทำงาน การแสดงออก และการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน อย.น้อย โรงเรียนอื่น ๆ ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

กิจกรรมศึกษาชุมชนต้นแบบ (นักศึกษา มอ.คณะเภสัชศาสตร์)

วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

คณะนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 32 คน พร้อมคณะอาจารย์ เข้าร่วมศึกษาดูงานในพื้นที่ตำบลควนรู จำนวน 5 แหล่ง คือ
1. แหล่งเรียนรู้เกษตรผสมผสาน
2. แหล่งเรียนรู้โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนชุมชนบ้านโคกค่าย และ ศพด.ลูกรัก
3. แหล่งเรียนรู้การบริหารจัดการข้าวแบบครบวงจร
4. การทำงานของ รพ.สต.โหล๊ะยาว
5. แหล่งเรียนรู้บ้านหมอพื้นบ้าน

นิสิตนักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ทั้งในโรงเรียน และครัวเรือน ว่าทำอย่างไรชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ นิสิตนักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ ไปพัฒนาต่อยอดจากการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย ควบคู่กับการปฏิบัติจริงที่เกิดขึ้นในชุมชน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ความรู้พี่ให้น้องเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมพี่สอนน้องเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 วัน โดยมีการให้ความรู้เกี่ยวสิทธิพื้นฐานขงผู้บริโภค รวมถึงการคุ้มสิทธิดังกล่าว และกิจกรรมนันทนาการเพื่อฝึกภาวะความเป็นผู้นำ          ความกล้าแสดงออกของนักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  1. นักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้พื้นฐานและเข้าใจถึงความสำคัญของการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค
  2. นักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบถึงสิทธิของตนเองเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค
  3. นักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคและรู้ถึงช่องทางในการร้องเรียน
  4. ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งนมได้รับการแก้ไขในขั้นพื้นฐาน
  5. อย.น้อยของโรงเรียนมีความเข้มแข็งในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับสิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น
  6. อย. น้อยมีภาวะความเป็นผู้นำและมีความกล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อบรมให้ความรู้สายส่งนมโรงเรียน

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมพบปะพูดคุยในเรื่องการขนส่งนมโรงเรียน ระหว่างผู้ประกอบการ(ผู้ขนส่งนม) ผู้นำชุมชน บุคลากรตัวแทนโรงเรียน และคณะผู้จัดทำ เพื่อพูดคุยและทำความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานในการขนส่งนมโรงเรียน
  2. ให้ความรู้ ความเข้าใจวิธีการส่งนมที่ถูกต้องไม่ว่าจะเป็น อุปกรณ์เก็บนม การจัดเรียงนมที่ถูกต้องเพื่อรักษาอุณหภูมินมให้อยู่ในระดับความเย็นไม่เกิน 8 องศา

ปัญหาเกี่ยวกับการขนส่งนมได้รับการแก้ไขในขั้นพื้นฐาน ผู้ที่มีส่วนร่วมในการส่งนมทีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิธีการจัดส่งที่ถูกต้อง รวมถึงการเปลี่ยนภาชนะเก็บนมที่เหมาะสมกับจำนวนนมที่จัดส่งให้ในโรงเรียน

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อย.น้อยลงปฏิบัติตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร , ยา และนมโรงเรียนวัดไทรใหญ่

วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อย. น้อย ท้ากิจกรรมสุ่มตรวจสอบอาหารทั งจากโรงอาหารของโรงเรียน ถ้าตรวจพบสารพิษตกค้าง ให้ทางชมรม แจ้งเตือนนักเรียนในโรงเรียนทราบ พร้อมกับแจ้ง ผลให้ผู้ประกอบการแก้ไขอย่างเร่งด่วน

อย.น้อยมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตรวจสารอาหารปนเปื้อนในอาหาร นมโรงเรียน และยาในโรงเรียนด้วยตัวเองได้ และมีการสุ่มตรวจอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

อย.น้อยลงปฏิบัติตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร , ยา และนมโรงเรียนบ้านไสท้อน

วันที่ 19 มกราคม 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

อย. น้อย ท้ากิจกรรมสุ่มตรวจสอบอาหารทั งจากโรงอาหารของโรงเรียน ถ้าตรวจพบสารพิษตกค้าง ให้ทางชมรม แจ้งเตือนนักเรียนในโรงเรียนทราบ พร้อมกับแจ้ง ผลให้ผู้ประกอบการแก้ไขอย่างเร่งด่วน

อย.น้อยมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตรวจสารอาหารปนเปื้อนในอาหาร นมโรงเรียน และยาในโรงเรียนด้วยตัวเองได้ และมีการสุ่มตรวจอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ลงพื้นที่เพิ่มเติมครัวเรือนเกษตรฯ ครั้งที่ 2

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

ทีมทำงานลงพื้นที่เก็บข้อมูลครัวเรือนเกษตรฯ ที่ตกหล่น โดยได้รับความร่วมมือจาก อสม. ส.อบต. และแกนนำหมู่บ้านร่วมกันให้ข้อมูล

ผลที่ได้รับจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่มเติม ได้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-

ทำแผนที่ระบบความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00

ลักษณะกิจกรรมที่ทำ

-

-

ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

ข้อเสนอแนะต่อ สสส.

-

ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยงและ สจรส.ม.อ.

-

ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ สสส.

-