การบริหารจัดการ

แผนงานบริหารจัดการ

by wanna @June,07 2017 10.47 ( IP : 202...133 )
ระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. ประชุมจัดทำแผนสงขลาเกษตรก้าวหน้า ปี 2560-2564 »
จันทร์ 5 มิ.ย. 60 จันทร์ 5 มิ.ย. 60

จัดทำแผนงานและโครงการเกษตรก้าวหน้า ปีงบประมาณ 2561-2564

จัดทำแผนงานและโครงการเกษตรก้าวหน้า ปีงบประมาณ 2561-2564

  1. ปรับปรุงแผน / โครงการ 1.1 ประเด็นยุทธศาสตร์

- เกษตรสุขภาพ (ความปลอดภัย / คุณค่าทางโภชนาการ) - เกษตรคุณภาพ (มาตรฐาน) - เกษตรอัจริยะ (เทคโนโลยี / นวตกรรม) - เกษตรผสมผสาน (ลดความเสี่ยงด้านผลผลิต) - เกษตรแปลงใหญ่ (การลดต้นทุน) 1.2 ผลลัพธ์ / ตัวชี้วัด 1.3 แผนงาน / โครงการ 1.4 ระบบบริหารจัดการ - ระบบข้อมูล - ระบบสนับสนุน - ระบบติดตามประเมินผล 2. ให้มีการเพิ่มข้อมูลเรื่องสถานการณ์ด้านอาหารของจังหวัดสงขลา เพื่อให้สอดคล้องกับแผนงา โครงการ

เกิดการปรับปรุงแผนงาน โครงการเกษตรก้าวหน้าปี 2561-2564

-

2. ประชุมพัฒนากรอบแนวคิดหลักสูตรบูรณาการระบบอาหารใน อปท. »
อาทิตย์ 6 ส.ค. 60 อาทิตย์ 6 ส.ค. 60

ประชุมนักวิชาการกำหนดแนวทางการจัดทำหลักสูตรบูรณาการระบบอาหารใน อปท.

ประชุมนักวิชาการกำหนดแนวทางการจัดทำหลักสูตรบูรณาการระบบอาหารใน อปท.

กำหนดหลักสูตรให้พัฒนาศักยภาพผู้บริหารท้องถิ่น และผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อเสนอ 1. หลักสูตรจะถอดความรู้จากการทำงานโครงการอาหารของแม่จำนวน 10 ตำบล และโรงเรียนจำนวน 15 แห่ง
2. รายละเอียด-ของหลักสูตร ควรมีเนื้อหาสถานการณ์ด้านอาหารทั้ง 3 ประเด็น และกำหนดเป้าประสงค์ หรือใช้กรอบแนวคิดออตตาวาชาร์เตอร์ และใช้เครื่องมือปัจจัยกำหนดสุขภาพ  หรือนำกรณีศึกษาในพื้นที่มาแลกเปลี่ยนให้เห็นตัวอย่าง โดยหลักสูตรควรแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ช่วง - แนวคิด หลักการระบบอาหาร
- หลักการพัฒนาโครงการบูรณาการระบบอาหาร - สังเคราะห์ ติดตามประเมินผล แลกเปลี่ยนในพื้นที่

ความร่วมมือกับอาจารย์วิทยาลัยพยาบาลราชชนนีในการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการระบบอาหารใน อปท.

-

3. การประชุมหารือการดำเนินงานขยายรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตลาดเอกชน
พุธ 9 ส.ค. 60

 

 

 

 

 

4. การประชุมหารือการดำเนินงานขยายรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตลาดเอกชน »
พุธ 9 ส.ค. 60 พุธ 9 ส.ค. 60

ประชุมทำความเข้าใจเรื่องการขยายตลาดอาหารปลอดภัยไปสู่ท้องถิ่นและตลาดเอกชน

ประชุมทำความเข้าใจเรื่องการขยายตลาดอาหารปลอดภัยไปสู่ท้องถิ่นและตลาดเอกชน

1.กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยเทศบาลตำบลปริก เทศบาลเมืองสิงหนคร เทศบาลเมืองคอหงส์ ห้างกรีนเวย์หาดใหญ่ ห้างอาเซียนพลาซ่า บริษัทประชารัฐ ตลาดสยาม สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา สำนักงานเกษตรจังหวัดสงขลา คณะการจัดการสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์หาดใหญ่ ร่วมประชุมทบทวนสถานการณ์การทำงานด้านอาหารปลอดภัย 2.สถานการณ์การทำงานอาหารปลอดภัย - เทศบาลเมืองสิงหนคร มีตลาดนัดเช้า จำนวน 20 แห่ง กระจายอยู่ในตำบลต่างๆ มีตลาดหน้าเมือง เป็นตลาดสด จำนวน 1 แห่ง ร้านอาหารครัวใบโหนด และกำลังมีแผนการทำตลาดน้ำบริเวณคูเมือง - เทศบาลเมืองคอหงส์ มีตลาดเอกชน คือตลาดนัดเกาะหมี ตลาดคลองเตย มีตลาดนัดเกษตรกรเดือนละ 1 ครั้ง มีผู้ประกอบการจำนวน 10 ร้าน มีศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการเกษตร - เทศบาลตำบลปริก มีตลาดนัดต้นเลียบเช้าวันจันทร์ และพุธ มีกิจกรรมพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเกษตรกร 90 ครัวเรือน การตรวจสุขาภิบาลอาหาร นโยบายอาหารแลอดภัยในศุฯย์พัฒนาเด็กเล็ก - ห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์
ตลาดนัดเกษตรกรทุกวันเสาร์แรกของเดือน อุทยานอาหารบริเวณชั้น 5 ร้านจำหน่ายผลผลิตการเกษตรทางไทบริเวณห้างโอเดียน - ตลาดสยาม มีเกษตรกรจาก 16 อำเภอ มาจำหน่ายในตลาด ตลาดมีการใช้หลักสุขาภิบาลอาหาร จะมีการดำเนินงานเรื่องโปรแกรมนำเที่ยวหลาดสยามที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร -ตลาดกรีนเวย์ ศูนย์อาหารมีการเลิกการใช้โฟมใส่อาหาร ใช้ระบบการ์ดซื้ออาหารเพื่อไม่ให้ผู้จำหน่ายอาหาร มีสัมผัสเงิน บริการอ่างล้างมือ และมีแผนจะดำเนินการตลาดอาหารปลอดภัยร่วมกับบริษัทประชารัฐ - สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา มีการดำเนินงานในส่วนของตลาดนัดเกษตรกรจำนวน 2 แห่ง คือ ตลาดเกษตร ม.อ. และหน้าสำนักงานเกษตรจังหวัดสงขลา การออกใบรับรองผลผลิต - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา มีบทบาทเรื่องการทดสอบสารปนเปื้อน

เครือข่ายกลับไปทำแผนปฏิบัติงานและนำเสนอแผนอีกครั้งในวันที่ 15 ส.ค. 60

-

5. ประชุมขยายรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและตลาดเอกชน ครั้งที่ 2 »
อังคาร 15 ส.ค. 60 อังคาร 15 ส.ค. 60

เครือข่ายที่เข้าร่วมประชุมได้วางแผนการขยายรูปแบบด้านอาหารปลอดภัย ดังนี้ 1. ตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่

  1. การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

1.1 ให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย

1.2 การกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัยในตลาดกรีนเวย์ โดยมีใบรับรองให้กับร้านค้าที่ผ่านมาตรฐาน ส่วนร้านที่ไม่ผ่านมาตรฐานจะปรับปรุงให้ผ่านมาตรฐานต่อไป

1.3พัฒนาระบบ Matching Model ระหว่างเกษตรกรที่จะหน่ายผลผลิตในพื้นที่ กรีนเวย์@กรีนโซน กับ ศูนย์อาหารกรีนเวย์

1.3 การตรวจสอบเกณมาตรฐานอาหารปลอดภัย

1.4 การส่งเสริมเมนูสุขภาพในร้านจำหน่ายอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม

1.5 การพัฒนาผู้ประกอบการต้นแบบด้านอาหารปลอดภัย

1.6 ยกระดับร้านอาหารปลอดภัยให้เป็นต้นแบบ โดยสร้างแรงจูงใจในเรื่องใบรับรองคุณภาพ

2.1การส่งเสริมความรู้ด้านอาหารให้กับผู้บริโภค

2.2 รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้บริโภค

2.3 การพัฒนาเทคโนโลยีที่สอดคล้องการการปรับพฤติกรรมการกินของผู้บริโภค

2.หลาดสยาม

1.ขยายผลเมนูสุขภาพ โดยแสดงข้อมูลส่วนประกอบของอาหารเพื่อให้เป็นข้อมูลให้กับผู้บริโภค

2.มุมความรู้ด้านอาหารสุขภาพ

3.พัฒนาศักยภาพเกษตรกรและผู้ประกอบการเรื่องอาหารปลอดภัย

4.การพัฒนาตลาดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รณรงค์การใช้บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ

5.จัดกิจกรรมอาหารพื้นบ้าน

6.การสาธิตอาหารเมนูสุขภาพ นิทรรศการอาหารไทย การเสวนาให้ความรู้ด้านโภชนาการ กิจกรรมด้านการแพทย์

1.ให้ตลาดกรีนเวย์และหลาดสยามกลับไปลงรายละเอียดกิจกรรมและงบประมาณ

2.เครือข่าย อปท. ห้างอาเซียนพลาซ่า ห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์กลับไปพัฒนากิจกรรมใหม่อีกครั้ง

เครือข่ายที่เข้าร่วมประชุมได้วางแผนการขยายรูปแบบด้านอาหารปลอดภัย ดังนี้

1.ตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่

1.การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

1.1ให้ความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย

1.2การกำหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัยในตลาดกรีนเวย์ โดยมีใบรับรองให้กับร้านค้าที่ผ่านมาตรฐาน ส่วนร้านที่ไม่ผ่านมาตรฐานจะปรับปรุงให้ผ่านมาตรฐานต่อไป

1.3พัฒนาระบบ Matching Model ระหว่างเกษตรกรที่จะหน่ายผลผลิตในพื้นที่ กรีนเวย์@กรีนโซน กับ ศูนย์อาหารกรีนเวย์

1.3การตรวจสอบเกณมาตรฐานอาหารปลอดภัย

1.4 การส่งเสริมเมนูสุขภาพในร้านจำหน่ายอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม

1.5 การพัฒนาผู้ประกอบการต้นแบบด้านอาหารปลอดภัย

1.6 ยกระดับร้านอาหารปลอดภัยให้เป็นต้นแบบ โดยสร้างแรงจูงใจในเรื่องใบรับรองคุณภาพ

2.ผู้บริโภค

2.1การส่งเสริมความรู้ด้านอาหารให้กับผู้บริโภค
2.2 รณรงค์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้บริโภค

2.3 การพัฒนาเทคโนโลยีที่สอดคล้องการการปรับพฤติกรรมการกินของผู้บริโภค

2.หลาดสยาม 1.ขยายผลเมนูสุขภาพ โดยแสดงข้อมูลส่วนประกอบของอาหารเพื่อให้เป็นข้อมูลให้กับผู้บริโภ

2.มุมความรู้ด้านอาหารสุขภาพ

3.พัฒนาศักยภาพเกษตรกรและผู้ประกอบการเรื่องอาหารปลอดภัย

4.การพัฒนาตลาดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รณรงค์การใช้บรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ

5.จัดกิจกรรมอาหารพื้นบ้าน
6.การสาธิตอาหารเมนูสุขภาพ นิทรรศการอาหารไทย การเสวนาให้ความรู้ด้านโภชนาการ กิจกรรมด้านการแพทย์

มีเครือข่ายที่เข้าร่วมขยายรูปแบบอาหารปลอดภัย ได้แก่

  • ตลาดกรีนเวย์

  • หลาดสยาม

  • ห้างอาเซียนพลาซ่า

  • ห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์หาดใหญ่

  • เทศบาลคอหงส์

  • เทศบาลตำบลทุ่งลาน

  • เทศบาลตำบลปริก

-

6. ประชุมร่วมกับเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา เรื่องการยกระดับ 1 ไร่หลายแสนเป็นแหล่งเรียนรู้เกษตรผสมผสาน »
อังคาร 15 ส.ค. 60 อังคาร 15 ส.ค. 60

ประชุมหารือกับเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาเรื่องการยกระดับเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่หลายในอำเภอระโนดให้เป็นพื้นที่ต้นแบบในการเรียนรู้ด้านการทำเกษตรผสมผสาน

ประชุมหารือกับเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลาเรื่องการยกระดับเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่หลายในอำเภอระโนดให้เป็นพื้นที่ต้นแบบในการเรียนรู้ด้านการทำเกษตรผสมผสาน

1.ความร่วมมือการทำงานพัฒนา 1 ไร่หลายแสนในพื้นที่ตำบลระโนดให้เป็นแหล่งเรียนรู้การทำเกษตรและพัฒนาหลักสูตรการเรียนด้านการเกษตรในพื้นที่จริง

2.กำหนดกรอบการทำงานดังนี้ 1. ลงสำรวจข้อมูลและทำความเข้าใจกับเกษตรทั้ง 4 รายของอำเภอระโนด

2.เกษตรและสหกรณ์ นักวิชาการ ม.อ. สวทน. คณะอุตสาหกรรมการเกษตร หอการค้า เกษตรอำเภอ เกษตรตำบลลงพื้นที่เพื่อระดมความคิดเห็นในการทำงานพัฒนา 1 ไร่ หลายแสนให้เป็นแหล่งเรียนรู้

1.ความร่วมมือการทำงานพัฒนา 1 ไร่หลายแสนในพื้นที่ตำบลระโนดให้เป็นแหล่งเรียนรู้การทำเกษตรและพัฒนาหลักสูตรการเรียนด้านการเกษตรในพื้นที่จริง

2.กำหนดกรอบการทำงานดังนี้ 1. ลงสำรวจข้อมูลและทำความเข้าใจกับเกษตรทั้ง 4 รายของอำเภอระโนด

2.เกษตรและสหกรณ์ นักวิชาการ ม.อ. สวทน. คณะอุตสาหกรรมการเกษตร หอการค้า เกษตรอำเภอ เกษตรตำบลลงพื้นที่เพื่อระดมความคิดเห็นในการทำงานพัฒนา 1 ไร่ หลายแสนให้เป็นแหล่งเรียนรู้

-

7. ประชุมผลักดันนโยบายพืชร่วมยาง »
พฤหัสบดี 17 ส.ค. 60 พฤหัสบดี 17 ส.ค. 60

ระดมความคิดเห็นกับการยางแห่งประเทศไทยสาขาเมืองสงขลา สะบ้าย้อย นาทวี เทพา จะนะ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา นักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ. มีข้อเสนอเชิงนโยบายจากที่ประชุมดังนี้ 1.ผลักดันให้จังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่นำร่องเรื่องการส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง โดยทำเป็นวาระของจังหวัด มีคณะทำงานที่มีเกษตรและสหกรณ์เป็นเลขา ผู้ว่าราชการเป็นประธาน 2.ให้นโยบาย Rubber City เชื่อมโยงกับเรื่องพืชร่วมยาง 3.การสร้างความตระหนักและความเข้าใจกับเกษตรกร พัฒนาศักยภาพเกษตรกรเรื่องพืชร่วมยาง 4.กยท.มีมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกรเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง

มีเป้าหมายการดำเนินงานดังนี้ 1.เพิ่มพื้นที่วนเกษตรยางพารา เพื่อเป็นพื้นที่พืชอาหาร 2.เพิ่มคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพที่ปลอดสารเคมี 3.เพิ่มเครือข่ายเกษตรกร

ระดมความคิดเห็นกับการยางแห่งประเทศไทยสาขาเมืองสงขลา สะบ้าย้อย นาทวี เทพา จะนะ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา นักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ. มีข้อเสนอเชิงนโยบายจากที่ประชุมดังนี้ 1.ผลักดันให้จังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่นำร่องเรื่องการส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง โดยทำเป็นวาระของจังหวัด มีคณะทำงานที่มีเกษตรและสหกรณ์เป็นเลขา ผู้ว่าราชการเป็นประธาน 2.ให้นโยบาย Rubber City เชื่อมโยงกับเรื่องพืชร่วมยาง 3.การสร้างความตระหนักและความเข้าใจกับเกษตรกร พัฒนาศักยภาพเกษตรกรเรื่องพืชร่วมยาง 4.กยท.มีมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกรเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง

มีเป้าหมายการดำเนินงานดังนี้ 1.เพิ่มพื้นที่วนเกษตรยางพารา เพื่อเป็นพื้นที่พืชอาหาร 2.เพิ่มคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพที่ปลอดสารเคมี 3.เพิ่มเครือข่ายเกษตรกร

ระดมความคิดเห็นกับการยางแห่งประเทศไทยสาขาเมืองสงขลา สะบ้าย้อย นาทวี เทพา จะนะ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา นักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.อ. มีข้อเสนอเชิงนโยบายจากที่ประชุมดังนี้ 1.ผลักดันให้จังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่นำร่องเรื่องการส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง โดยทำเป็นวาระของจังหวัด มีคณะทำงานที่มีเกษตรและสหกรณ์เป็นเลขา ผู้ว่าราชการเป็นประธาน 2.ให้นโยบาย Rubber City เชื่อมโยงกับเรื่องพืชร่วมยาง 3.การสร้างความตระหนักและความเข้าใจกับเกษตรกร พัฒนาศักยภาพเกษตรกรเรื่องพืชร่วมยาง 4.กยท.มีมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกรเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชร่วมยาง

มีเป้าหมายการดำเนินงานดังนี้ 1.เพิ่มพื้นที่วนเกษตรยางพารา เพื่อเป็นพื้นที่พืชอาหาร 2.เพิ่มคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพที่ปลอดสารเคมี 3.เพิ่มเครือข่ายเกษตรกร

1.ประสานงานกับจังหวัด เพื่อสร้างความร่วมมือการทำงานเรื่องพืชร่วมยาง 2.ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบพืชร่วมยางโดยนักวิชาการ ม.อ. และเจ้าหน้าผู้ปฏิบัติงานของ กยท.

-

8. พัฒนากิจกรรม 1 ไร่ 1 แสน »
ศุกร์ 25 ส.ค. 60 ศุกร์ 25 ส.ค. 60

ประชุมชี้แจงกับเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบ 1 ไร่หลายแสน อำเภอระโนดจำนวน 4 ราย และเกษตรตำบล ในเรื่องการพัฒนาแหล่งเรียนการทำเกษตร

ประชุมชี้แจงกับเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบ 1 ไร่หลายแสน อำเภอระโนดจำนวน 4 ราย และเกษตรตำบล ในเรื่องการพัฒนาแหล่งเรียนการทำเกษตร

แลกเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการทำเกษตรแบบ 1 ไร่ หลายแสน โดยเกษตรกรได้ให้ข้อมูล ดังนี้

-มีเกษตรกรที่ทำการผลิตแบบเกษตรผสมผสานอยู่ในพื้นที่ 30 ราย เป็นประเภทพืชและสัตว์ แต่มี 4 รายที่เป็นต้นแบบให้เกษตรกรอื่นๆมาเรียนรู้อยู่โดยหมุนเวียนไปแต่ละแปลงตามความสนใจของผู้ศึกษาดูงาน

-เกษตรกรในพื้นที่ไม่นิยมการแปรรูปผลผลิตเนื่องจากเป็นภาระในการจัดการแปลงเกษตร แต่นิยมขายผลผลิตให้กับเพื่อนบ้านและพ่อค้าคนกลาง

-ปัจจุบันมีการส่งผลผลิตขายให้กับร้านทางไท ทีห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์หาดใหญ่ โดยส่งทางรถตู้โดยสาร

-ข้อเสนอการทำหลักสูตรการเรียนรู้ ควรทำ Mapping เกษตรกร และพื้นที่การทำเกษตร หาจุดเด่นของแหล่งเรียนรู้ในแต่ละเรื่องและนำมาวางหลักสูตร

-

9. ประชุมหารือกับรองนายแพทย์ สสจ.สงขลา »
จันทร์ 4 ก.ย. 60 จันทร์ 4 ก.ย. 60

ประชุมร่วมกับรองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสงขลา บุคลากร จำนวน4 ท่าน ในประเด็นความร่วมมือในการทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพ และการขยายเมนูตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรไปสู่โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบล ซึ่งมีข้อสรุปในประเด็นการทำงานร่วมกันดังนี้ -ให้มีการนำข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเด็กมาวิเคราะห์ เพื่อพิกัดจุดที่เป็นปัญหาจากนั้นให้มีการนำเสนอข้อมูลกับผู้บริหารท้องถิ่นที่มีความสนใจในการทำแผนงาน โครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ -ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ควรขยายผลในโรงพยาบาลชุมชนเนื่องจากมีระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย โดยส่งเสริมให้โรงครัวนำตำรับอาหารเป็นยาไปใช้สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอาจส่งเสริมในเรื่องเครื่องดื่มสมุนไพร

ประชุมร่วมกับรองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสงขลา บุคลากร จำนวน4 ท่าน ในประเด็นความร่วมมือในการทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพ และการขยายเมนูตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรไปสู่โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบล ซึ่งมีข้อสรุปในประเด็นการทำงานร่วมกันดังนี้ -ให้มีการนำข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเด็กมาวิเคราะห์ เพื่อพิกัดจุดที่เป็นปัญหาจากนั้นให้มีการนำเสนอข้อมูลกับผู้บริหารท้องถิ่นที่มีความสนใจในการทำแผนงาน โครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ -ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ควรขยายผลในโรงพยาบาลชุมชนเนื่องจากมีระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย โดยส่งเสริมให้โรงครัวนำตำรับอาหารเป็นยาไปใช้สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอาจส่งเสริมในเรื่องเครื่องดื่มสมุนไพร

ประชุมร่วมกับรองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสงขลา บุคลากร จำนวน4 ท่าน ในประเด็นความร่วมมือในการทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพ และการขยายเมนูตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพรไปสู่โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งสริมสุขภาพตำบล ซึ่งมีข้อสรุปในประเด็นการทำงานร่วมกันดังนี้ -ให้มีการนำข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับเด็กมาวิเคราะห์ เพื่อพิกัดจุดที่เป็นปัญหาจากนั้นให้มีการนำเสนอข้อมูลกับผู้บริหารท้องถิ่นที่มีความสนใจในการทำแผนงาน โครงการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ -ตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร ควรขยายผลในโรงพยาบาลชุมชนเนื่องจากมีระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย โดยส่งเสริมให้โรงครัวนำตำรับอาหารเป็นยาไปใช้สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอาจส่งเสริมในเรื่องเครื่องดื่มสมุนไพร

ให้จัดทำรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการให้ทีม สสจ.วิเคราะห์ โดยส่งรายละเอียดให้ สสจ.อีกครั้ง

-

10. ทำแผนอาหารปลอดภัย เทศบาลตำบลทุ่งลาน »
อังคาร 5 ก.ย. 60 อังคาร 5 ก.ย. 60

ประชุมร่วมกับบุคลากรเทศบาลตำบลทุ่งลาน ผู้ประกอบการร้านอาหาร ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    โดยระดมความคิดเห็นถึงความร่วมมือการทำงาน ซึ่งที่ประชุมมีข้อเสนอใน 2 ประเด็น คือ 1.การพัฒนารูปแบบบูรณาการระบบอาหารในท้องถิ่น 2.การพัฒนาร้านอาหาร โดยทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

ประชุมร่วมกับบุคลากรเทศบาลตำบลทุ่งลาน ผู้ประกอบการร้านอาหาร ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    โดยระดมความคิดเห็นถึงความร่วมมือการทำงาน ซึ่งที่ประชุมมีข้อเสนอใน 2 ประเด็น คือ 1.การพัฒนารูปแบบบูรณาการระบบอาหารในท้องถิ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 2.การพัฒนาร้านอาหาร โดยทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โดยเลือกพื้นที่ร้านอาหารบริเวณหน้ากองบิน 56

ประชุมร่วมกับบุคลากรเทศบาลตำบลทุ่งลาน ผู้ประกอบการร้านอาหาร ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    โดยระดมความคิดเห็นถึงความร่วมมือการทำงาน ซึ่งที่ประชุมมีข้อเสนอใน 2 ประเด็น คือ 1.การพัฒนารูปแบบบูรณาการระบบอาหารในท้องถิ่น 2.การพัฒนาร้านอาหาร โดยทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

-

-

11. ทำแผนอาหารปลอดภัยเทศบาลตำบลปริก »
พุธ 6 ก.ย. 60 พุธ 6 ก.ย. 60

ประชุมร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากร และผู้ประกอบการร้านค้า เพื่อกำหนดแนวทางการทำงานด้านอาหารปลอดภัย โดยที่ประชุมมีข้อเสนอในการดำเนินงาน ดังนี้

-การรือฟื้นตลาดนัดสีเขียวของเทศบาลตำบลปริก โดยทำให้เป็นตลาดอาหารฮาลาล ในลำดับแรกจะมีการถอดบทเรียนการดำเนินงานของตลาดที่ผ่านมา การแลกเปลี่ยนกับตลาดที่ประสบความสำเร็จ

-การพัฒนาร้านอาหารชุมชน ให้เป็นร้านอาหารสุขภาพ

-พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนให้เข้าสู่อาหารปลอดภัย

ประชุมร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากร และผู้ประกอบการร้านค้า เพื่อกำหนดแนวทางการทำงานด้านอาหารปลอดภัย โดยที่ประชุมมีข้อเสนอในการดำเนินงาน ดังนี้

-การรือฟื้นตลาดนัดสีเขียวของเทศบาลตำบลปริก โดยทำให้เป็นตลาดอาหารฮาลาล ในลำดับแรกจะมีการถอดบทเรียนการดำเนินงานของตลาดที่ผ่านมา การแลกเปลี่ยนกับตลาดที่ประสบความสำเร็จ

-การพัฒนาร้านอาหารชุมชน ให้เป็นร้านอาหารสุขภาพ

-พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนให้เข้าสู่อาหารปลอดภัย

ประชุมร่วมกับผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากร และผู้ประกอบการร้านค้า เพื่อกำหนดแนวทางการทำงานด้านอาหารปลอดภัย โดยที่ประชุมมีข้อเสนอในการดำเนินงาน ดังนี้

-การรือฟื้นตลาดนัดสีเขียวของเทศบาลตำบลปริก โดยทำให้เป็นตลาดอาหารฮาลาล ในลำดับแรกจะมีการถอดบทเรียนการดำเนินงานของตลาดที่ผ่านมา การแลกเปลี่ยนกับตลาดที่ประสบความสำเร็จ

-การพัฒนาร้านอาหารชุมชน ให้เป็นร้านอาหารสุขภาพ

-พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนให้เข้าสู่อาหารปลอดภัย

การวางแผนถอดบทเรียนการดำเนินงานเรื่องตลาด ในวันที่ 4 ตุลาคม 2560

-

12. ทำแผนอาหารปลอดภัยเทศบาลเมืองคอหงส์
พุธ 13 ก.ย. 60

 

 

 

 

 

13. ทำแผนอาหารปลอดภัยเทศบาลตำบลปริก »
พุธ 4 ต.ค. 60 พุธ 4 ต.ค. 60

ถอดบทเรียนการทำตลาดนัดสีเขียว และกำหนดเป้าหมายรวมทั้งแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาตลาดสีเขียวขึ้นใหม่

ถอดบทเรียนการทำตลาดนัดสีเขียว และกำหนดเป้าหมายรวมทั้งแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาตลาดสีเขียวขึ้นใหม่

ระดมความคิดเห็นต่อการพัฒนาตลาดสีเขียวเทศบาลตำบลปริก 1.ความต้องการให้เกิดขึ้นในตลาดสีเขียว (Green market) 1.1มีศูนย์ประชาสัมพันธ์และที่จอดรถ มีคนแนะนำ/ให้ความรู้ (PR) 1.2สร้างความเชื่อมั่น/ความปลอดภัยของอาหาร 1.3เปิดตลาดเพื่อค้าขายสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1.4มีการสุ่มตรวจอาหาร เพื่อตรวจสอบความปลอดภัย 1.5สร้างเอกลักษณ์ให้กับตลาด เช่นการแต่งกาย การแสดงความเป็นท้องถิ่น 1.6มีการกำหนดราคาสินค้า สร้างความเป็นธรรมให้กับผู้บริโภค ราคาไม่แพงจนเกินไป 1.7เป็นตลาดที่มีการขายสินค้า ที่เป็นผลผลิตจากท้องถิ่น 1.8มีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ 1.9สร้างจุดขาย แรงดึงดูด เช่นสร้างจุดเช็คอิน ปรับภูมิทัศน์ให้สวยงาม 1.10พืช ผักและสินค้าที่นำมาขายในตลาดต้องปลอดสารพิษ 100% 1.11มีการคัดกรองพ่อค้า แม่ค้าก่อนจะเข้ามาขายสินค้าในตลาด (ผู้ขายอาจจะเป็นเฉพาะคนในชุมชน)
1.12มีสินค้าที่หลากหลาย (อาหารสด อาหารทานเล่น เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า เครื่องใช้ต่างๆ) 1.13ส่งเสริมให้เกษตรกรมีแผนการผลิต เพื่อส่งสินค้าขายในตลาด 1.14เวลาเปิด – ปิดตลาด /เวลาเช้า – เที่ยง /หลังเที่ยง หรือ 16.00 – 20.00 น. 1.15วันที่จะเปิดตลาด วันอังคาร/วันอาทิตย์ 1.16มีสินค้าที่เป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น เช่น ข้าวหลามชักพลุด เครื่องแกง น้ำพริก ฯลฯ สินค้าที่มาจากชุมชน 1.17มีกิจกรรมสาธิตเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม เช่นร่วมกันทำขนม 1.18.มีกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกาย (สันทนาการ) 1.19มีการจัดระเบียบ แบ่งโซนการขายสินค้า ให้มีความน่าสนใจและง่ายต่อการจับจ่ายซื้อของ 1.20ร้านจำหน่ายอาหารต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 1.21มีห้องน้ำรองรับลูกค้า ที่เหมาะสมทุกเพศทุกวัย 1.22มีร้านจำหน่ายอาหารพื้นบ้าน สินค้าพื้นบ้าน/ของที่ระลึก 1.23วัสดุ ภาชนะ หีบ ห่อ ที่ใช้ใส่อาหารต้องรักษาสิ่งแวดล้อม 1.24ทุกร้านต้องมีจุดทิ้งขยะ และหน้าร้านต้องมีป้ายรับฝากขยะ

2.กลไกลการทำงานตลาดสีเขียว (Green market) 2.1.สำรวจแหล่งผลิตสินค้า อาหารปลอดภัย(ฐานข้อมูลเดิม) 2.2.สร้างข้อตกลงระหว่างผู้ขาย (ร่วมกันสร้าง) 2.3.แต่งตั้งคณะทำงานตลาด ฝ่ายสำรวจ/ฝ่ายดำเนินการ 2.4.มีการประชาสัมพันธ์ เรื่องเอกลักษณ์ของตลาดนัดสีเขียวเพื่อสร้างจุดยืนให้กับตลาด 2.5.กลไกลการทำงานให้เป็นของชุมชน โดยให้เทศบาลเป็นที่ปรึกษา 2.6.มีความต่อเนื่องและมีข้อจำกัด 2.7.ตลาดที่สามารถอยู่ได้ คือชุมชนเป็นคนจัดการ 2.8.ความมั่นใจของผู้ขาย เช่นขาดทุนหรือไม่เมื่อมีการลงทุนไป 2.9.มีเครือข่ายแม่ค้า เพื่อมาขายของในพื้นที่ 2.10.สร้างจุดยืน เรื่องตลาดนัดสีเขียว

3.คณะที่ปรึกษาตลาดนัดสีเขียว (Green market) 1.คณะผู้บริหาร 2.สมาชิกสภา เขต1/เขต2 3.หัวหน้าส่วนราชการ 4.เจ้าหน้าที่และพนักงานของเทศบาลตำบลปริก

คณะทำงานของตลาดนัดสีเขียว (Green market) 1.นางสาวอะมีนา  ยาอีด 2.นายซลกิบลี  โอกาส 3.นางรอบีอ๊ะ  โต๊ะหีม (คุณครูโรงเรียนบ้านปริก) 4.นางมูนีเร๊าะ  หมัดหนิ 5.นายสุมิตร  บิลดุเหล็ม (ร้านสวนใผ่) 6.นางสาวอุไร  ดาอี (ร้านอาหารไทย – มาเลย์) 7.กะด๊ะ (ร้านขนมลูกโดน) 8.บังหมัดชู (ปลาดุกร้า) 9.นายสุริยน  หมัดหร๊ะ (ร้านเบอร์เกอร์มีเสน่ห์) 10.นางอรนุช  บุญศรีจันทร์ 11.นางจริยา  หมัดเด 12.นายสุวิทย์  วงศ์ศิลา (ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปริก) 13.นางศิริพร  กลิ่นพิทักษ์ 14.นางสาวฮานาดี  มะตีไม่ (คุณครูโรงเรียนเทศบาลตำบลปริก) 15.นางสาวนูรอัยณี  สะมะแอ (ร้านไทย – มาเลย์ ข้าวต้มกุ๋ย) 16.นางร้อชีด๊ะ  มาลินี 17.นางสาวสุภาวดี  หนิมุสา

กำหนดแผนให้คณะทำงานประชุมทำแผนพัฒนาตลาดสีเขียวเทศบาลตำบลปริก พร้อมกับศึกษาดูงานตลาดเกษตร ม.อ.

-

14. ลงพื้นที่พัฒนาหลักสูตร 1 ไร่ 1 แสน »
ศุกร์ 6 ต.ค. 60 ศุกร์ 6 ต.ค. 60

วันที่ 6 ตุลาคม 2560 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพร่วมกับนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ลงพื้นที่ตำบลบ้านขาวอำเภอระโนด เพื่อประชุมระดมความคิดเห็นร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เกษตรตำบล แกนนำเกษตรกร และตัวแทนห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ และห้างอาเซียนพลาซ่า โดยวางแผนการทำงานพัฒนาหลักสูตรเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน ไปสู่ 1 ไร่หลายแสน ซึ่งที่ประชุมได้มีข้อเสนอการทำ Mapping ครัวเรือนที่ทำเกษตรผสมผสานโดยใช้ความร่วมมือจากเกษตรตำบล และแกนนำเกษตรกรในพื้นที่ จากนั้นให้นักวิชาการเลือกครัวเรือนที่เป็นต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานพัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ โดยหลักสูตรการเรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานจะกระจายอยู่ในระดับครัวเรือน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมหลักสูตรการเรียนรู้เกษตรผสมผสานจะเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ของจังหวัดสงขลา

วันที่ 6 ตุลาคม 2560 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพร่วมกับนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ลงพื้นที่ตำบลบ้านขาวอำเภอระโนด เพื่อประชุมระดมความคิดเห็นร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เกษตรตำบล แกนนำเกษตรกร และตัวแทนห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ และห้างอาเซียนพลาซ่า โดยวางแผนการทำงานพัฒนาหลักสูตรเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน ไปสู่ 1 ไร่หลายแสน ซึ่งที่ประชุมได้มีข้อเสนอการทำ Mapping ครัวเรือนที่ทำเกษตรผสมผสานโดยใช้ความร่วมมือจากเกษตรตำบล และแกนนำเกษตรกรในพื้นที่ จากนั้นให้นักวิชาการเลือกครัวเรือนที่เป็นต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานพัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ โดยหลักสูตรการเรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานจะกระจายอยู่ในระดับครัวเรือน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมหลักสูตรการเรียนรู้เกษตรผสมผสานจะเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ของจังหวัดสงขลา

วันที่ 6 ตุลาคม 2560 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพร่วมกับนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติ ลงพื้นที่ตำบลบ้านขาวอำเภอระโนด เพื่อประชุมระดมความคิดเห็นร่วมกับพัฒนาการอำเภอ เกษตรตำบล แกนนำเกษตรกร และตัวแทนห้างโอเดียนแฟชั่นมอลล์ และห้างอาเซียนพลาซ่า โดยวางแผนการทำงานพัฒนาหลักสูตรเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน ไปสู่ 1 ไร่หลายแสน ซึ่งที่ประชุมได้มีข้อเสนอการทำ Mapping ครัวเรือนที่ทำเกษตรผสมผสานโดยใช้ความร่วมมือจากเกษตรตำบล และแกนนำเกษตรกรในพื้นที่ จากนั้นให้นักวิชาการเลือกครัวเรือนที่เป็นต้นแบบการทำเกษตรผสมผสานพัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนรู้ โดยหลักสูตรการเรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานจะกระจายอยู่ในระดับครัวเรือน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมหลักสูตรการเรียนรู้เกษตรผสมผสานจะเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ของจังหวัดสงขลา

วิธีการดำเนินงานในการพัฒนาหลักสูตรเกษตรผสมผสาน
1. สำรวจจำนวนเครือเรือนของเกษตรกรที่มีการทำเกษตรผสมผสานและนำมาทำ Mapping 2.เลือกครัวเรือนที่เป็นต้นแบบการทำเกษตร จากนั้นเก็บข้อมูลความรู้จัดทำเป็นหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสาน

-

15. ลงประเมินตลาดน้ำคลองแห »
ศุกร์ 27 ต.ค. 60 ศุกร์ 27 ต.ค. 60

สำรวจตลาดน้ำคลองแหเพื่อนำข้อมูลมาจัดทำเป็นแผนการดำเนินงานพัฒนาตลาดน้ำคลองแห

สำรวจตลาดน้ำคลองแหเพื่อนำข้อมูลมาจัดทำเป็นแผนการดำเนินงานพัฒนาตลาดน้ำคลองแห

1.เก็บข้อมูลด้านกายภาพสถานที่จำหน่ายอาหารบริเวณตลาดน้ำคลองแห 2.สัมภาษณ์บุคลากรกองสวัสดิการสังคมเรื่องการดำเนินงานตลาดน้ำคลองแห 3.จัดทำแผนการพัฒนาตลาดน้ำคลองแหนำเสนอต่อคณะกรรมการตลาดในวันที่ 9 พ.ย.2560

1.เก็บข้อมูลด้านกายภาพสถานที่จำหน่ายอาหารบริเวณตลาดน้ำคลองแห 2.สัมภาษณ์บุคลากรกองสวัสดิการสังคมเรื่องการดำเนินงานตลาดน้ำคลองแห 3.จัดทำแผนการพัฒนาตลาดน้ำคลองแหนำเสนอต่อคณะกรรมการตลาดในวันที่ 9 พ.ย.2560

-

16. นำเสนอแผนพัฒนาตลาดน้ำคลองแห »
พฤหัสบดี 9 พ.ย. 60 พฤหัสบดี 9 พ.ย. 60

นำเสนอร่างแผนการพัฒนาตลาดน้ำคลองแห สู่ตลาดอาหารปลอดภัย ในการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห โดยมีผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากรกองสวัสดิการสังคม และกรรมการชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห

นำเสนอร่างแผนการพัฒนาตลาดน้ำคลองแห สู่ตลาดอาหารปลอดภัย ในการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห โดยมีผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากรกองสวัสดิการสังคม และกรรมการชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห

นำเสนอร่างแผนการพัฒนาตลาดน้ำคลองแห สู่ตลาดอาหารปลอดภัย ในการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห โดยมีผู้บริหารท้องถิ่น บุคลากรกองสวัสดิการสังคม และกรรมการชมรมผู้ประกอบการร้านค้าตลาดน้ำคลองแห

ที่ประชุมรับทราบและเทศบาลเมืองคลองแหได้อนุมัติให้กองสาธารณสุขเป็นน่วยดำเนินกิจกรรมตามแผนที่นำเสนอ ขั้นตอนต่อไปคือการลงนามในข้อตกลงการทำงานร่วมกัน

-

17. ทำแผนบูรณาการระบบอาหารตำบลทุ่งลาน »
จันทร์ 13 พ.ย. 60 จันทร์ 13 พ.ย. 60

นำเสนอแผนการทำงานบูรณาการระบบอาหารของตำบลทุ่งลาน โดยมีแผนการทำงานในเรื่อง 1.ผลักดันให้ร้านอาหารมีการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย โดยส่งเสริมให้ร้านค้าปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เมนูลดหวานมันเค็ม 2.การพัฒนารูปแบบเกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้วที่ใช้แนวคิด 1 ไร่ 1 แสน 3.การพัฒนาระบบอาหารปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

นำเสนอแผนการทำงานบูรณาการระบบอาหารของตำบลทุ่งลาน โดยมีแผนการทำงานในเรื่อง 1.ผลักดันให้ร้านอาหารมีการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย โดยส่งเสริมให้ร้านค้าปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เมนูลดหวานมันเค็ม 2.การพัฒนารูปแบบเกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้วที่ใช้แนวคิด 1 ไร่ 1 แสน 3.การพัฒนาระบบอาหารปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

นำเสนอแผนการทำงานบูรณาการระบบอาหารของตำบลทุ่งลาน โดยมีแผนการทำงานในเรื่อง 1.ผลักดันให้ร้านอาหารมีการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย โดยส่งเสริมให้ร้านค้าปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร เมนูลดหวานมันเค็ม 2.การพัฒนารูปแบบเกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้วที่ใช้แนวคิด 1 ไร่ 1 แสน 3.การพัฒนาระบบอาหารปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน

ผู้บริหารท้องถิ่น รวมทั้งผู้เข้าร่วมประชุมทุกฝ่ายเห็นร่วมกันดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน

-

18. เทศบาลตำบลปริกดูงานตลาดเกษตร ม.อ. »
พุธ 15 พ.ย. 60 พุธ 15 พ.ย. 60

แกนนำผู้ประกอบการ บุคลากร เทศบาลตำบลปริกได้แลกเปลี่ยนการดำเนินงานของตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งเป็นตลาดต้นแบบในการทำงานพัฒนาศักยภาพเกษตรกร  และผู้ประกอบการร้านค้าให้มีการผลิตอาหารปลอดภัย โดยการแลกเปลี่ยนครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้เทศบาลตำบลปริกได้นำไปพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัยในเทศบาลตำบลปริกต่อไป

แกนนำผู้ประกอบการ บุคลากร เทศบาลตำบลปริกได้แลกเปลี่ยนการดำเนินงานของตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งเป็นตลาดต้นแบบในการทำงานพัฒนาศักยภาพเกษตรกร  และผู้ประกอบการร้านค้าให้มีการผลิตอาหารปลอดภัย โดยการแลกเปลี่ยนครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้เทศบาลตำบลปริกได้นำไปพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัยในเทศบาลตำบลปริกต่อไป

แกนนำผู้ประกอบการ บุคลากร เทศบาลตำบลปริกได้แลกเปลี่ยนการดำเนินงานของตลาดเกษตร ม.อ. ซึ่งเป็นตลาดต้นแบบในการทำงานพัฒนาศักยภาพเกษตรกร  และผู้ประกอบการร้านค้าให้มีการผลิตอาหารปลอดภัย โดยการแลกเปลี่ยนครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้เทศบาลตำบลปริกได้นำไปพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัยในเทศบาลตำบลปริกต่อไป

เทศบาลตำบลปริกจะนำแนวทางการทำงานพัฒนาตลาดไปปรึกษากับผู้บริหารท้องถิ่น และตั้งทีมขึ้นมาทำงานผลักดันให้เกิดการพัฒนาตลาด

-

19. ผู้ทรงคุณวุฒิ อย. สสส. ดูงานระบบโภชนาการโรงเรียนพื้นที่จังหวัดสงขลา »
ศุกร์ 24 พ.ย. 60 ศุกร์ 24 พ.ย. 60

ศึกษาดูงานรูปแบบการจัดการอาหารกลางวันของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของตำบลควนรู โรงเรียนชุมชนบ้านโคกค่าย โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษา และโรงเรียนชุมชนบ้านคลองหอยโข่ง

ศึกษาดูงานรูปแบบการจัดการอาหารกลางวันของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของตำบลควนรู โรงเรียนชุมชนบ้านโคกค่าย โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษา และโรงเรียนชุมชนบ้านคลองหอยโข่ง

การแลกเปลี่ยนรูปแบบการจัดการอาหารกลางวันของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของตำบลควนรู โรงเรียนชุมชนบ้านโคกค่าย โรงเรียนเจริญรัตน์ศึกษา และโรงเรียนชุมชนบ้านคลองหอยโข่ง

คณะศึกษาดูงานประกอบด้วยผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา และผู้แทนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโรงเรียน ผู้นำท้องถิ่น ได้เกิดการแลกเปลี่ยนในรูปแบบการจัดการระบบอาหารกลางวันที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนโดยมีข้อเสนอแนะให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลสุขภาพของเด็กเพื่อเฝ้าระวังปัญหาด้านโภชนาการ

-

20. ประชุมกรรมการตลาดนัดเกาะหมี »
ศุกร์ 15 ธ.ค. 60 ศุกร์ 15 ธ.ค. 60

ประชุมผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีซึ่งเป็นกลุ่มแม่ค้าที่จำหน่ายอาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน โดยได้คืนข้อมูลผลการสำรวจสุขาภิบาลอาหารให้กับผู้ประกอบการ จากนั้นได้ร่วมกำหนดกติกาในการพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้มีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น 1. จะยกเลิกการใช้โฟมบรรจุอาหารภายในเดือนมกราคม เพื่อให้เป็นตลาดปลอดโฟม 2. การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 3. การกำหนดป้านแสดงราคาอาหาร 4. จัดโซนจำหน่ายอาหารให้ถูกสุขลักษณะมากขึ้น 5.การอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร

ประชุมผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีซึ่งเป็นกลุ่มแม่ค้าที่จำหน่ายอาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน โดยได้คืนข้อมูลผลการสำรวจสุขาภิบาลอาหารให้กับผู้ประกอบการ จากนั้นได้ร่วมกำหนดกติกาในการพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้มีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น 1. จะยกเลิกการใช้โฟมบรรจุอาหารภายในเดือนมกราคม เพื่อให้เป็นตลาดปลอดโฟม 2. การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 3. การกำหนดป้านแสดงราคาอาหาร 4. จัดโซนจำหน่ายอาหารให้ถูกสุขลักษณะมากขึ้น 5.การอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร

ประชุมผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีซึ่งเป็นกลุ่มแม่ค้าที่จำหน่ายอาหารปรุงสุกพร้อมรับประทาน โดยได้คืนข้อมูลผลการสำรวจสุขาภิบาลอาหารให้กับผู้ประกอบการ จากนั้นได้ร่วมกำหนดกติกาในการพัฒนาร้านจำหน่ายอาหารให้มีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น 1. จะยกเลิกการใช้โฟมบรรจุอาหารภายในเดือนมกราคม เพื่อให้เป็นตลาดปลอดโฟม 2. การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 3. การกำหนดป้านแสดงราคาอาหาร 4. จัดโซนจำหน่ายอาหารให้ถูกสุขลักษณะมากขึ้น 5.การอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร

จัดตั้งชมรมผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีจำนวน 15 คน เพื่อให้เป็นแกนนำประสานงานให้ผู้ประกอบการร่วมดำเนินกิจกรรมพัฒนาตลานัดเกาะหมี

-

21. ประชุมการคืนข้อมูลด้านอาหารและจัดทำแผนพัฒนาอาหารปลอดภัยห้างอาเซียนพลาซ่า »
จันทร์ 18 ธ.ค. 60 จันทร์ 18 ธ.ค. 60

ประชุมผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารโดยนำข้อมูลการตรวจสุขาภิบาลอาหารของเทศบาลนครหาดใหญ่ มาคืนข้อมูลให้กับผู้ประกอบการได้รับรู้ข้อมูล จากนั้นมีการระดมความคิดเห็นต่อแนวทางาการจัดการปัญหา

ประชุมผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารโดยนำข้อมูลการตรวจสุขาภิบาลอาหารของเทศบาลนครหาดใหญ่ มาคืนข้อมูลให้กับผู้ประกอบการได้รับรู้ข้อมูล จากนั้นมีการระดมความคิดเห็นต่อแนวทางาการจัดการปัญหา 

1.คืนข้อมูลสุขาภิบาลอาหารให้กับผู้ประกอบการตลาดอาเซียนพลาซ่า โดยข้อมูลการตรวจด้านสุขภิบาลอาหารพบว่าที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คือการแต่งกายของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ยังมีการใช้โฟมบรรจุอาหาร

2.มีข้อเสนอถึงความร่วมมือในเรื่อง -การตรวจสุขภาพของผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร -การปฏิบัติการตามหลักสุขาภิบาลอาหารให้เข้มงวดมากขึ้น -มาตรการลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร โดยเริ่มเดือนมกราคม 2561

1.คืนข้อมูลสุขาภิบาลอาหารให้กับผู้ประกอบการตลาดอาเซียนพลาซ่า โดยข้อมูลการตรวจด้านสุขภิบาลอาหารพบว่าที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คือการแต่งกายของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ยังมีการใช้โฟมบรรจุอาหาร

2.มีข้อเสนอถึงความร่วมมือในเรื่อง -การตรวจสุขภาพของผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร -การปฏิบัติการตามหลักสุขาภิบาลอาหารให้เข้มงวดมากขึ้น -มาตรการลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร โดยเริ่มเดือนมกราคม 2561

-

22. ประชุมกำหนดแนวทางการขยายผลตำรับอาหารเป็นยา »
อังคาร 19 ธ.ค. 60 อังคาร 19 ธ.ค. 60

ประชุมร่วมกับโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในความร่วมมือขยายผลตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร

ประชุมร่วมกับโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในความร่วมมือขยายผลตำรับอาหารเป็นยาสมุนไพร

แนวทางความร่วมมือคือการจัดสรรงบประมาณให้โรงพยาบาลชุมชน แห่งละ 100,000 บาทจำนวน 2 โรงพยาบาลคือโรงพยาบาลระโนดและโรงพยาบาลสทิงพระ สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสนับสนุนทุนให้แห่งละ 50,000 บาท

แนวทางความร่วมมือคือการจัดสรรงบประมาณให้โรงพยาบาลชุมชน แห่งละ 100,000 บาทจำนวน 2 โรงพยาบาลคือโรงพยาบาลระโนดและโรงพยาบาลสทิงพระ สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสนับสนุนทุนให้แห่งละ 50,000 บาท

-

23. ประชุมพัฒนาโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดปรางแก้ว »
พฤหัสบดี 21 ธ.ค. 60 พฤหัสบดี 21 ธ.ค. 60

ประชุมแกนนำชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน กำนัน บุคลากรโรงเรียนวัดปรางแก้ว โดยการประชุมได้วางแผนเพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้ว

ประชุมแกนนำชุมชน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน กำนัน บุคลากรโรงเรียนวัดปรางแก้ว โดยการประชุมได้วางแผนเพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้ว

วางแผนการพัฒนาพื้นที่บริเวณหลังโรงเรียนวัดปรางแก้วให้ดำเนินโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โดยวางผังแปลงเกษตรที่ประกอบด้วย การปลูกกล้วย มะละกอ และแปลงปลูกผัก

เกิดแบบแผนการดำเนินโครงการเกษตรในโรงเรียนวัดปรางแก้ว

-

24. ประชุมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
อังคาร 26 ธ.ค. 60 อังคาร 26 ธ.ค. 60

รายงานการดำเนินโครงการบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดสงขลาในการประชุมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดนายพลเดช พัฒนรัฐ เป็นประธาน และได้นำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาและยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลาระยะยาว พ.ศ.2561-2565 เสนอกับผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

รายงานการดำเนินโครงการบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดสงขลาในการประชุมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดนายพลเดช พัฒนรัฐ เป็นประธาน และได้นำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาและยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลาระยะยาว พ.ศ.2561-2565 เสนอกับผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

รายงานการดำเนินโครงการบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการจังหวัดสงขลาในการประชุมผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสงขลา โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดนายพลเดช พัฒนรัฐ เป็นประธาน และได้นำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดสงขลาและยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลาระยะยาว พ.ศ.2561-2565 เสนอกับผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลารับทราบข้อมูลการขับเคลื่อนการทำงานบูรณาการระบบอาหารและโภชนาการในพื้นที้จังหวัดสงขลา

-

25. ประชุมพัฒนากิจกรรมเกษตรผสมผสานในสวนยางพาราอำเภอสะเดา »
จันทร์ 22 ม.ค. 61 จันทร์ 22 ม.ค. 61

เพื่อประชุมชี้แจงกับเกษตรกรชาวสวนยางเรื่องการขยายผลรูปแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขาสะเดาได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขาสะเดาได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

การยางแห่งประเทศไทยสาขาสะเดาได้คัดเลือกเกษตรกรเข้ามาร่วมประชุม และจัดทำแผนการพัฒนาแปลงสวนยางให้มีรูปแบบการทำเกษตรผสมสานเพิ่มขึ้น และได้แลกเปลี่ยนความรู้จากนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวกับการทำสวนยางแบบผสมผสาน

-

26. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานในสวนยางพารากลุ่มอำเภอรัตภูมิ »
พุธ 24 ม.ค. 61 พุธ 24 ม.ค. 61

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

การยางแห่งประเทศไทยสาขารัตภูมิได้คัดเลือกเกษตรกรเข้ามาร่วมประชุม และจัดทำแผนการพัฒนาแปลงสวนยางให้มีรูปแบบการทำเกษตรผสมสานเพิ่มขึ้น และได้แลกเปลี่ยนความรู้จากนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวกับการทำสวนยางแบบผสมผสาน

-

27. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการเกษตรผสมผสานในสวนยางพารากลุ่มอำเภอเทพา »
ศุกร์ 26 ม.ค. 61 ศุกร์ 26 ม.ค. 61

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขาเทพาได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขาเทพาได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

ประชุมกับเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ีมีแนวคิดการทำสวนยางแบบผสมผสาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาประชุม การยางแห่งประเทศไทยสาขาเทพาได้คัดเลือกจากเกษตรกรที่เป็นแปลงต้นแบบและมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนแนวทางการทำสวนยาง

การยางแห่งประเทศไทยสาขาเทพาได้คัดเลือกเกษตรกรเข้ามาร่วมประชุม และจัดทำแผนการพัฒนาแปลงสวนยางให้มีรูปแบบการทำเกษตรผสมสานเพิ่มขึ้น และได้แลกเปลี่ยนความรู้จากนักวิชาการคณะทรัพยากรธรรมชาติเกี่ยวกับการทำสวนยางแบบผสมผสาน

-

28. ประชุมนำเสนอแผนยุทธศาสตร์จังหวัดกับ 15 ภาคีสงขลา »
เสาร์ 3 ก.พ. 61 เสาร์ 3 ก.พ. 61

นำเสนอแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลา ระยะเวลา 2561-2565 ให้กับ  15 ภาคีเรารักสงขลา โดยมีนายวิษณุ เครืองาม เป็นประธานการประชุม

นำเสนอแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลา ระยะเวลา 2561-2565 ให้กับ  15 ภาคีเรารักสงขลา โดยมีนายวิษณุ เครืองาม เป็นประธานการประชุม

นำเสนอแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาจังหวัดสงขลา ระยะเวลา 2561-2565 ให้กับ  15 ภาคีเรารักสงขลา โดยมีนายวิษณุ เครืองาม เป็นประธานการประชุม

จังหวัดสงขลาได้มีคำสั่งให้สถาบันการจัดการระบบสุขภาพดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จังหวัดสงขลา

-

29. ประชุมชี้แจงโครงการพืชร่วมยางกลุ่มอำเภอหาดใหญ่ »
พุธ 7 ก.พ. 61 พุธ 7 ก.พ. 61

ประชุมสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรชาวสวนยางอำเภอหาดใหญ่ ซึ่งเป็นเกษตรกรตัวอย่างที่การยางแห่งประเทศไทยสาขาหาดใหญ่ได้คัดเลือกมาเข้าร่วมกิจกรรมการขยายรูปแบบการทำเกษตรผสมผสานในวนยางพารา

ประชุมสร้างความร่วมมือกับเกษตรกรชาวสวนยางอำเภอหาดใหญ่ ซึ่งเป็นเกษตรกรตัวอย่างที่การยางแห่งประเทศไทยสาขาหาดใหญ่ได้คัดเลือกมาเข้าร่วมกิจกรรมการขยายรูปแบบการทำเกษตรผสมผสานในวนยางพารา

มีเกษตรกรชาวสวนยางอำเภอหาดใหญ่เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 ราย โโยการประชุมได้ให้เกษตรกรจัดทำข้อมูลการทำแปลงยางพาราในปัจจุบัน และแนวทางการขยายรูปแบบการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

กำหนดลงพื้นที่สำรวจแปลงยางพาราของเกษตรกรที่จะเข้าร่วมกิจกรรมขยายรูปแบบเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

-

30. อบรมด้านสุขาภิบาลอาหารให้ตลาดนัดเกาะหมี »
จันทร์ 12 ก.พ. 61 จันทร์ 12 ก.พ. 61

ประชุมกับผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีให้มีความรู้และเข้าใจต่อมาตรฐานอาหารปลอดภัย โดยระดมความคิดเห็นเรื่องความร่วมมือการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

ประชุมกับผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีให้มีความรู้และเข้าใจต่อมาตรฐานอาหารปลอดภัย โดยระดมความคิดเห็นเรื่องความร่วมมือการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

มีผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีจำนวน 20 รายที่เป็นผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารปรุงสุก เข้าร่วมให้ความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการจำหน่ายอาหาร โดยแสดงความคิดเห็นเรื่องการปรับเปลี่ยนมาตรฐานการปกปิดอาหาร โดยจะใช้อุปกรณ์ปกปิดอาหาร และลดการใช้โฟมใส่อาหาร

มีผู้ประกอบการตลาดนัดเกาะหมีจำนวน 20 รายที่เป็นผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารปรุงสุก เข้าร่วมให้ความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการจำหน่ายอาหาร โดยแสดงความคิดเห็นเรื่องการปรับเปลี่ยนมาตรฐานการปกปิดอาหาร โดยจะใช้อุปกรณ์ปกปิดอาหาร และลดการใช้โฟมใส่อาหาร

-

31. คืนข้อมูลด้านสุขาภิบาลอาหารตลาดอาเซียนรอบที่ 2 »
จันทร์ 12 ก.พ. 61 จันทร์ 12 ก.พ. 61

คืนข้อมูลการสำรวจด้านสุขาภิบาลอาหารของผู้ปนะกอบการตลาดอาเซียนพลาซา โดยเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งหัวข้อที่ไม่ผ่านคือการปกปิดอาหาร ซึ่งที่ประชุมได้เสนอให้มาศึกษารูปแบบของตลาดเกษตร ม.อ.

คืนข้อมูลการสำรวจด้านสุขาภิบาลอาหารของผู้ปนะกอบการตลาดอาเซียนพลาซา โดยเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งหัวข้อที่ไม่ผ่านคือการปกปิดอาหาร ซึ่งที่ประชุมได้เสนอให้มาศึกษารูปแบบของตลาดเกษตร ม.อ.

มีผู้ประกอบการเข้าร่วมประชุมจำนวน 80 ราย มารับทราบข้อมูลการสำรวจข้อมูลสุขาภิบาลอาหาร โดยข้อที่ไม่ผ่านคือ การปกปิดอาหาร จึงหารูปแบบการปกปิดอาหารจากตลาดเกษตร ม.อ. และไม่ใช้โฟมบรรจุอาหาร

เกิดนโยบายการลดใช้โฟมบรรจุอาหาร

-

32. ตรวจประเมินร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารตลาดนัดเกาะหมี »
จันทร์ 19 ก.พ. 61 จันทร์ 19 ก.พ. 61

ร่วมกับเทศบาลคอหงส์ในการตรวจสุขาภิบาลแผงลอยจำหน่ายอาหาร

ร่วมกับเทศบาลคอหงส์ในการตรวจสุขาภิบาลแผงลอยจำหน่ายอาหาร

ตรวจแผลงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน  73 ร้าน

ได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการในการปรับมาตรฐานแผงลอยในเรื่องการวางอาหารสูงจากพื้น การปกปิดอาหาร และการยกเลิกการใช้โฟม ซึ่งผู้ประกอบการได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

-

33. ประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการย่อย »
พฤหัสบดี 19 เม.ย. 61 พฤหัสบดี 19 เม.ย. 61

1.โครงการย่อยรายงานความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม จำนวน 17 โครงการ 2. การตรวจเอกสารการเงิน

1.มีโครงการย่อยรายงานความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม จำนวน 14 โครงการ 2. การตรวจเอกสารการเงิน

1.มีโครงการย่อยรายงานความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม จำนวน 14 โครงการ 2. การตรวจเอกสารการเงิน

1.โครงการการพัฒนาตลาดต้นปริก เทศบาลตำบลปริก
- กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ 1. ตลาดย้อนยุค 2. การศึกษาดูงาน 3. การประชุมคณะกรรมการตลาด - ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ประกอบการด้านสุขาภิบาลอาหาร 2. นโยบายลดโฟม พื้นที่ไม่สูบบุหรี่ภายในตลาด 3. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการบริหารตลาดชุมชน โดย อปท.เป็นหน่วยงานสนับสนุน 4. ส่งเสริมการนำผลิตภัณฑ์ชุมชนปลอดภัยมาจำหน่ายในตลาด เป็นแหล่งบริการด้านอาหารปลอดภัยของชุมชน 5. กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนส่งเสริมรายได้ให้กับชุมชน ทั้งเรื่องความมั่นคงทางอาหาร (การทำเกษตร)อาหารปลอดภัย (แหล่งจำหน่ายในตลาด) 6. แหล่งเรียนรู้การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น การเผาถ่าน และเชื่อมโยงกับผู้ประกอบการในตลาด 7. เกิดความสัมพันธ์ของเครือข่ายในตลาด

2.โครงการดำเนินงานพัฒนาตลาดน้ำคลองแหสู่ตลาดอาหารปลอดภัย - กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ 1.ปรับสภาพแวดล้อมภายในตลาด การจัดโซนสูบบุหรี่และจุดทิ้งขยะ 2. การรณรงค์เมนูสุขภาพ การลด หวาน มันเค็ม และผงชูรส
- ผลการดำเนินโครงการ 1. การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 2. รณรงค์ให้ความเข้าใจด้านสุขาภิบาลอาหาร ผู้ประกอบการเรียนรู้มาตรฐานแผงลอย 3. การเรียนรู้ด้สนโภชนาการอาหารองผู้ประกอบการและผู้บริโภค

3.โครงการพัฒนารูปแบบอาหารปลอดภัยเทศบาลตำบลทุ่งลาน - กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ 1. มีแผนการเชื่อมโยงผลผลิตการเกษตร กับเมนูอาหารของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียนรอบเดือน และรอบสัปดาห์ 2. การกำหนดเมนูอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 3. พัฒนาศักยภาพแม่ครัว ครู ด้านการจัดการอาหารกลางวันให้มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ 4. การสำรวจข้อมูลด้านกายภาพของแหล่งจำหน่ายอาหาร โดยประเมินด้านสุขาภิบาลอาหาร บรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร พื้นที่เป้าหมายคือร้านอาหาร - ผลที่เกิดขึ้นจากโครงการ 1. แหล่งอาหารปลอดภัยในโรงเรียน 2. แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรในชุมชน

4.โครงการพัฒนาตลาดทัวร์รัถการสู่ตลาดอาหารปลอดภัย (เทศบาลนครหาดใหญ่) - กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ 1. จัดกิจกรรมพัฒนาตลาด/แผงจำหน่ายสินค้า 2. จัดกิจกรรมตลาดใส่ใจสิ่งแวดล้อม
- รณรงค์การปลอดโฟม - รณรงค์พื้นที่ปลอดบุหรี่ ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 2. พัฒนามาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร การติดตามประเมินเพื่อพัฒนาเป็นตลาดสดน่าซื้อ

5.โครงการขยายรูปแบบตลาดอาหารปลอดภัยศูนย์อาหารตลาดกรีนเวย์หาดใหญ่
-กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ 1.การทำ Matching Model เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้วัตถุดิบประเภท พืช ผักสวนครัวที่ปลอดภัย โดยประสานกับเครือข่าย Greenzone @ Greenway 2. การจัดหาผู้ประกอบการที่มีความพร้อมในการทำร้านอาหารปลอดภัยต้นแบบในตลาด 3. กิจกรรมกินผักผลไม้ดี 400 กรัม - ผลการดำเนินโครงการ 1. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของผู้บริโภค เช่น การลด หวาน มันเค็ม ลดอ้วน เกิดการ/2. การแลกเปลี่ยนความรู้ด้านโภชนาการในตลาดผ่านเสียงตามสาย 3. ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายผ่านรูปแบบกิจกรรม กินแล้วก้าว 4. เมนูสุขภาพ 1 ร้านค้า 1 เมนู

ุ6.โรงพยาบาลระโนด - ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. เกิดการนำตำรับอาหารเป็นยาไปใช้ในคลินิกโรคเรื้อรังทุกวันพุธและติดตามประเมินการใช้ตำรับอาหารเป็นยาที่บ้านผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยมีการปรับพฤติกรรมการกินอาหาร โดยมีการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในครัวเรือนมาใช้ทำอาหาร 2. เกิดการแบ่งปันประสบการณ์อาหารเป็นยาสมุนไพรที่มีในตำรับอาหารฯและภูมิปัญญาของผู้ป่วย อสม. แพทย์แผนไทย 3. เกิดการนำตำรับอาหารตำรับหญิงหลังคลอด ไปใช้ในโรงครัวโรงพยาบาล 4. ส่งเสริมความรู้ตำรับอาหารเป็นยาในโรงเรียน และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล 5. เพิ่มเมนูน้ำสมุนไพรในคลีนิกแพทย์แผนไทย โดยนำมาจากตำรับอาหารเป็นยา

ึ7.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรพ.สต. เกาะสะบ้า อำเภอเทพา - ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1. นำตำรับอาหารเป็นยาขยายผลในกลุ่ม อสม. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยการส่งเสริมความรู้ และสาธิตเมนูอาหาร 2. จัดทำสวนสมุนไพร

8.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา - ผลที่ได้จากการดำเนินงาน 1.ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. 2.ส่งเสริมการใช้น้ำสมุนไพร แทนน้ำหวานในเทศกาลต่างๆของชุมชน

9.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองรำ
- ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และ อสม. 2. ส่งเสริมการใช้น้ำสมุนไพร ใน รพ.สต. 3. นำตำรับอาหารเป็นยาบูรณาการกับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยส่งเสริมการใช้สมนุนไพรในชุมชน

10.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกตก อำเภอสะบ้าย้อย - ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในมัสยิด และให้ความรู้รายบุคคลในหญิงตั้งครรภ์ 2. เพิ่มเมนูน้ำสมุนไพร ใน รพ.สต. 3. นำตำรับอาหารเป็นยาบูรณาการกับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน

11.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแห
- ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ มารดาหลังคลอด อสม. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2. เพิ่มเมนูน้ำสมุนไพร ใน รพ.สต. 3. สวนสมุนไพร 4. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างเมนูในตำรับฯและความรู้ของชุมชน

12.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ - ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ อสม. ประชาชนทั่วไปที่ รพ.สต. และงานชุมชน
2. เพิ่มเมนูน้ำสมุนไพร ใน รพ.สต. 3. อสม.ติดตามประเมินการใช้ตำรับอาหารเป็นยาของชาวบ้าน

13.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปริก อำเภอสะเดา - ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ 1. ให้ความรู้ และสาธิตตำรับอาหารเป็นยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ อสม. ประชาชนทั่วไป 2. เพิ่มเมนูน้ำสมุนไพร ใน รพ.สต. 3. ส่งเสริมความรู้การให้บริการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. บูรณาการความรู้กับแพทย์แผนไทย เช่นความรู้ด้านสมุนไพร การดูแลสุขภาพ โรค
4. การเยี่ยมบ้านหญิงหลังคลอดโดยนำตำรับอาหารเป็นยาให้ความรู้การดูสุขภาพ

-

34. ประชุมเกษตรกรชาวสวนยางพาราเรื่องการพัฒนารูปแบบเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา »
เสาร์ 21 เม.ย. 61 เสาร์ 21 เม.ย. 61

ประชุมกับเกษตรกรกร และเจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทยเรื่องการชี้แจงการอุดหนุนงบประมาณการทำเกษตรแบบผสมผสาน

ประชุมกับเกษตรกรกร และเจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทยเรื่องการชี้แจงการอุดหนุนงบประมาณการทำเกษตรแบบผสมผสาน

ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย

  1. เกษตรกรชาวสวนยางจากอำเภอสะเดา อำเภอรัตภูมิ อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอเทพา จำนวน 40 คน

  2. เจ้าหน้าที่การยางแห่งประเทศไทย

  3. มติการประชุมได้เสนอให้เกษตรกรปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาพื้นที่การทำเกษตรผสมผสานให้สอดคล้องกับการจัดสรรทุน โดยเน้นให้เกิดพื้นที่เรียนรู้การทำเกษตรผสมผสาน โดยเน้นการพัฒนาพื้นที่อาหารประเภทพืชผัก ผลไม้ และปศุสัตว์

เกิดการจัดสรรทุนให้เกษตรกรเพื่อพัฒนาพื้นที่เรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา

-

35. ประชุมประชุมเตรียมความพร้อมพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่องการพัฒนาแผนงานระบบอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น »
อังคาร 24 เม.ย. 61 อังคาร 24 เม.ย. 61

พัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 1 ได้แก่พื้นที่อำเภอเมืองสงขลา อำเภอสิงหนคร อำเภอคลองหอยโข่งและอำเภอจะนะ
โดยมีตารางการอบรมดังนี้

1.บรรยาย : ระบบอาหารและการบูรณาการดำเนินงานของท้องถิ่น

  • ความมั่นคงทางอาหาร (การมีอยู่ การเข้าถึง การมีเสถียรภาพ)

  • อาหารปลอดภัย (From Farm To Table)

  • โภชนาการสมวัย (จากครรภ์มารดา – เสียชีวิต โภชนาการเด็กอ้วน ผอม เตี้ย โรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน)

2.ปฏิบัติการ : การวัดจุดหมาย – เป้าประสงค์ – เป้าหมายในระยะ 3 ปี และแนวทางวิธีการสำคัญในการจัดการระบบอาหารของท้องถิ่น

3.ปฏิบัติการ : การประเมินสถานการณ์ระบบอาหาร

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านความมั่นคงทางอาหาร

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการสมวัย

4.บรรยาย : การจัดทำโครงการระบบอาหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

พัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 1 ได้แก่พื้นที่อำเภอเมืองสงขลา อำเภอสิงหนคร อำเภอคลองหอยโข่งและอำเภอจะนะ
โดยมีตารางการอบรมดังนี้

1.บรรยาย : ระบบอาหารและการบูรณาการดำเนินงานของท้องถิ่น

  • ความมั่นคงทางอาหาร (การมีอยู่ การเข้าถึง การมีเสถียรภาพ)

  • อาหารปลอดภัย (From Farm To Table)

  • โภชนาการสมวัย (จากครรภ์มารดา – เสียชีวิต โภชนาการเด็กอ้วน ผอม เตี้ย โรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน)

2.ปฏิบัติการ : การวัดจุดหมาย – เป้าประสงค์ – เป้าหมายในระยะ 3 ปี และแนวทางวิธีการสำคัญในการจัดการระบบอาหารของท้องถิ่น

3.ปฏิบัติการ : การประเมินสถานการณ์ระบบอาหาร

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านความมั่นคงทางอาหาร

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย

  • ตัวชี้วัดแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านโภชนาการสมวัย

4.บรรยาย : การจัดทำโครงการระบบอาหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  1. มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจากอำเภอเมืองสงขลา จำนวน 3 แห่ง อำเภอจะนะ จำนวน 2 แห่ง อำเภอคลองหอยโข่งจำนวน 2 แห่ง และอำเภอสิงหนคร จำนวน 2 แห่ง

  2. การพัฒนาแผนการดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล http://localfund.happynetwork.org/

เกิดแผนงาน โครงการด้านการจัดการระบบอาหารในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งท้องถิ่นสามารถนำไปปรับปรุงแผนพัฒนา 4 ปี ปีงบประมาณ 2562

-

36. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
ศุกร์ 27 เม.ย. 61 - เสาร์ 28 เม.ย. 61 ศุกร์ 27 เม.ย. 61

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 27 – 28 เมษายน 2561 อำเภอเมืองสงขลา สิงหนคร จะนะ และคลองหอยโข่ง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 27 – 28 เมษายน 2561 มีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่
-อ.เมืองสงขลา  6 แห่ง

-อ.สิงหนคร 10 แห่ง

-อ.จะนะ 15 แห่ง

-อ.คลองหอยโข่ง 4 แห่ง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 1 วันที่ 27 – 28 เมษายน 2561 มีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่
-อ.เมืองสงขลา  6 แห่ง

-อ.สิงหนคร 10 แห่ง

-อ.จะนะ 15 แห่ง

-อ.คลองหอยโข่ง 4 แห่ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เรียนรู้หลักการ แนวคิดการจัดการด้านระบบอาหาร โดยโครงการที่พัฒนาเข้าสู่ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล เป็นโครงการเกี่ยวข้องกับการเกษตรในโรงเรียน การดูแลภาวะโภชนาการของเด็กเล็ก การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

-

37. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
อังคาร 1 พ.ค. 61 - พุธ 2 พ.ค. 61 อังคาร 1 พ.ค. 61

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่2อำเภอนาทวี เทพา สะบ้าย้อย และ ควนเนียง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 2 มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่

-อ.นาทวี 11 แห่ง

-อ.เทพา 8 แห่ง

-อ.สะบ้าย้อย 10 แห่ง

-อ.ควนเนียง 5 แห่ง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่ 2 มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่

-อ.นาทวี 11 แห่ง

-อ.เทพา 8 แห่ง

-อ.สะบ้าย้อย 10 แห่ง

-อ.ควนเนียง 5 แห่ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เรียนรู้หลักการ แนวคิดการจัดการด้านระบบอาหาร โดยโครงการที่พัฒนาเข้าสู่ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล เป็นโครงการเกี่ยวข้องกับการเกษตรในโรงเรียน การดูแลภาวะโภชนาการของเด็กเล็ก การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

-

38. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
พฤหัสบดี 3 พ.ค. 61 - ศุกร์ 4 พ.ค. 61 พฤหัสบดี 3 พ.ค. 61

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่3อำเภอระโนด กระแสสินธุ์ สะเดา และรัตภูมิ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้แก่

-อ.ระโนด 13 แห่ง

-อ.กระแสสินธ์ 4 แห่ง

-อ.สะเดา 12 แห่ง

-อ. รัตภูมิ 7 แห่ง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่3 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้แก่

-อ.ระโนด 13 แห่ง

-อ.กระแสสินธ์ 4 แห่ง

-อ.สะเดา 12 แห่ง

-อ. รัตภูมิ 7 แห่ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เรียนรู้หลักการ แนวคิดการจัดการด้านระบบอาหาร โดยโครงการที่พัฒนาเข้าสู่ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล เป็นโครงการเกี่ยวข้องกับการเกษตรในโรงเรียน การดูแลภาวะโภชนาการของเด็กเล็ก การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

-

39. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
พฤหัสบดี 17 พ.ค. 61 - ศุกร์ 18 พ.ค. 61 พฤหัสบดี 17 พ.ค. 61

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่4หาดใหญ่ นาหม่อม บางกล่ำ และสทิงพระ 

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่4 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้แก่

-อ.หาดใหญ่ 16 แห่ง

-อ.นาหม่อม 4 แห่ง

-อ. บางกล่ำ 4 แห่ง

-อ. สทิงพระ  12 แห่ง

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รุ่นที่4 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมได้แก่

-อ.หาดใหญ่ 16 แห่ง

-อ.นาหม่อม 4 แห่ง

-อ. บางกล่ำ 4 แห่ง

-อ. สทิงพระ  12 แห่ง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เรียนรู้หลักการ แนวคิดการจัดการด้านระบบอาหาร โดยโครงการที่พัฒนาเข้าสู่ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล เป็นโครงการเกี่ยวข้องกับการเกษตรในโรงเรียน การดูแลภาวะโภชนาการของเด็กเล็ก การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

-

40. ประชุมระดมความคิดเห็นการขับเคลื่อนแผนงานและโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น »
อังคาร 22 พ.ค. 61 อังคาร 22 พ.ค. 61

ประชุมร่วมกับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อระดมความคิดเห็นการนำแผนงานด้านอาหารและโภชนาการที่พัฒนาอยู่ในระบบเว็บไซต์ localfund.happynetwork.org โดยเชิญท้องถิ่นในจังหวัดสงขลา จำนวน 139 แห่ง

ประชุมร่วมกับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อระดมความคิดเห็นการนำแผนงานด้านอาหารและโภชนาการที่พัฒราอยู่ในระบบเว็บไซต์ localfund.happynetwork.org ซึ่งในระบบมีแผนงานและโครงการจำนวน 79 แผนงาน และมีจำนวนโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการ จำนวน 82 โครงการ มีจำนวน 139 แห่ง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 79 แห่ง (คิดเป็น ร้อยละ 56) 

ประชุมร่วมกับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อระดมความคิดเห็นการนำแผนงานด้านอาหารและโภชนาการที่พัฒราอยู่ในระบบเว็บไซต์ localfund.happynetwork.org ซึ่งในระบบมีแผนงานและโครงการจำนวน 79 แผนงาน และมีจำนวนโครงการด้านระบบอาหารและโภชนาการ จำนวน 82 โครงการ มีจำนวน 139 แห่ง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 79 แห่ง (คิดเป็น ร้อยละ 56) 

ที่ประชุมมีมติในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของท้องถิ่น ให้มีความเข้าใจการจัดการระบบอาหารในท้องถิ่น โดยมีการจัดอบรมให้อย่างต่อเนื่อง และคัดเลือกโครงการที่อยู่ในระบบเว็บไซต์มาพัฒนาต่อให้มีความสมบูรณ์

-

41. ประชุมติดตามประเมินโครงการยุทธศาสตร์อาหารจังหวัดสงขลา »
พุธ 30 พ.ค. 61 - ศุกร์ 1 มิ.ย. 61 พุธ 30 พ.ค. 61

ประชุมเครือข่ายที่ดำเนินงานบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสงขลา ปี พ.ศ.2557-2561 เพือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานของเครือข่ายอาหารที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สจรส.ม.อ.

มีจำนวนเครือข่ายอาหารที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สจรส.ม.อ. เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ตำบลควนรู ตำบลชะแล้ เทศบาลเมืองคลองแห เทศบาลตำบลปริก ตลาดกรีนเวย์  ตลาดนัดเกาะหมี เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลคอหงษ์ ตลาดอาเซียนไนท์พลาซา การยางแห่งประเทศไทยสาขาหาดใหญ่ รัตภูมิ เทพา และสะเดา และเกษตรกรชาวสวนยาง ทั้ง 4 อำเภอ โรงพยาบาลระโนด และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 9 พื้นที่

มีจำนวนเครือข่ายอาหารที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สจรส.ม.อ. เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ตำบลควนรู ตำบลชะแล้ เทศบาลเมืองคลองแห เทศบาลตำบลปริก ตลาดกรีนเวย์  ตลาดนัดเกาะหมี เทศบาลนครหาดใหญ่ เทศบาลคอหงษ์ ตลาดอาเซียนไนท์พลาซา การยางแห่งประเทศไทยสาขาหาดใหญ่ รัตภูมิ เทพา และสะเดา และเกษตรกรชาวสวนยาง ทั้ง 4 อำเภอ

เครือข่ายด้านอาหารจังหวัดสงขลา ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานตามประเด็นที่ได้ดำเนินงาน

1.การบูรณาการระบบอาหารในท้องถิ่น โดยผู้รับทุนได้แสดงความเห็นว่าการทำงานได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

2.การขยายผลตำรับอาหารเป็นยา โดยให้โรงพยาบาลระโนดและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนำตำรับอาหารไปทดลองใช้ในคลีนิคแพทย์แผนไทย

3.การขยายผลตลาดอาหารปลอดภัย โดยเน้นกิจกรรมการจัดสุขาภิบาลอาหาร การลดใช้กล่องโฟม การเฝ้าระวังการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในตลาด

4.การขยายผลพืชร่วมยางในอำเภอรัตภูมิ เทพา หาดใหญ่ โดยเน้นการปลูกพืชอาหารในสวนยาง

-

42. ประชุมเตรียมความพร้อมชี้แจงคณะกรรมการธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ »
อังคาร 10 ก.ค. 61 อังคาร 10 ก.ค. 61

ชี้แจงโครงการการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา ให้กับจังหวัดสงขลา

ชี้แจงโครงการการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา ให้กับจังหวัดสงขลา

ชี้แจงโครงการการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา ให้กับจังหวัดสงขลา

ชี้แจงโครงการการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา ให้กับจังหวัดสงขลา

-